ApoB วิธีตรวจความเสี่ยงหัวใจ ไขมันอุดตัน ที่แม่นยำกว่า LDL | Top to Toe EP.104

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 28 ก.ย. 2024

ความคิดเห็น • 56

  • @TheStandardPodcast
    @TheStandardPodcast  3 หลายเดือนก่อน +9

    00:00 Small-Dense LDL ไขมันร้ายตัวปัญหา
    03:08 ไขมันลำเลียงไปส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างไร
    04:00 ถุงบรรจุไขมันแต่ละชนิด
    10:46 การตรวจไขมันแต่ละแบบบอกอะไร
    12:31 เพราะอะไรการตรวจ ApoB ในเลือดจึงแม่นยำ
    15:36 ตรวจไขมันดีด้วย ApoA แม่นยำยิ่งขึ้น
    17:42 ตรวจ ApoB และ ApoA ที่ไหน ราคาเท่าไร
    20:07 ปรับพฤติกรรมลด ApoB เพิ่ม ApoA

  • @augustine765
    @augustine765 3 หลายเดือนก่อน +59

    ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆนะครับ​ ในฐานะหมอหัวใจยอมรับเลย น่าเอาไปให้น้องๆนักศึกษาแพทย์ดูจะได้เข้าใจมากขึ้น
    ขออนุญาตเสริมนิดเดียวครับ
    1.) ปัจจุบันการเจาะเลือดเพื่อLDL HDL ไม่ต้องดน้ำงดอาหารแล้วนะครับ แค่ tryglyceride ตัวเดียวที่จะรบกวนเยอะครับ
    2.) การตรวจ ApoB มีบรรจุอยู่ใน Guideline จริงครับ แต่จะใช้ในกรณีที่ LDL อาจจะไม่แม่นยำในการประเมินความเสี่ยงผู้ป่วย ซึ่ง Guideline จากยุโรป (ESC guideline) แนะนำในเจาะ ในผู้ป่วยที่ high TG(ระดับ tryglyceride สูง), DM (เบาหวาน), obesity or metabolic syndrome(โรคอ้วน), or very low LDL-C. (คนที่ LDL ต่ำมากๆครับ) เจาะทุกคน ประเทศอาจเป็นหนี้มากกว่านี้ครับ
    3.) การเจาะ Apo A ยังไม่มีคำแนะนำให้เจาะใน guideline ใดๆครับ และระดับ HDL นั้นเป็น marker มากกว่า จะ risk modifier ครับ ก่อนหน้านี้มียาที่เพิ่ม HDL ได้เยอะเลยครับ แต่การศึกษาเจ๊งไป เพราะไม่ลดอัตราการเกิด โรคหัวใจ ทำให้ปัจจุบันเรามุ้งเน้นรักษา LDL หรือ non-HDL หรือ ApoB เป็นหลัก
    4.) ระดับ LDL เป้าหมายแต่ละคนไม่เท่ากันครับ ขึ้นความเสี่ยง เนื่องจาก ระดับ LDL ไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดครับ แต่มีอีกหลายปัจจัยเช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน สูบบุหรี่ โรคไต คนไข้กลุ่มนี้ แม้ระดับ LDL ไม่สูง คุณหมอก็อาจจะแนะนำให้รักษาเพื่อลดระดับ LDL ครับ

    • @sushirunner3059
      @sushirunner3059 2 หลายเดือนก่อน +2

      อยากฟังความเห็นหมอหัวใจแบบนี้เลยครับ ขออนุญาตถามเพิ่มเติมครับ ปัจจุบันอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจระหว่างคนที่ LDL ต่ำกับ LDL สูง ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญมั๊ยครับ

    • @WikoWigo-c9l
      @WikoWigo-c9l 2 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบคุณครับคุณหมอ ฟังมาหลายๆท่านเริ่มไปแนวทางเดียวกัน🙏

    • @augustine765
      @augustine765 หลายเดือนก่อน +1

      @@sushirunner3059 ต่างกันแน่นอนครับ การศึกษามีชัดเจนครับ แต่จริงๆ ไม่ต้องอิงการศึกษาอะไร ผมเป็นหมอหัวใจทำบอลลูนคนไข้ทุกวัน มันชัดมากครับ เพราะงั้นใครมีข้อบ่งชี้ในการทานยาก็ทานเถิดครับ

    • @peetktr
      @peetktr 4 วันที่ผ่านมา

      @@augustine765 คุณหมอครับ รบกวนสอบถาม ในเคสของผมปัจจุบันอายุ 30 ปีเป็นคนคุมอาหารทานน้อยอยู่แล้ว ทาน Low Carb มาเป็นระยะเวลานานรวม 3 มื้อไม่เกิน 2 ทัพพี ไม่กินจุกกินจิก ผมลองนับคร่าวๆต่อมื้อไม่เกิน 9 คำ ไม่ทานเหล้า สูบบุหรี่ และออกกำลังกายเป็นประจำ ผลเลือดล่าสุดก่อนทานยา Surotin cholesterol 300 triglycerides 55 HDL68 LDL225 หลังจากนั้นคุณหมอให้ผมทานยา Surotin ระยะเวลา 1 อาทิตย์ แล้วตรวจเลือดอีกครั้งพบว่า cholesterol 249 triglycerides 54 HDL65 LDL 184 แล้วคุณหมอก็เลยให้ผมทานยา Surotin ต่อเนื่องเลย แต่ผมมีข้อกังวลใจว่า ผมมีค่าไตเริ่มสูงกว่าค่าปกติ Creatinine 1.21 และมีกรดยูริคในเลือดสูงกว่าปกติ URIC ACID 8.2 ฉะนั้นผมควรตรวจหา ApoB เพื่อหาปัจจัยเสี่ยงไหมครับ เพราะสิ่งที่ผมปฏิบัติตนในชีวิตประจำวัน ผลลัพธ์สวนทางกับผลเลือดเลยครับ

    • @peetktr
      @peetktr 4 วันที่ผ่านมา

      ปล. ผมเป็นคนรูปร่างลีน นะครับสูง 163 นน.56 body fat

  • @TanawanV
    @TanawanV หลายเดือนก่อน +1

    สุดยอดแห่งการอธิบายเรื่องยากๆ ให้เข้าใจได้ง่ายๆ เก่งมากๆ เลยค่ะ ขอปรบมือให้เลย

  • @CrouchingTiger1904
    @CrouchingTiger1904 3 หลายเดือนก่อน +2

    คุณหมอข้าว อธิบายเข้าใจง่ายมากเลยครับ ดีจริงๆที่มีภาพประกอบ

    • @sushirunner3059
      @sushirunner3059 2 หลายเดือนก่อน +1

      เพิ่งทราบเลยครับ ผู้พูดเป็นหมอเหรอครับ

    • @bkpayakorn8214
      @bkpayakorn8214 2 หลายเดือนก่อน +1

      @@sushirunner3059 เป็นนักวิจัยไบโอเซ็นเซอร์ครับ

  • @pinitphon1
    @pinitphon1 2 หลายเดือนก่อน +2

    คำถามคือ ตรวจทราบแล้วทำอย่างไรต่อ? Stains ลด ApoB ได้มากน้อยขนาดไหน (หาง่าย-ราคาถูก) ส่วนยาที่พัฒนามาลด ApoB โดยเฉพาะ เช่น PCSK9 บ้านเรามีไหม ราคาเท่าไร

  • @sombatsaraburi
    @sombatsaraburi 3 หลายเดือนก่อน +5

    อยากให้ขยายความเรื่อง
    Lp(a) เพิ่มครับว่าเพราะเหตุใดเจ้าตัวนี้ถึงเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เพราะในวิดีโอพูดเพียงผ่านผ่านไม่ได้ลงรายละเอียดอะไรเลยครับ

    • @weerutsiritho7847
      @weerutsiritho7847 2 หลายเดือนก่อน +1

      ก็น่าจะคล้ายๆกันครับ เพราะมี apob เหมือนกัน

  • @Jr.crocodile
    @Jr.crocodile 3 หลายเดือนก่อน +12

    ลด : แป้ง+น้ำตาล
    เพิ่ม : เนื้อ+นม+ไข่
    เสริม : ออกกำลังกาย
    งด : เหล้า เบียร์ บุหรี่

    • @bungfai2348
      @bungfai2348 2 หลายเดือนก่อน +1

      เนื้อแดง LDLจะขึ้น

    • @Jr.crocodile
      @Jr.crocodile 2 หลายเดือนก่อน +1

      @@bungfai2348 ปลา+ไก่ ไง

  • @อรวรรณจิตรสมุทร
    @อรวรรณจิตรสมุทร 3 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับข้อมูลดีๆค่ะ

  • @rungnaparunsungnoen5556
    @rungnaparunsungnoen5556 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณคะ ข้อมูลดีๆ 🙏

  • @ลับในลับ
    @ลับในลับ 18 วันที่ผ่านมา

    ขอขอบคุณ

    • @TheStandardPodcast
      @TheStandardPodcast  15 วันที่ผ่านมา

      ขอขอบคุณสำหรับการสนับสนุนและกำลังใจ ทีมงานจะพัฒนาคุณภาพของเนื้อหาและการนำเสนอคอนเทนต์ที่ดีต่อไปค่ะ 💜

  • @ifof8882
    @ifof8882 2 หลายเดือนก่อน +1

    ไม่ลดค่ะ ท่อนบนใย่ บริหารกล้ามออกตรงแขนท่ีฉีดยา ทำไงต่อดีค่ะ

  • @KannikaChomchuen
    @KannikaChomchuen 2 หลายเดือนก่อน +1

    HDL 120 ต้องทำยังไงค่ะ

  • @pvrom1257
    @pvrom1257 3 หลายเดือนก่อน +1

    apoBที่หมายถึงคือapoB100ใช่มั๊ยครับไม่ใช่apoB48ในchylomicron

  • @g38jsr
    @g38jsr 3 หลายเดือนก่อน +1

    เวลาฟังว่า "ตัวปัญหา" เกิดสงสัยว่า ทำไมร่างกายต้องสร้างตัวปัญหาเหล่านี้มา

  • @nattavudekongmuang6243
    @nattavudekongmuang6243 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับ

  • @pramuanchutham7355
    @pramuanchutham7355 3 หลายเดือนก่อน +14

    แล้วไตรกลีเซอไรด์ล่ะครับ ไม่มีใครพูดถึงเลย...

    • @กกเปสว
      @กกเปสว 3 หลายเดือนก่อน +3

      จริงตัวร้ายเลยสารตั้งต้นncd

    • @pramuanchutham7355
      @pramuanchutham7355 3 หลายเดือนก่อน +2

      @@กกเปสว เค้าให้ LDL 3เท่า HDL แต่ไตรกลีเซอไรด์ 2เท่า HDL...แสดงว่า ไตรกลีเซอไรด์ มีผลมากกว่า LDL 33-50%

    • @กกเปสว
      @กกเปสว 3 หลายเดือนก่อน +1

      @@pramuanchutham7355 แต่ถ้าคนทำif+ทานคาร์บต่ำLDLจะสูงแต่TRต่ำและHDLสูงเพราะร่างกายใช้ไขมันเป็นหลัก

  • @tumm77
    @tumm77 3 หลายเดือนก่อน +1

    Thanks for the Great contents

  • @chatchai31
    @chatchai31 3 หลายเดือนก่อน +1

    ช่วยแนะนำสถานที่รับตรวจ ApoB ให้ด้วยครับ

    • @sombatsaraburi
      @sombatsaraburi 3 หลายเดือนก่อน +2

      รร.แพทย์มีครับ เช่น รพ.จุฬา แต่ต้องให้คุณหมอเป็นคนส่งตรวจนะครับเราจะเดินไปขอตรวจเองไม่ได้

    • @mrschittima
      @mrschittima 2 หลายเดือนก่อน +1

      ตรวจได้ค่ะ ไม่ต้องหมอสั่ง ที่คณะสหเวชจุฬา ราคาตัวละ 492 บ.

    • @chatchai31
      @chatchai31 2 หลายเดือนก่อน +1

      ผมเห็นแต่รายการตรวจ Apo A ครับ

    • @chatchai31
      @chatchai31 2 หลายเดือนก่อน +2

      @@mrschittimaผมไปตรวจประจำที่คณะสหเวช ตรงสนามกีฬา ผมเห็นแต่รายการตรวจ Apo A ครับ ไม่เห็น Apo B เลย ครั้งหน้าที่ไปตรวจจะลองถามเจ้าหน้าที่ดู ขอบคุณครับ

  • @prathumpankasem1589
    @prathumpankasem1589 3 หลายเดือนก่อน

    😊

  • @jaruntoy279
    @jaruntoy279 3 หลายเดือนก่อน +6

    ขอบคุณครับ ได้ความรู้มาก ..
    แต่ HDL ที่ถุงกับการขึ้นอักษร สลับกัน เป็น HLD นาทีประมาณ 10 ครับ..

  • @weerutsiritho7847
    @weerutsiritho7847 2 หลายเดือนก่อน +2

    ถ้าบอกว่า apob สร้างมาจากการบรรจุห่อของไตกรีที่ตับ ดังนั้นการลดแป้งน้ำตาลไขมัน ก็ช่วยให้ลดการเกิดของ apo b ด้วยน่ะสิครับ
    การทำ if + lowcarb ก็น่าจะได้ผลดีมาก และถ้ากินคีโตจากไขมันดี ก็ยิ่งเพิ่ม HDL ด้วยใช่ไหมครับ

  • @BTWu-qg4du
    @BTWu-qg4du 3 หลายเดือนก่อน +3

    ละเอียดสุด พร๊อพมาจัดเต็ม ขอบคุณครับ

  • @JoeChCh
    @JoeChCh 3 หลายเดือนก่อน +2

    Package ตรวจ ApoA ApoB หาตรวจได้ที่ไหนครับ

  • @iNote_kung
    @iNote_kung หลายเดือนก่อน

    ชอบ idea การนำเสนอ แบบนี้มากเลยครับ
    ขอบคุณสำหรับ content ดีๆ ครับ

  • @Gundam_V.3.0
    @Gundam_V.3.0 3 หลายเดือนก่อน +1

    ระหว่างการตรวจหาค่า calcium score กับ ApoA & ApoB แบบไหนน่าเชื่อถือได้มากกว่ากันครับ แล้วไตรกลีเซอไรด์ไม่น่ากังวลเหรอครับ ไม่เห็นพูดถึงเลย

    • @GolfMDCU59
      @GolfMDCU59 3 หลายเดือนก่อน +3

      calcium score เป็นการประเมินที่อวัยวะเป้าหมายโดยตรงน่าจะดีกว่า เพราะการตรวจแค่ไขมัน แม้ว่าจะละเอียดมากขึ้น แต่ก็เป็นแค่ปัจจัยหนึ่งเท่านั้น ยังมีปัจจัยอื่นๆที่เราไม่ทราบอีกครับ

  • @ซุบซิบ-ฬ3ถ
    @ซุบซิบ-ฬ3ถ 3 หลายเดือนก่อน +1

    ถ้าเชื่อว่าเอโปบีที่มีมากจะนำไปสู่การเป็นโรคเส้นเลือดมากนั้น
    ได้มีข้อพิสูจน์แบบตรงๆหรือยังครับ ไม่ใช่งานวิจัยที่ต้องอาศัยการตีความ ความคิดเห็นของผู้วิจัยมากนัก เช่น การวิจัยการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยด้วยโรคเส้นเลือดว่ามี เอโปบีมากน้อยแค่ไหน ซึ่งข้อมูลที่ได้จะดูตรงไปตรงมา และเป็นการพิสูจน์ความเชื่อเรื่องนี้โดยตรง ที่ไม่ต้องอาศัยการตีความ ความคิดเห็นมากนัก

  • @plepooh3084
    @plepooh3084 3 หลายเดือนก่อน +1

    ชอบมากๆๆ เลยค่ะ ฟังแล้วเข้าใจง่ายขึ้นค่ะ 👍👍

  • @หมอฮุงและคุณแม่
    @หมอฮุงและคุณแม่ 3 หลายเดือนก่อน +1

    สอนดีมากค่ะ อธิบายแบบนี้เข้าใจง่ายมากเลย

  • @ธีระพงศ์อาดเสนาะ
    @ธีระพงศ์อาดเสนาะ 3 หลายเดือนก่อน +1

    ตรวจที่ไหนได้ครับ

  • @daaz818
    @daaz818 2 หลายเดือนก่อน

    อธิบายดีมากกกกกกๆๆๆๆ และสนุกจัง ขอบคุณค่ะ

  • @เตฟานพุดตาล
    @เตฟานพุดตาล 3 หลายเดือนก่อน +1

    ดีมากๆเลยครับ

  • @keeratitanakitjaroenpat226
    @keeratitanakitjaroenpat226 3 หลายเดือนก่อน

    อธิบายดีมากครับ ชอบมาก ขอบคุณครับ

  • @roypimsuwannawong3654
    @roypimsuwannawong3654 3 หลายเดือนก่อน

    🫰👍👍👍👍ขอบคุณคุณท็อป🎉🎉🎉 ป้า🍄 เข้าใจง่ายมาก