โรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ วิธีป้องกัน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 9 ต.ค. 2022
  • สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
    ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

ความคิดเห็น • 442

  • @pattarapornsovarattanaphon8892
    @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +43

    โรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ วิธีป้องกัน #ความจำเสื่อม #อัลไซเมอร์
    โรคอัลไซเมอร์เป็นหนึ่งในโรคที่ทำให้เกิดความจำเสื่อมได้ และพบประมาณ 50-60%ของโรคความจำเสื่อมที่เป็นแบบจริงๆ
    ความจำเสื่อมคือ นอกจากความจำที่เสียไปแล้ว ยังมีอย่างอื่นเสียไปด้วย เช่น มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป ความคิดไม่เหมือนเดิม บางคนอาจคิดคำบางคำไม่ออก สมาธิไม่ดี ไม่สามารถจดจ่อกับอะไรนานๆได้ สิ่งที่เคยทำได้ก็ทำไม่ได้ เช่น เคยเล่นเปียโนได้ก็เล่นไม่เป็น
    การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์
    - ส่วนใหญ่จะเป็นญาติเป็นผู้สังเกตุเห็นความจำคนไข้ผิดปกติไป โดยคนไข้ไม่ค่อยรู้ตัวว่าตัวเองมีปัญหา ส่งผลต่อชีวิตประจำวันค่อนข้างมาก
    ส่วนใหญ่คนที่มาพบแพทย์เองเพราะกังวลว่าความจำไม่ค่อยดี อันนี้ไม่ค่อยเป็นอะไรมาก
    - แพทย์จะหาสิ่งที่แก้ไขได้
    1. โรคซึมเศร้า
    2. โรค Hypothyroid
    3. คนที่กินยา
    ตอนที่1

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว

      - กลุ่มยากดประสาททุกตัว ยานอนหลับทุกตัว หรือยาที่เรียกว่า Sedative Hypnotics ทำให้ความจำผิดปกติได้ โดยเฉพาะถ้าเราอายุมากขึ้นก็จะมีปัญหาเรื่องนี้เพิ่มมากขึ้น
      - การกินยากลุ่มยาแก้แพ้ เช่น ยา CPM ยา dramamine
      - ยากระเพาะบางชนิด ที่เป็น Antihistmine เช่น Famotidine, Ranitidine ถ้าบางคนไวมากๆก็อาจมีปัญหาในเรื่องความจำ
      - ยากลุ่มต่อต้าน Cholinergic ใช้ในคนที่ปัสสาวะบ่อยจนเกินไป แล้วหาสาเหตุไม่ได้ อาจเป็นเพราะกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะทำงานไวเกิน เราก็จะให้ยากลุ่มนี้ เช่น Oxybutynin
      - ยาโรคปอด ยาพ่น เช่น Tiotropium, Ipratropium, Glycopyrrolate เป็นต้น ก็อาจทำให้มีปัญหาความจำได้ หากเลิกได้ก็ควรเลิก
      สำหรับผู้สูงอายุ การกินยาน้อยอาจมีประโยชน์กว่าการกินยาเยอะๆ เพราะยามักจะมีผลข้างเคียง สำหรับคนอายุน้อยๆก็ไม่เป็นไร แต่พออายุเยอะๆแล้วยานิดเดียวก็อาจมีผลยิ่งใหญ่ได้ ดังนั้นทั่วๆไปคุณหมอจะมาพิจารณาดูยาว่าตัวไหนที่ควรใช้จริงๆก็ยังคงไว้ แต่ถ้าไม่ค่อยคุ้มหรือได้ประโยชน์เท่าไหร่ก็จะให้หยุด นั่นเรียกว่า Polypharmcy
      4. การบาดเจ็บทางสมอง เช่น นักมวยถูกชกศีรษะมาเรื่อยๆ อุบัติเหตุทางสมอง ถูกรถชน รถคว่ำ มีเลือดออกทางสมอง
      ตอนที่2

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +10

      5. อาหารการกิน บางคนเลือกกินอาหารบางชนิดเพียงอย่างเดียว อาจทำให้มีปัญหา เช่น ขาดวิตามินบี 12 ขาดโฟเลต ขาดทองแดง หรือ Copper หากท่านเป็นมังสวิรัติไม่ทานไข่จะทำให้ท่านขาดวิตามินบี 12 ได้ง่าย
      6. การนอนหลับ ว่าท่านมีปัญหาการหยุดหายใจในขณะหลับหรือไม่
      คนที่เป็นความจำเสื่อมจะเรียนรู้อะไรใหม่ๆได้ยาก
      7. โรคหลอดเลือดต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมัน โรคหัวใจ โรคไตเรื้อรัง ก็ทำให้หลอดเลือดเรามีปัญหา เลือดไปเลี้ยงสมองไม่ค่อยได้ เพราะลิ่มเลือดอุดตัน เส้นเลือดแตก เหล่านี้เราจะต้องไปแก้ไขที่โรคที่เราเป็น จึงจะช่วยชะลอไม่ให้ ความจำเราเสื่อมเร็วกว่าที่ควรจะเป็นได้
      8. โรค Normal pressure hydrocephalus เป็นโรคที่มีน้ำในสมองเกิน ไปกดเบียดเนื้อสมองเสียไป จะมาด้วยความจำที่เสียไป เดินขาถ่างๆ และปัสสาวะราด หากมีอาการเหล่านี้ให้รีบไปพบแพทย์ เพราะถ้ารักษาตั้งแต่แรก สามารถรักษาให้หายขาดได้ หากพบตอนความจำแย่ไปหมดแล้ว ต่อให้ตรวจพบก็ทำอะไรไม่ได้ ต้องใช้การผ่าตัดในการช่วยเหลือ
      9. โรคร่วมที่มากับโรคความจำเสื่อมคือ Delirium ความจำจะแปลกๆไม่รู้ว่าตัวเองอยู่ที่ไหน หลอน ไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น เราคุยกับใครอยู่ บางช่วงจะปกติ บางช่วงก็จะเป็นมาก มักจะเป็นตอนกลางคืน เหมือนเห็นผี แต่ถ้าเป็น Dementia จะเป็นตลอดเวลา แต่สามารถพบได้ทั้ง Delirium และ Dementia พร้อมกันได้
      ตอนที่3

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว

      - สิ่งที่แพทย์ไม่สามารถแก้ไขได้ อาจจะมีโรคสมองเสื่อมชนิดอื่นๆอีกหรือไม่ เช่น โรคสมองเสื่อมชนิดอื่นๆ มักจะมีอาการแย่กว่า อัลไซเมอร์ มักจะมีอาการร่วมอื่นๆเยอะ และไม่ตอบสนองต่อการรักษา และคนไข้จะกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียงที่ต้องการการดูแลตลอด 24 ชั่วโมงค่อนข้างเร็วภายในไม่กี่ปี และจะเสียชีวิตค่อนข้างเร็วเมื่อเทียบกับอัลไซเมอร์ เช่น
      1. พฤติกรรมผิดปกติ เช่น เคยเป็นคนดี ก็กลายเป็นคนไม่ดี เคยเรียบร้อย ก็กลายเป็นหยาบคายโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน เคยทำดีพูดดีมาตลอด จู่ๆก็ทำไม่ดีพูดไม่ดี จากหน้ามือเป็นหลังมือ จากเคยดูแลตัวเองก็ไม่ดูแลตัวเอง เสื้อไม่ใส่ น้ำไม่อาบเป็นต้น
      2. เห็นภาพหลอน ตลอดเวลา
      3. การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ เช่น พาร์กินสัน มักจะเป็นจากข้างเดียวก่อนแล้วลามไปทั้ง 2 ข้าง ทำนิ้วเหมือนกำลังปั้นลูกกลอน หรือเรียกว่า Pill rolling tremor (สามารถดูตัวอย่างอาการได้ในนาทีที่ 11:38) การเคลื่อนไหวก็จะลำบากขึ้น เช่น หากเราจับให้เขา เขาจะเกร็งต้านเรา เวลาเดินก็จะเดินซอยขาถี่ๆ ถ้าจะให้หมุนตัวหันมาหาเราก็จะจะค่อยๆเตาะแตะๆหันกลับมาหากเรา หรือบางคนมือจะกระตุก
      ตอนที่4

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +12

      ดังนั้นหากมีอาการที่เปลี่ยนแปลงไปดังที่กล่าวมาแล้ว แสดงว่าอาจมีโรคอื่นที่ไม่ใช่อัลไซเมอร์ ที่ทำให้ความจำเสื่อม หากเราตรวจพบแล้วไม่สามารถรักษาได้ มีแต่จะแย่ลงค่อนข้างเร็ว อาจต้องรีบคุยกับญาติเกี่ยวกับพฤติกรรมทำร้ายตัวเองหรือคนอื่น อารมณ์ฉุนเฉียว การดูแลจะยากลำบากมากต้องผลัดเวรกันดูแล หากแพทย์ไม่ให้ยากดประสาทไว้ คนไข้จะตื่นมาอาละวาดบ่อยครั้งมาก หรือ เห็นภาพหลอน และปัญหาของยาคือเมื่อให้แล้วคนไข้จะหลงลืม และ ตอนเช้าก็จะง่วงเหงาหาวนอน แต่ถ้าไม่ให้คนดูแลก็จะลำบาก นอกจากนี้ควรรีบให้เขียนพินัยกรรม เพราะคนไข้อาจอยู่ได้ไม่นาน เช่น Corticobasal degeneration, Multiple system atrophy, Progressive supranuclear palsy
      แพทย์จะต้องซักประวัติ เพื่อดูว่ามีอะไรที่แก้ไขได้ ก็ควรแก้ อะไรที่แก้ไม่ได้ก็ต้องพยากรณ์โรค จะเป็นอย่างไรเพื่อให้คนไข้และครอบตรัวเตรียมตัวเตรียมใจไว้
      หากตรวจพบว่า เป็นอัลไซเมอร์ เราจะต้อง scan สมอง ด้วยการทำ MRI ดูหลายๆอย่างประกอบกัน ว่ามีโรคอื่นที่เราไม่คาดคิดหรือไม่ เช่น โรคลมชักบางชนิดที่มีลักษณะแปลกๆ แต่โรคอัลไซเมอร์จะมีส่วน Hippocmpus ฝ่อลงไปในระยะแรกๆ แต่ก็สามารถโรคอื่นๆก็สามารถทำให้ฝ่อได้ เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับความจำ พฤติกรรม อยู่บริเวณกลางๆของสมอง หากใครไปกระตุ้นส่วนนี้จะคนนั้นจะอารมณ์เสีย
      ตอนที่5

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +18

      วิธีป้องกันความจำเสื่อม
      1. ถ้าเรามีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นหลายๆคน หากอยู่คนเดียวอาจความจำเสื่อมได้ และ ซึมเศร้าได้ง่าย
      2. การออกกำลังกาย
      3. กินอาหารให้ครบ 5 หมู่
      4. หมั่นใช้สมอง เช่น หมั่นคิดเลข หมั่นอ่านหนังสือ หมั่นพูด การเล่นดนตรี วาดรูป หมั่นทำอะไรที่ไม่ถนัด ใช้มือที่ไม่ถนัด 2 มือทำไม่เหมือนกัน แปรงฟันด้วยมือข้างที่ไม่ถนัด เป็นการป้องกันสมองเสื่อมก่อนวัย
      5. ลดความเครียด ความเครียดเกิดได้ในทุกคน ควรจัดการความเครียดให้หายไปให้เร็วที่สุด เซลล์ก็ตายง่าย
      6. หากนอนกรน ง่วงระหว่างวัน สมาธิระหว่างวันไม่ดี ควรจะไปตรวจการนอนหลับ ถ้ามีปัญหาหากแก้แล้วจะดีขึ้น
      7. แอลกอฮอล์
      8. โรคซึมเศร้า ควรจะได้รับการแก้ไข
      ตอนที่6

  • @CherryChonny
    @CherryChonny ปีที่แล้ว +20

    😊การป้องกันความจำเสื่อม💕
    🪬อย่าอยู่คนเดียว ไม่คุยกับใคร
    💪ออกกำลังกาย
    🥬กินอาหารให้ครบหมู่
    🧠หัดใช้สมองบ่อยๆ
    🎵วาดรูป เล่นดนตรี
    🤔ทำสิ่งที่ไม่ถนัด
    🙉ลดความเครียด
    😴นอนหลับให้เพียงพอ
    ⭐️ที่สำคัญ ฟังคลิปช่อง Doctor Tany ได้ฝึกสมองทุกวันเลย ความจำดีค่ะ 🦋🦋

  • @chaliajamjan9793
    @chaliajamjan9793 ปีที่แล้ว +5

    เคยดูแลคนเป็นโรคนี้ค่ะ คนไข้พูดได้แค่คำสองคำค่ะ

  • @ALL86898
    @ALL86898 ปีที่แล้ว +33

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน😊วันนี้คุณหมอพูดเรื่องอัลไซเมอร์ พรุ่งนี้พูดเรื่องความจำเสื่อมยาวมากๆ มีรายละเอียดเยอะสำหรับแพทย์ โรคอัลไซเมอร์เป็นหนึ่งในโรคที่ทำให้เกิดโรคความจำเสื่อมถึง50-60% และอาจทำให้เกิดความจำเสื่อม ที่เสียความจำไปเลย จะเสียไปในเรื่องสมาธิในการทำสิ่งต่างๆ หรือลืมสิ่งที่จะพูดหรือเคยทำสิ่งต่างๆ แล้วลืมทำไม่ได้เช่นลืมวิธีขับรถ 💥คนที่จะทราบคือคนใกล้ชิดว่าคนไข้มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป คุณหมอจะตรวจ ก่อนว่าเป็นโรคซึมเศร้าไหม เป็นไฮโปไทรอยค์ไหมทำงานต่ำไหม หรือกินยาแก้แพ้แก้เมา ยากดประสาท การนอนหลับ ยากระเพาะ บางตัวถ้าไวมากจะมีปัญหาเรื่องความจำ หรือยากลุ่มโรคปอดยาพ่นต่างๆ การกินยาเยอะในคนอายุมากไม่ดี ยามารวมกันมากแล้วเกิดปัญหา อาจทำให้เสียความจำไปได้ 💥การบาดเจ็บทางสมอง นักมวยโดนต่อยหัวบ่อย หรือคนที่ประสบอุบัติเหตุ สมองกระทบกระเทือน คนที่มีเลือดออกในสมอง ต้องหาสาเหตุเหล่านี้ว่าใช่ไหม💥การกินอาหารอย่างเดียวมากๆ จนขาดวิตามินบี12ก็เกี่ยวกับความจำ เรื่องการนอนหลับ ไม่ดี ต้องตรวจการนอนหลับ ว่าหยุดหายใจระหว่างหลับไหมเหล่าเป็นสาเหตุหาและแก้ไข ก่อนหรือคนเป็นโรคความดัน เบาหวาน โรคหลอดเลือดมีปัญาเลือดไปเลี้ยงไม่ได้ ไขมัน โรคไต ต้องแก้ไขทั้งหมดก่อนจะลดสมองเสื่อมได้หรือโรคที่มีน้ำในสมองเกินไปกดเนื้อที่ในสมองทำให้ เดินผิดท่าทาง ปัสสวะราดแก้ไขได้ในตอนแรกๆ คนที่เป็นโรคความจำเสื่อมชั่วคราว และถาวร จำไม่ได้ว่าพูดกับใคร อยู่ที่ไหนไม่รู้เป็นตอนกลางคืนเห็นผีเป็นต้น และ มีอีกโรคที่อันตรายมากอาการจะหนัก กว่า คือเปลี่ยนพฤติกรรมกระทันหัน หน้ามือเป็นหลังมือ บุคคลิกเปลี่ยนไปพูดจาหยาบคายทั้งที่เคยพูดเพราะ อาจมีอะไรในสมอง คนไม่ใส่เสื้อผมไม่ตัด ไม่แปรงฟัน ไม่ทำใสสิ่งที่เคยทำ หรือเห็นภาพหลอนเห็นผี เป็นตลอดเวลาอาการสั่นเหมือนพากินสัน มือสั่น การเคลื่อนไหวลำบาก เดินซอยขาถี่ หันกลับยากหรือกระตุกที่มือถ้า มีการเปลี่ยนการพฤติกรรมหรือเคลื่อนไหวผิดปกติ แปลว่าเป็นโรคนี้น่ากลัวอาจมีพฤติกรรมทำร้ายตัวเองและคนอื่น อันตรายมากๆ คนไข้มีอารมณ์ฉุนเฉียว อาระวาด ต้องให้ยาคนไข้สงบ แต่จะง่วงเหงาหาวนอน ถ้าไม่ให้จะลำบากคนดูแล ถ้าคนหมอซักแล้วเป็นแน่ต้องทำMRIจะเห็นรูปภาพในสมอง ฮิบโปแคมบัสมันจะฝ่อ เหี่ยวในระยะแรกของโรคอัลไซเมอร์ ทำทีซีสแกน จะหาสารโปรตีนที่ไปเกาะผิดปกติไปเกาะในสมองทำให้เซลประสาทตาย หาทางรักษา 💥การป้องกัน อยู่กับคนอื่นๆ มีสังคม ออกกำลังกาย ฝึกการทำมือให้สมองเสื่อมช้า ลดความเครียดอย่างเร็ว การนอน ไม่ดีตรวจการนอนหลับ กินอาหารครบ งดเหล้า การฝึกใช้ความคิด เลข เล่นดนตรี อ่านหนังสือ ช่วยป้องกันอาการที่เกิดสมองเสื่อม การที่เซลสมองถ้าตายแล้ว ไม่สามารถสร้างมาใหม่ได้คือตายแล้วตายเลย และการกินยาของคนที่มีอายุ ลดได้ให้ลด ขอบคุณมากค่ะ🙏❤

  • @hellomaewmiew7335
    @hellomaewmiew7335 ปีที่แล้ว +5

    เป็นคนธรรมดาที่ไม่ได้เรียนหมอค่ะ คลิปความรู้ทางการแพทย์ของคุณหมอยาวขนาดไหนก็ชอบฟังค่ะ ถ้าไม่เข้าใจก็จะฟังซ้ำๆและทำความเข้าใจค่ะ

  • @nutthakonkhruea6154
    @nutthakonkhruea6154 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณมากๆๆค่ะ พ่อเป็นอยู่ค่ะ สแกนสมองหมอแจ่งสมองเหี่ยว เริ่มเห็นอะไรกลางคืนค่ะ จะนำความรู้ที่ได้นำไปใช้ดูแลพ่อให้ดีที่สุด ขอบคุณค่ะ🙏

  • @iwantxxx
    @iwantxxx ปีที่แล้ว +2

    ทุกครั้งเห็นคนแก่อัลไซเมอร์จะคิดว่านี่คือฉันในอนาคตสินะ อัลไซเมอร์ไม่อยากเป็นแต่คิดว่าทำอะไรไม่ได้มาก ดังนั้นจึงควรใช้ชีวิตให้คุ้มค่าตามที่ตนเองอยากและไม่เดือดร้อนคนอื่น

  • @maneeann
    @maneeann ปีที่แล้ว +12

    🔴 ปัจจัยเสื่องของการเกิดโรคอัลไซเมอร์
    🔘 อายุที่เพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุด โดยพบว่าหลังอายุ 65 ปี ผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเพิ่มเป็น 2 เท่าในทุก ๆ 5 ปีที่อายุมากขึ้น อย่างไรก็ตามมีผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 65 ปีด้วยเช่นกัน
    🔘 พันธุกรรม เช่น มีญาติสายตรงในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคนี้หลายคน มียีนบางอย่าง เช่น ApoE4
    🔘 โรคดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome) ผู้ป่วยถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยโรคนี้มีความผิดปกติของการสะสมของโปรตีนบางชนิดที่ทำให้เกิดโรคอัลไซเมอร์เช่นกัน
    🔘 การได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะ มีรายงานการศึกษาทางระบาดวิทยาหลายรายงานพบว่า ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ และภาวะสมองเสื่อมจากสาเหตุอื่นๆ มีประวัติเคยได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมากกว่าคนที่ไม่มีสมองเสื่อม อย่างไรก็ตามในบางการศึกษาไม่พบว่าการได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมาก่อนเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองเสื่อม
    🔘 พบว่าโรคอัลไซเมอร์มีส่วนที่เกิดจากโรคของหลอดเลือด รวมถึงพบร่วมกับโรคหลอดเลือดในสมองได้บ่อย ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจึงอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ด้วย ดังนี้
    -น้ำหนักเกินมาตรฐาน
    -การขาดการออกกำลังกาย
    -การสูบบุหรี่
    -ความดันโลหิตสูง
    -ไขมันในเลือดสูง
    -โรคเบาหวาน

    • @user-ml5zl3bx7j
      @user-ml5zl3bx7j ปีที่แล้ว +2

      😊📖ขอบคุณค่ะ😊

    • @maneeann
      @maneeann ปีที่แล้ว +2

      @@user-ml5zl3bx7j 😊 ขอบคุณนะคะที่เข้ามาอ่าน

  • @CherryChonny
    @CherryChonny ปีที่แล้ว +6

    เย้ๆ 🎉ได้ท่องสูตรคูณแม่ 3 แล้วค่ะ 🚩🚩🚩ยินดี กับคุณหมอ วันนี้ผู้ติดตาม 326K แล้วค่ะ ⭐️⭐️⭐️ขอบคุณความรู้ดีๆ ทุกวันค่ะ 🚩🚩🚩

    • @boomsong5729
      @boomsong5729 ปีที่แล้ว +2

      @ Chonnie
      ยินดีกับคุณหมอด้วยนะคะ
      ยังจำได้ตอนได้ 100 K คุณหมอรีวิวน้ำหอม สีหน้าคุณหมอดูภูมิใจมากๆ มีโรซี่วนเวียนอยู่ใกล้ๆ ค่า☺⚘💙⚘

    • @maneeann
      @maneeann ปีที่แล้ว +2

      🎉🎉♥️

  • @ALL86898
    @ALL86898 ปีที่แล้ว +10

    สวัสดีค่ะอาจารย์แพทย์🙏คุณหมอแทน😊วันนี้คุณหมอดูดีสุด ๆ เรื่องที่พูดก็ดีสุดยอด เลย และสามารถอธิบายได้เข้าใจ เรียบเรียงเรื่องราว และยกตัวอย่างประกอบ เห็นชัดเจน วิธีการพูดมีระดับเสียง ที่ทำให้อยากฟังจนจบคือลืมคอมเม้นไปเลย นั่นคือเรื่องอัลไซเมอร์ เป็นโรคความจำเสื่อมชนิดที่หลายคนเป็น แม้อายุไม่มากก็เจอ คุณหมอบอกถึงสาเหตุ ของการเสื่อมของสมอง คนที่จะเป็นเริ่มมีอาการอย่างไร มีการรักษาและให้ยาอะไรบ้างและมีวิธีป้องกันอย่างไรบ้าง และจะมีรายละเอียดมากที่คุณหมอจะเล่าในวันพรุ่งนี้ ยาวเนื้อหามากๆ ใครอยากฟังสั้นๆกระทัดรัดก็ฟังวันนี้เลยค่ะ มีคนเคยทักว่าตัวเองจะเป็นอัลไซเมอร์ก็งง ท่านเป็นพระ ซึ่ง อยู่ที่อเมริกาและมีความรู้ในเรื่องยาต่างๆในการรักษาโรคจากพืชต่างๆจนไปมีชื่อเสียงไปพูดตามรัฐต่างๆที่อเมริกาให้ฝรั่งฟัง พบท่าน ท่านทักมา ก็ได้มาฟังจากคุณหมอคงต้องฟังซ้ำ เพราะสนใจมาก โรคความจำเสื่อม จะมีญาติเท่านั้นที่จะสังเกตได้ว่าคนไข้มีอาการและพฤติกรรมผิดปกติพูด ทำอะไรๆเปลี่ยนไป และคนสังเกตเห็นพาไปหาหมอ เจ้าตัวไม่รู้ตัวด้วย ฟังคุณหมอต่อในตอนสอง ขอบคุณมากคะ🙏👍❤

  • @luxanawadeeboonyasirinun6378
    @luxanawadeeboonyasirinun6378 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณค่ะ เรื่องนี้ใกล้ตัวค่ะ…เย้🎉ดีใจจังค่ะ อย่างน้อย…พรุ่งนี้จะได้เจอคุณหมอตั้ง 1 ชั่วโมง โดยไม่ต้องไปรพ. คุ้มเลย! อารมณ์ประมาณว่า”อิ่มจังตังอยู่ครบ” ค่ะ 😋 ฟังแล้วรู้สึกเริ่มสงสารตัวเองตะหงิดๆ ละ หาก 3 สาวน้อยที่บ้านเกิดเป็นขึ้นมาไล่เลี่ยกัน ต้อมลำบากชีวิตเลย😅 LoL แล้วยิ้มสู้ก่อนเลยอย่างอื่นค่อยว่ากัน…😁 (เดี๋ยวขออนุญาตส่งเรื่องนี้ไปให้คุณแม่ฟังก่อนเลย ไม่รู้นางจะเคืองปะ…แต่น่าจะไม่มั้งเพราะคงจะเข้าใจในความจริงของชีวิตที่จะต้องเผชิญ…ดั้งนั้นเตรียมตัว เตรียมความพร้อมก่อนดีที่สุด) พรุ่งนี้เจอกันยาวๆ นะคะ Goodnight ค่ะ

  • @maneeann
    @maneeann ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณค่ะคุณหมอแทน หัวข้ออัลไซเมอร์ในวันนี้ น่าสนใจมากๆ เลยค่ะ

    • @Hoshi1451
      @Hoshi1451 ปีที่แล้ว +3

      เย้ๆๆ😄🌟🌟

  • @Channel-xv2oo
    @Channel-xv2oo ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณคุณหมอให้ความรู้ลื่นไหล เหมือนเล่าธรรมดา ฟังเพลินสุดๆ ความรู้และมีความสุขค่ะ

  • @maneeann
    @maneeann ปีที่แล้ว +9

    🔴 อาการของโรคอัลไซเมอร์
    🔘 ผู้ป่วยจะมีปัญหาด้านความจำเป็นอาการหลัก จะไม่สามารถจดจำ และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้ จึงมักจะลืมว่าวางของไว้ที่ไหนทั้งๆ ที่พยายามจำ ถามซ้ำๆ พูดซ้ำ ๆ
    🔘 เมื่อโรคดำเนินไปจะทำให้เกิดความบกพร่องของการรู้คิดด้านอื่นร่วมด้วย เช่น หลงทาง คิดเลขไม่ได้ ไม่สามารถจัดการกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐานได้เอง มีปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม และความผิดปกติทางจิตตามมา เช่น หงุดหงิด เฉื่อยชา และเฉยเมย ขาดการยับยั้งชั่งใจ มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน
    🔴 เมื่อไหร่จึงต้องพบแพทย์
    🔘 เมื่อปัญหาด้านความจำที่เกิดขึ้น หรืออาการหลงลืมนั้นส่งผลให้เกิดความยากลำบากในการจัดการชีวิตประจำวัน เช่น ทำได้ช้าลง ทำผิดบ่อยขึ้น
    🔘 หรืออาการหลงลืมนั้นส่งผลให้เกิดปัญหาในการจัดการชีวิตประจำวันด้วยตนเอง เช่น ต้องการผู้ช่วยเหลือในการจ่ายเงิน ต้องการผู้ช่วยเหลือในการบริหารยาที่ทานประจำ

  • @koramon1
    @koramon1 ปีที่แล้ว +1

    Thanks!

  • @sawanyakosalaphichat8813
    @sawanyakosalaphichat8813 ปีที่แล้ว +8

    ขอบคุณคุณหมอแทนมากๆค่ะ ที่พูดเรื่อง ภาวะความจำเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์ เป็นเรื่องที่รอฟังมานานแล้วค่ะ เพราะคุณแม่กำลังเป็นโรคนี้อยู่ ดีใจที่คุณหมอพูดเรื่องนี้ค่ะ😊😊

  • @user-np3uz2zb6q
    @user-np3uz2zb6q ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ

  • @dyfedgsssksks6389
    @dyfedgsssksks6389 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ🙏
    ขอบคุณมากนะคะ

  • @piyanutsatravaha548
    @piyanutsatravaha548 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ

  • @zazaahha
    @zazaahha ปีที่แล้ว +1

    ทานแอนไทฮิสตามินมา 10 กว่าปี เพราะว่าแพ้อาหาร อากาศ น้ำ ทานดรามามีนมาตลอดชีวิตเพราะเป็นคนขี้เมารถ เครื่องบิน เรือ ตอนนี้มีปัญหาเรื่องความจำระยะสั้นด้วยแต่สักพักเดี๋ยวก็จำได้เอง แล้วมีปัญหาฉี่บ่อย ให้หมอส่องกล้องดูก็ไม่เจอปัญหาอะไรเจ็บตัวฟรีให้ค่ะ ต้องระวังแล้วเรา ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ

  • @burachatubonnuch4730
    @burachatubonnuch4730 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับเป็นประโยชน์มากครับ

  • @uraiwantripetch7094
    @uraiwantripetch7094 ปีที่แล้ว +1

    ขขอบพระคุณมากคะ

  • @toungtongsrisook7976
    @toungtongsrisook7976 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ👍👍👍👍

  • @comserveitserve7165
    @comserveitserve7165 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ คุณหมอฮีโร่

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +8

    อัลไซเมอร์ เป็นหนึ่งในโรคที่เกิดจากความเสื่อมถอยของการทำงานหรือโครงสร้างของเนื้อเยื่อของสมองซึ่งมักพบในผู้สูงอายุ โดยไม่ใช่ความเสื่อมตามธรรมชาติเพราะผู้สูงอายุไม่จำเป็นต้องเป็นอัลไซเมอร์ทุกคน แต่เป็นความเสื่อมที่เกิดจากโปรตีนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า เบต้า-อะไมลอยด์ (beta-amyloid) ชนิดไม่ละลายน้ำซึ่งเมื่อไปจับกับเซลล์สมองจะส่งผลให้เซลล์สมองเสื่อมและฝ่อลง รวมถึงทำให้การสื่อสารระหว่างเซลล์สมองเสียหายจากการลดลงของสารอะซีติลโคลีน (acetylcholine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ส่งผลโดยตรงกับความทรงจำ
    การสะสมของเบต้า-อะไมลอยด์ส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานของสมองค่อยๆ ลดลง เริ่มจากสมองส่วนฮิปโปแคมปัส (hippocampus) ที่มีบทบาทสำคัญในการจดจำข้อมูลใหม่ๆ เมื่อเซลล์สมองส่วนนี้ถูกทำลาย ผู้ป่วยจะเริ่มมีปัญหาเรื่องความจำโดยเฉพาะความจำระยะสั้น จากนั้นความเสียหายที่เกิดขึ้นจะแพร่กระจายไปสู่สมองส่วนอื่นๆ และส่งผลต่อการเรียนรู้ ความรู้สึกนึกคิด ภาษา และพฤติกรรม
    🪴🌷🌷10ต.ค.2565🌷🌷🪴

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ...

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +3

      @@FragranzaTrippa ยินดีค่ะน้องทริป❤️💜💚

    • @user-ml5zl3bx7j
      @user-ml5zl3bx7j ปีที่แล้ว +2

      😊📖ขอบคุณค่ะ😊

    • @maneeann
      @maneeann ปีที่แล้ว +2

      😊👍♥️

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +2

      @@user-ml5zl3bx7j ยินดีค่ะ🌹❤️

  • @gps837
    @gps837 25 วันที่ผ่านมา +1

    ขอบคุณอาจารย์

  • @nakornteerakit5880
    @nakornteerakit5880 ปีที่แล้ว +1

    เจ๋งครับจารย

  • @KarnTovara
    @KarnTovara ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ 🙏😃

  • @wongjanp1407
    @wongjanp1407 ปีที่แล้ว +2

    รอเรื่องนี้ ขอบคุณนะคะ

  • @sumonthippreecha7546
    @sumonthippreecha7546 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากค่ะ🙏💙 คุณหมอ 🙏

  • @user-tg1pi3cw2l
    @user-tg1pi3cw2l 6 หลายเดือนก่อน

    ชอบครับ

  • @user-nl3do1vr2n
    @user-nl3do1vr2n ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🙏

  • @ptphone2301
    @ptphone2301 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะอาจารย์หมอติดตามค่ะ

  • @tassaneesajjawong9524
    @tassaneesajjawong9524 ปีที่แล้ว +2

    #หมอ❤️❤️❤️

  • @user-zj6wi6cu2l
    @user-zj6wi6cu2l ปีที่แล้ว +1

    🙏🙏

  • @hkyvkg7188
    @hkyvkg7188 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอสุดหล่อ ขอบคุณนะคะ

  • @maneeann
    @maneeann ปีที่แล้ว +7

    10-10-65•Congrats 🎉🎉👏🏻👏🏻
    "Doctor Tany" ห้องสมุด 24 ชั่วโมง
    326K subscribers • 725 videos
    💐💐🌹🌹🐶🐶❤️❤️👨‍🦰👨‍🦰
    3x2=6
    7=2+5

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +6

    อาการทั่วไปของโรคอัลไซเมอร์ ได้แก่
    🟠ระยะแรก ผู้ป่วยจะมีความจำถดถอยจนตัวเองรู้สึกได้ ชอบถามซ้ำ พูดซ้ำๆ เรื่องเดิม สับสนทิศทาง เริ่มเครียด อารมณ์เสียง่ายและซึมเศร้า แต่ยังสื่อสารและทำกิจวัตรประจำวันได้ ระยะนี้เป็นระยะที่คนรอบข้างยังสามารถดูแลได้
    🟠ระยะกลาง ผู้ป่วยมีอาการชัดเจนขึ้น ความจำแย่ลงอีก เดินออกจากบ้านไปโดยไม่มีจุดหมาย พฤติกรรมเปลี่ยนไปมาก เช่น จากที่เป็นคนใจเย็นก็กลายเป็นหงุดหงิดฉุนเฉียว ก้าวร้าว พูดจาหยาบคาย หรือจากที่เป็นคนอารมณ์ร้อนก็กลับกลายเป็นเงียบขรึม และเมื่อเวลาผ่านไป ผู้ป่วยจะเริ่มมีปัญหาในการใช้ชีวิตประจำวัน เช่น ชงกาแฟไม่ได้ ใช้รีโมททีวีหรือโทรศัพท์มือถือไม่ได้ คิดอะไรที่ไม่ถูกต้อง ไม่อยู่ในโลกของความจริง เช่น คิดว่าจะมีคนมาฆ่า มาขโมยของ คิดว่าคู่สมรสนอกใจ ซึ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอาการที่ยากต่อการดูแลและเข้าสังคม
    🟠ระยะท้าย ผู้ป่วยอาการแย่ลง ตอบสนองต่อสิ่งรอบข้างน้อยลง สุขภาพทรุดโทรมลงคล้ายผู้ป่วยติดเตียง รับประทานได้น้อยลง การเคลื่อนไหวน้อยลงหรือไม่เคลื่อนไหวเลย ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อมเป็นวงกว้าง ไม่พูดจา ภูมิคุ้มกันอ่อนแอซึ่งมักนำไปสู่การติดเชื้อและเสียชีวิตในที่สุด โดยระยะเวลาทั้งหมดตั้งแต่แรกวินิจฉัยจนเสียชีวิตเฉลี่ยประมาณ 8-10 ปี

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณค่ะพี่หมวย...

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +3

      @@FragranzaTrippa ยินดีค่ะน้องทริป🌹❤️💜💚

    • @user-ml5zl3bx7j
      @user-ml5zl3bx7j ปีที่แล้ว +2

      😊📖ขอบคุณค่ะ😊

  • @paritrasitthisena7831
    @paritrasitthisena7831 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะใด้ประโยชน์มากเลยค่ะ

  • @alphagreen4026
    @alphagreen4026 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากค่ะ สำหรับข้อมูลดีๆ 🙏🌹

  • @narlaw1342
    @narlaw1342 ปีที่แล้ว +1

  • @wiphadawijakkanalan2405
    @wiphadawijakkanalan2405 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมาก ๆค่ะ คุณหมอนำความรู้ดี ๆมาฝากอีกแล้ว

  • @user-vc5in6zv4v
    @user-vc5in6zv4v ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอวันนี้ได้รับความรู้อีกแล้ว ขอบคุณค่ะ

  • @somsawanwilken8685
    @somsawanwilken8685 ปีที่แล้ว +2

    ชอบ อาจารย์ หมอ มากๆค่ะ จริงจังและจริงใจ ขอบคุณค่ะ

  • @luxanawadeeboonyasirinun6378
    @luxanawadeeboonyasirinun6378 ปีที่แล้ว +7

    เย้🎉เดี๋ยวฟังต่อนะคะ

  • @chaloemlarbkramyoo6150
    @chaloemlarbkramyoo6150 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณ​มาก​ครับ​คุณ​หมอ
    สาระ​ความรู้​ดีมาก​ครับ​

  • @sorattyahattapasu7765
    @sorattyahattapasu7765 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณมากคะคุณหมอแทน คนเก่ง

  • @user-mr8fp6lo6g
    @user-mr8fp6lo6g ปีที่แล้ว +1

    สวัดดีเจ้าคุณหมอขอบคุณเจ้า🙏🙏🙏🙏🙏

  • @varamaisilamaneechote7002
    @varamaisilamaneechote7002 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน.ขอบคุณค่ะ🥰🥰🥰

  • @sukjaiwaibel6653
    @sukjaiwaibel6653 3 หลายเดือนก่อน +1

    Thanks for Dr. Tany ❤❤❤❤❤🎉🎉🇩🇪

  • @rinkorinrinrin
    @rinkorinrinrin ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอ

  • @abundancech6570
    @abundancech6570 ปีที่แล้ว +1

    ฟังไป4รอบค่ะ อาจารย์หมอ ขอบคุณค่ะ❤

  • @bussayaphantotuad5687
    @bussayaphantotuad5687 ปีที่แล้ว +5

    รอฟังค่ะ แน่นอน คุณหมอ สามารถพูดได้นาน ฟังอย่างเดียวสบายมาก

  • @user-hk9hs2zq3o
    @user-hk9hs2zq3o 7 หลายเดือนก่อน

    ครับจบแล้วครับ❤

  • @sroisawan_08
    @sroisawan_08 ปีที่แล้ว +1

    รอฟังเลยค่ะ คุณแม่เป็นอยู่

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov ปีที่แล้ว +5

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน
    แม้ยังไม่ใช่ฉบับเต็ม ก็เป็นความรู้ที่มีประโยชน์มากค่ะ คุณหมอพูดรวมในสิ่งที่ควรจะรู้ สิ่งที่ควรทำ เพื่อเป็นการป้องกัน
    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ คุณหมอ🌞

  • @pannko8888
    @pannko8888 ปีที่แล้ว +4

    ตัดผมใหม่น่ารักสุดๆ💏💏

    • @pannko8888
      @pannko8888 ปีที่แล้ว

      บอกแล้วว่าวันใดขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก เปนไงละค่ะ😭จะไปต่อดีหรือพอแค่นี้

  • @myicy48
    @myicy48 ปีที่แล้ว +5

    ขอขอบคุณ

  • @nureesana9130
    @nureesana9130 ปีที่แล้ว +1

    อรุณสวัสดีค่ะ ขอบคุณค่ะ คลิปดีมีคุณภาพ กลัวมากโรคนี้

  • @panikob
    @panikob ปีที่แล้ว +1

    🙏ขอบคุณมากๆนะคะอาจารย์หมอ เป็นความรู้ที่จะนำไปแบ่งปันให้เพื่อนๆที่มีญาติผู้ใหญ่ที่เป็นผู้ป่วยอัลไซเมอร์ได้ดีมากๆเลยคะ👍🥰

  • @minmonster959
    @minmonster959 ปีที่แล้ว +4

    คลิปนี้ดีมากๆเลยค่ะคุณหมอแทน ตอนนี้ดูแลคุณพ่อ 83ปีค่ะ เบาหวาน ความดัน หลอดเลือดสมอง ไตเสื่อม อัลไซเมอร์ท่าน ตรงกับที่คุณหมออธิบายมา เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ ตอนนี้คุณพ่อมักจะไม่กล้าคุยกับใครเลยค่ะ ใช่ที่คุณหมอบอกเลยค่ะ ต้องใช้คำพูดไม่เหมือนเดิมเลือกใช้ที่เค้าเข้าใจ 😊😊

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +6

    คลิปใหม่มาแล้วค่ะ...
    วันนี้เรื่อง... โรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ วิธีป้องกัน #ความจำเสื่อม #อัลไซเมอร์ #alzheimer
    ก่อนอื่นขอโพสต์เกี่ยวกับ ผู้ที่ค้นพบโรคนี้ พอสังเขปนะคะ
    ◾โรคอัลไซเมอร์ ได้รับการอธิบายเป็นครั้งแรกโดย ดร. อาลัวส์ อัลไซเมอร์ ในปี 1906
    ◾ดร. อาลัวส์ อัลไซเมอร์ เป็นจิตแพทย์และนักประสาทวิทยาชาวเยอรมัน ได้บรรยายถึง "โรคประหลาด" ซึ่งเป็นหนึ่งในการสูญเสียความจำอย่างรุนแรง และการเปลี่ยนแปลงของสมองด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งเป็นโรคที่เรารู้จักในชื่อ "อัลไซเมอร์"

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +3

      ขอบคุณค่ะสำหรับข้อมูล🌹❤️💚💜

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      @@kanyamuay3748 ยินดีค่ะพี่..วันนี้ลงข้อมูลโพสต์นี้สั้นนิดเดียวค่ะ

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +3

      @@FragranzaTrippa สั้นแต่ก็โอเคค่ะได้ทราบชื่อคนที่ค้นพบโรคนี้ ถือว่าได้รับความรู้ข้อมูลใหม่อีกอย่างหนึ่ง คนเยอรมันเคยถามว่าถ้าคิดถึงประเทศเขาจะนึกถึงอะไร แว้บฮิตเลอร์ลอยมา แต่ไม่ได้พูดออกมา ลืมอัลเบิร์ตไอน์สไตน์ ไปได้ยังไง แต่พูดไปว่านึกถึงทีมฟุตบอลฮันโนเฟอร์

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      @@kanyamuay3748 อ๋อ ค่ะ ไม่ค่อยได้ดูบอลค่ะ แต่ก็ชอบ Thomas Müller ค่ะพี่...

  • @user-xd4yy8qv3x
    @user-xd4yy8qv3x ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ อายุแยอะแล้ว ขอบคุณค่ะ

  • @Noo_SL
    @Noo_SL ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีคะ…อาจารย์เปรียบเทียบเห็นภาพดี เข้าใจง่าย ขำดี 😊ขอบคุณมากค่ะ 🙏

  • @melodyjanney4703
    @melodyjanney4703 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากค่ะ กำลังกังวลว่าจะเกิดกับคุณแม่พอดีเลยค่ะ

  • @srisudad7207
    @srisudad7207 ปีที่แล้ว +1

    ❤ขอบพระคุณมากค่ะ สำหรับคลิ้บนี้ เป็นเรื่องที่ป้าอยากรู้มากๆเลยค่ะ เพราะเริ่มรู้สึกว่าตนเองนอนหลับยากและเริ่มลืมนั่นนี่ค่ะ
    นำไปแชร์ เพื่อนๆ แล้ว และจะ รอฟังคลิ้บพรุ่งนี้ อย่างใจจดใจจ่อ เลยค่ะ❤

  • @wybmyboy8944
    @wybmyboy8944 ปีที่แล้ว +2

    พออายุมากขึ้นก็มักจะขี้ลืม กลัวเป็นโรคความจำเสื่อมจังเลย

  • @Amarante1990
    @Amarante1990 ปีที่แล้ว +2

    เบต้าอะไมลอยด์บ่งชี้มากค่ะ

  • @leo-jx2mh
    @leo-jx2mh ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับพี่หมอ🙏😘 น่ากลัวมาก 🙄 ไม่เป็นโรคดีกว่าครับ 😊😊😊

  • @kotchakornharindech2906
    @kotchakornharindech2906 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ ฟังไว้เพื่อศึกษา จะได้สังเกตตัวเอง ทุกคลิปของคุณหมอมีประโยชน์ทุกคลิปคะ

  • @wanpachaysri1081
    @wanpachaysri1081 ปีที่แล้ว +1

    น่าสนใจมากๆค่ะ อ.หมอ มีประโยชน์มากจริงๆค่ะ ตั้งใจรอคลิปต่อไปมากๆนะคะ ขอบคุณค่ะ พระเจ้าอวยพรค่ะ

  • @AJPP-1982
    @AJPP-1982 7 หลายเดือนก่อน +1

    มันแต่บ่น ลืมขอบคุณหมอ
    ขอกราบจากใจคนที่กำลังทุกข์จากโรคนี้

  • @chaliajamjan9793
    @chaliajamjan9793 ปีที่แล้ว +2

    สนใจฟังต่อยาวๆค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @Hoshi1451
    @Hoshi1451 ปีที่แล้ว +3

    🍄ขอบคุณมากมายค่ะ
    กำลังใจดวงเล็กๆค่ะ🌱

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +7

    🙋‍♀ติดตามข่าวมาตั้งแต่ปีที่แล้วว่า Brigham and Women's Hospital กำลังคิดค้น "สเปรย์พ่นจมูก" เพื่อป้องกันโรคอัลไซเมอร์ เห็นว่ามีการทดลองทางคลินิกกับมนุษย์ไปแล้ว ขอให้ประสบความสำเร็จนะคะอาจารย์...

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +5

      ยังไม่น่าได้ผลอะไรหรอกครับ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +3

      @@DrTany หนทางยังอีกยาวไกล...แต่ยังไงก็ขอให้สำเร็จสักวันนะคะ

  • @rungrajeepuengbua8374
    @rungrajeepuengbua8374 ปีที่แล้ว +1

    ตอนนี้ พยายามไม่ดื่มกาแฟ แต่ทานชาเล็กน้อยไม่เกิน 10:00

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +11

    🙋‍♀โรคที่อาจารย์แนะนำให้รู้จักในคลิป คือ...
    ◾"โรคน้ำคั่งในโพรงสมอง" หรือ Normal pressure hydrocephalus
    ◾หลายคนน่าจะเคยเห็นภาพ ชาวสูงอายุเดินแบบเก้ๆ กังๆ ขากางๆ เดินได้ไม่ค่อยสะดวกเหมือนจะล้ม บางครั้งก็ปัสสาวะราดโดยไม่รู้สึกตัว ออกจากบ้านมักต้องใส่แพมเพิร์ส ทำอะไรช้าๆ คิดอะไรช้าลง ความจำเลอะเลือน
    ◾โดยที่คนส่วนใหญ่มักจะคิดกันไปเองว่า คงเป็นไปตามอายุที่มากแล้ว ร่างกายคงเสื่อมถอย ขาก็คงไม่ค่อยดี หูรูดก็คงไม่ดี สมองก็คงไม่ดี เลยทำให้เกิดอาการเหล่านี้ได้
    ◾แต่ในความจริงแล้ว ลักษณะอาการเหล่านี้คือ ความผิดปกติทางระบบประสาท ที่เรียกว่า “ภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง” หรือ “Normal pressure hydrocephalus (NPH)”
    ◾แต่ด้วยความที่โรคนี้เป็นโรคที่ค่อนข้างใหม่ และพึ่งรู้จักกันในโลกนี้ ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2508 รวมทั้งการวินิจฉัยในอดีตทำได้ยาก ทำให้ผู้สูงอายุหลายคนเสียโอกาสในการได้รับการรักษา หรือ ได้รับการรักษาไปผิดทาง โดยอาจจะถูกนึกว่าเป็นโรคพาร์กินสัน (ซึ่งเป็นโรคที่รู้จักกันมานานตั้งแต่ พ.ศ. 2360) หรือนีกว่าเป็นโรคสมองเสื่อม อัลไซเมอร์ หรือ แม้กระทั้ง นึกว่าเป็นโรคกระดูกกดทับเส้นประสาท หรือข้อเข่าเสื่อม
    ◾แต่ว่าถ้าหากได้รับการวินิจฉัยและรักษาที่ถูกต้องแล้ว จะช่วยสามารถให้ผู้ป่วยกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติในบั้นปลายของชีวิตได้ กลับมาเป็นผู้สูงอายุ ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุขอีกครั้งค่ะ

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณมากค่ะสำหรับข้อมูล

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +2

      @@kanyamuay3748 ยินดีค่ะพี่หมวย...

    • @user-ml5zl3bx7j
      @user-ml5zl3bx7j ปีที่แล้ว +3

      😊📖ขอบคุณค่ะ😊

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +1

      @@user-ml5zl3bx7j ยินดีค่ะ...

    • @supornchailoo
      @supornchailoo ปีที่แล้ว

      ขอบคุณอาจารย์​หมอมากครับผมก็เป็นโรคน้ำเกินในโพลงสมองครับ​ เห​็นบอกว่ามีวิธีรักษาได้​ อยากทราบทพไงครับ

  • @SamSung-er1ls
    @SamSung-er1ls ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ..ขณะนี้ไปตรวจและหมอให้ baby aspirin ทานหลังอาหารเช้า1เม็ดค่ะ

  • @witunanko7711
    @witunanko7711 ปีที่แล้ว +1

    ต่อให้วีดีโอยาว และมีศัพท์ยากก็อยากฟังค่ะ ไม่เข้าใจก็จะกดย้อนฟัง ขอบคุณ คุณหมอมากที่สละเวลาและพลังให้ความรู้

  • @ployyy.2107
    @ployyy.2107 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณข้อมูลความรู้มาแบ่งปันได้รับความรู้ทุกๆวันเลยค่ะ...🥰🥰🥰

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีคะ=ประเทศไทย ชุ่มช้ำคะ ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ วันนี้มาให้ความรู้เรื่องโรคควาใจำเสื่อม ตาก็เริ่มแก่หลงลืมแล้วมั้งคะ อยากฟังคะจะรอนะคะ.👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปอดภัยนะคะ.🙏🇹🇭😷🌹❤️

  • @lukpedclubW
    @lukpedclubW ปีที่แล้ว

    เป็นประโยชน์มากๆสำหรับคนไทยค่ะ เพราะทางเรายังขาดความรู้ตรงนี้มากๆ พินัยกรรมก็สำคัญ ขออนุญาตนำลิงค์ไปแชร์ในเพจได้ไหมคะ

  • @sasikan9388
    @sasikan9388 ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะ วันนี้เป็นเรื่องที่หลายคนกำลังเป็นผู้ดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์นะคะ เหนื่อยและเครียดมาก คลิปหน้าอยากได้วิธีการดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์บ้างนะคะ

  • @nashtn11
    @nashtn11 ปีที่แล้ว +3

    🍃🍂🍁🌾 เป็นคลิปที่น่าสนใจมากค่ะ กำลังสังเกตตัวเองอยู่เหมือนกัน บางครั้งนึกคำไม่ออก สะกดไม่ได้ แต่ยังขับรถได้จำทางกลับบ้านได้ค่ะ😃 ด้วยความหวังอันสูงสุดว่า ความจำจะยังคงอยู่กับเราตลอดไป🙏 อากาศดีแล้ว แถวนั้นคงจะสวยงามด้วยใบไม้เปลี่ยนสี คุณหมอรักษาสุขภาพนะคะ🍃🍂🍁🌾

  • @Arosa703
    @Arosa703 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณคุณหมอค่ะ ที่ได้พูดเรื่องนี้ตามที่เคยขอมาเมื่อไม่นาน เป็นเรื่องที่น่ารู้ น่าฟัง น่าเตรียมตัว เตรียมใจไว้อย่างยิ่ง เพราะไม่แน่ว่าวันหนึ่ง เราหรือคนใกล้ชิด อาจจะต้องเจ็บป่วยด้วยโรคนี้ น่ากลัวจริงๆ
    จะรอฟังฉบับสมบูรณ์พรุ่งนี้ด้วยค่ะ🍄🥑🍒🍅🍊🥝🍎

  • @itchayasitter675
    @itchayasitter675 ปีที่แล้ว +1

    จากฟลอริดาค่ะขอบคุณมากค่ะที่ให้ข้อมูลดีๆ สำหรับวัยรีไทร์ค่ะ

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณข้อมูลดีๆมีประโยชน์ทุกวันนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็แรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @NekoFly
    @NekoFly ปีที่แล้ว

    อยากให้คุณหมอเล่าเป็นความรู้ของเครื่อง ECMO ค่ะ ขอบคุณค่ะ 🙏😊

  • @syrine2491
    @syrine2491 ปีที่แล้ว +1

    คิดว่าเป็นแล้วนะคะ คือจำไม่ค่อยได้แล้วพนายามนึก นึก และก็นึก

  • @oonphant3777
    @oonphant3777 ปีที่แล้ว +2

    สนใจเรื่องนี้มากกำลังหาข้อมูลอยู่พอดีเลยค่ะ 🙏

  • @amphan17413
    @amphan17413 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอธานี
    ตั้งแต่เรามีไทรอยด์ต่ำ เรากลายเป็นคนขี้ลืมมากเลยค่ะ บางครั้งเก็บของแล้วหาไม่พบค่ะ หาเท่าไรก็หาไม่พบสักที บางครั้งก็จะเกิดอาการ
    หงุดหงิดมากเลยค่ะ แต่ตอนนี้รู้สึกว่าลืมน้อยลงค่ะ ตั้งแต่มานั่งเจริญภาวนาสมาธิทุกวันค่ะ
    เรื่องทีคุณหมอนำมาให้ความรู้นี้ ก็สำคัญมากค่ะ เพราะถ้าเราอายุมากขึ้นเลื่อยๆ เราก็สามารถคอยสั่งเกตุตัวเองและคนรอบข้างได้ค่ะ และที่คุณหมอให้คำแนะนำเรื่องการออกกำลังนิ้วหรือส่วนต่างๆของร่างกายก็สุดยอดมากเลยค่ะ เราคิดว่าอาการป่วยเหล่านี้มันเกิดมาจาก การรับประทานอาหาร การพักผ่อน การใช้ชีวิตผิดๆมาโดยตลอด และการ
    เซื่อมของสมรรถภาพทางร่างกายค่ะ ถ้าเรามีความรู้เช่นที่คุณหมอนำมาเสนอ เราก็สามารถคอยระวังและป้องกันเพื่อไม่ให้อาการป่วยเหล่านี้เกิดขึ้นเร็วกว่าเวลา ซึ่งถ้าสรุปแล้วในที่สุดเราก็จะป่วยในยามที่เราชนาขึ้น แต่! แต่เราก็จะไม่ป่วยเร็วจนเกินไปค่ะ
    ขอบคุณๆหมอมากเลยค่ะสำหรับวันนี้ ที่คุณหมอช่วยสละเวลามาแบ่งปันความรู้ค่ะ
    สวัสดีค่ะ

  • @daohealthybody242
    @daohealthybody242 ปีที่แล้ว +1

    👍🏻🙏

  • @bewhoiam7130
    @bewhoiam7130 ปีที่แล้ว

    ตอนเรียนจิตวิทยาคลีนิก นี่คือโรคที่กลัวมากที่สุดค่ะ โรคสมองเสื่อม
    ขอบคุณคุณหมอที่เอาความรู้มาแชร์ค่ะ 🙏🙏 ได้ทบทวนความรู้เก่าไปด้วย

  • @apakornwongsathapornpat8877
    @apakornwongsathapornpat8877 ปีที่แล้ว +1

    ยาคือความหวังของผป.ขอแค่ไม่แย่ลงในรายที่เพิ่งเป็น หรือเป็น stage น้อยๆ ก็สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ไม่เป็นภาระกับครอบครัว

  • @dusitapamornsoot7045
    @dusitapamornsoot7045 ปีที่แล้ว +1

    🙏👍🌷

  • @ST-rn9io
    @ST-rn9io ปีที่แล้ว +2

    ฟังคุณหมอมาหลายเดือนวันนี้อยากขอบคุณ ยอมรับว่าไม่ได้ตั้งใจฟังมาก เปิดไว้เป็นเพื่อน เวลาทำงาน หรือทำงานบ้านต่างๆ แต่ได้อะไรกลับไปเยอะเลยค่ะ อย่างน้อยๆ ทำให้ตั้งคำถามกับหลายๆอย่างในชีวิต ก่อนจะกิน ออกกำลังกาย หรือซื้อสิ่งต่างๆ ทำให้เราหาข้อมูลมากขึ้น และวิเคราะห์ข้อมูลว่ามันจริงมั้ยน่าเชื่อถือหรืป่าว บางครั้งต้องไปเสริชเพื่อเช็คเรื่องที่คุณหมอพูดด้วยค่ะ เพราะแอบไม่เชื่อ ขอบคุณที่มาแชร์นะคะ ทุกๆเรื่องเลย เสียงก็น่าฟังด้วย จะติดตามไปเรื่อยๆเลยนะคะ

  • @user-fi1tc7mr1l
    @user-fi1tc7mr1l ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะคุณหมอกลัวโรคนี้มากแถวบ้านมีคนเป็นน่าสงสารมาก

  • @user-cj4mf3fp1j
    @user-cj4mf3fp1j ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับฟังแล้วมีประโยชน์เป็นอย่างมากครับอาจารย์

  • @TK-wr3ni
    @TK-wr3ni ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะ เป็นไบโพลาร์ ปีนี้ปีที่ 7 แล้วค่ะ ยังต้องกิน Diazepam อยู่ค่ะ ก็ลดปริมาณยาลงมาเรื่อย ๆ ปัจจุบันนี้เหลือ 5 mg/คืน พยายามจะไม่ใช้ยานี้แล้วค่ะ คงต้องปรึกษาแพทย์ เพราะกังวลอยู่ค่ะ เรื่องผลข้างเคียงจากการใช้ยาในปริมาณที่ติดต่อกันหลายปี

  • @raksaswallow2563
    @raksaswallow2563 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีคะคุณหมอ

    • @raksaswallow2563
      @raksaswallow2563 ปีที่แล้ว +1

      คุณหมอคะ รบกวนถามคะ
      1.เมลาโทนิน ถือว่าเป็นยานอนหลับไหมคะ
      2.ดื่มผงโก้โก ทุกเช้า จะช่วยเรื่องอัลไซเมอร์
      ได้ไหมคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +3

      1) ใช่ครับ และบางคนมีปัญหาได้ 2) ไม่ครับ

    • @raksaswallow2563
      @raksaswallow2563 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณคะคุณหมอ.