ชัวร์ก่อนแชร์ : 9 อาหารไฟเบอร์สูง แคลอรี่ต่ำ จริงหรือ?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 21 ก.ย. 2024
  • บนสังคมออนไลน์แชร์แนะนำอาหาร 9 อย่างที่มีไฟเบอร์สูง แคลอรี่ต่ำ ช่วยควบคุมน้ำหนักได้ เรื่องนี้จริงหรือไม่ ติดตามจากศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์
    ►►►►►►►►►►
    ✮ ธ สถิตในใจราษฎร์นิรันดร์ ► goo.gl/v9U1YP
    ►►►►►►►►►►
    ✮สมัครรับข้อมูลฟรี! Subscribe ► / tnamcot
    ✮ชมทุกตอน "ชัวร์ก่อนแชร์" ►goo.gl/zmgfeG
    ✮ข่าวดังข้ามเวลา ► goo.gl/rKcCQq
    ✮สกู๊ปพิเศษ ► goo.gl/Yw0ZIw
    ✮เห็นแล้วอึ้ง ► goo.gl/zFvXUA
    ✮เกษตรทำเงิน ► goo.gl/zF5aWu
    ✮เกษตรสร้างชาติ ► goo.gl/iSr814
    ✮ภาพมุมมองใหม่ | ท่องเที่ยววิถีไทยเก๋ไก๋สไตล์ลึกซึ้ง ► goo.gl/Z9DVHZ
    คลิกชม
    1.สารคดีเฉลิมพระเกียรติ ► goo.gl/IPLmNK
    2.พระราชกรณียกิจ-พระมหากรุณาธิคุณ ► goo.gl/XH7ayo
    3.คนไทยหัวใจ♥รักในหลวง ► goo.gl/CKPWpl
    ------------------------------------
    ติดตาม สำนักข่าวไทย อสมท (ช่อง 9MCOT HD หมายเลข 30 | Thai News Agency MCOT
    ► เว็บ www.tnamcot.com
    ► เฟซบุ๊ก / tnamcot
    ► แอดไลน์ (LINE) @TNAMCOT หรือคลิก line.me/ti/p/%4...
    ► ทวิตเตอร์ / tnamcot
    ► อินสตาแกรม / tnamcot
    ► ยูทูบ / tnamcot
    ► ชมข่าวย้อนหลัง / tnamcot #ชัวร์ก่อนแชร์ #ศูนย์ชัวร์ก่อนแชร์ #SureAndShare #FactChecking

ความคิดเห็น • 2

  • @jirapanpitayaprichakul151
    @jirapanpitayaprichakul151 6 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ และก็ต้องขอโทษด้วยค่ะเพราะดิฉันมีข้อสงสัยอยากจะถามคุณค่ะ และคุณอาจจะหาข้อเท็จจริงให้กับดิฉันได้ ตอนนี้ดิฉันพึ่งจะเริ่มทำสวนครัวและกำลังจะทำหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงเอาไว้ใช้เอง และหลายๆคนก็กำลังใช้ในสวนแทนการใช้ปุ๋ยเคมี แม้แต่ทำขายกันเยอะแยะ แต่บังเอิญดิฉันไปเห็นข้อความนึง ดิฉันเลยเกิดความสงสัย ว่าตกลงแล้วมันเป็นคุณหรือโทษกันแน่ ที่เรากำลังนิยมใช้อยู่เนี่ยสรุปแล้วที่เราคิดว่ามันทำให้ต้นไม้ในสวนเราเขียวสวยงาม แต่ก็เป็นอันตรายเหมือนกินปุ๋ยเคมี
    คำถาม : ทำไม ทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงแล้ว จึงได้สีที่แตกต่างกัน
    คำตอบ :
    สีเขียว ที่ปรากฎ เกิดจาก แพลงตอนพื่ช Phytoplankton ชนิดไดโนแฟลกเจลเลต สกุล Noctiluca scintillans Dinoflagellate
    แพลงตอนพืช Phytoplankton คือแพลงก์ตอนที่สามารถสังเคราะห์แสง และสร้างอาหารเองได้
    เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศ เนื่องจากเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิของห่วงโซ่อาหารในกลุ่มสาหร่ายเซลเดียว
    ชนิดไดโนแฟลกเจลเลต สกุล Noctiluca scintillans ซึ่งมีมากในน้ำเค็ม และน้ำกร่อย
    ไดโนแฟลกเจลเลต Dinoflagellate เป็น สาหร่ายเซลล์เดียวชนิดหนึ่ง ผนังเซลล์เป็นเซลลูโลส
    สังเคราะห์ด้วยแสงได้ มีคลอโรฟิลล์เอและบี มักมีสีเหลือง-เขียว เป็นแพลงก์ตอนพืชในน้ำจืด และในทะเล
    ไดโนแฟลกเจลเลต สกุล Noctiluca scintillans Dinoflagellate ดังกล่าวข้างต้น เป็นอาหารของแพลงตอนสัตว์ และสัตว์หลายชนิด
    ที่อาศัยอยู่ตามพื้นน้ำ หรือท้องทะเล เช่น กุ้งเคย ซึ่งมีห่วงโซ่อาหารดังนี้ แพลงก์ตอนพืช → กุ้งเคย → ปลา หรือ วาฬ เป็นต้น
    แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมาก และเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแหล่งน้ำ เนื่องจากได้รับอุณหภูมิ แสงแดด และ
    อาหารในกลุ่มไนโตรเจน ฟอสฟอรัส อันเป็นสาเหตุทำให้เกิดปรากฎการขี้ปลาวาฬ กล่าวคือจะทำให้น้ำเป็นสีเขียว
    ส่วนไดโนแฟลกเจลเลต สกุล Ceratium furca Dinoflagellate และ สกุล Gonyaulax Dinoflagellate
    จะทำให้น้ำเป็นสีแดง และน้ำตาล เรียกว่า Red tides ซึ่งจะผลิตสารพิษที่เป็นพิษต่อระบบประสาท
    ทำให้ปลาตายเป็นจำนวนมาก มนุษย์ที่กินปลาเหล่านั้น มีโอกาสได้รับสารพิษเช่นเดียวกัน
    การใช้น้ำกะปิ หรือน้ำปลา ซึ่งล้วนแต่เป็นสัตว์ทะเลที่กินแพลงตอนชนิดดังกล่าวเข้าไป
    จะมีสารปนเปื้อนอยู่ในตัวกุ้งเคยที่นำมาทำกะปิ รวมถึงปลาทะเลที่นำมาใช้หมักน้ำปลา ก็จะทำให้มีสารตกค้างมาด้วย
    เมื่อนำกะปิ และน้ำปลา มาเป็นส่วนผสมในการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง จึงทำให้เกิดปรากฎการน้ำสีเขียว หรือสีแดง - น้ำตาล เกิดขึ้น
    ก็ขึ้นอยู่กับชนิดของไดโนแฟลกเจลเลต ว่าจะมีชนิดใดมากกว่ากัน
    อย่างไรก็ตาม แพลงก์ตอนพืชที่มีปริมาณมากอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น
    เนื่องจากจะทำให้ออกซิเจนลดลงอย่างมาก หรือถึงระดับขาดออกซิเจน ทำให้เกิดภาวะสะสมของสารพิษที่มาจากตัวแพลงตอน
    ดังนั้นการนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไปใช้เพื่อการเกษตรในระดับปริมาณสูง
    จึงต้องคำนึงถึงสารพิษที่จะตกค้างในพืช และสัตว์ ซึี่งจะส่งผลต่อระบบประสาทผู้บริโภคได้เช่นเดียวกัน
    อย่างไรก้ตาม ผู้นำเสนอ มิได้มีเจตนาต่อต้านการผลิต หรือการนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไปใช้เพื่อการเกษตรแต่อย่างใด
    เพียงแต่เห็นว่าควรได้นำเสนอ ความคิดเห็นทางวิชาการเท่านั้น

    • @jirapanpitayaprichakul151
      @jirapanpitayaprichakul151 6 ปีที่แล้ว

      สรุปแล้วดิฉันควรจะเชื่อใคร เพราะดิฉันกำลังจะแชร์ต่อให้ญาติพี่น้อง โดยเฉพาะแม่ของดิฉันค่ะ ขอบคุณนะคะ