สอนอ่านผลไขมันในเลือด เมื่อไหร่ต้องรักษา

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 16 ส.ค. 2022
  • ต้องการลงลึกเข้าใจถึงหลักฐานทางวิชาการควรไปอ่านสิ่งนี้ครับ ความยาว 239 หน้า ผมย่อยมาให้ในคลิปแล้วนะครับ
    www.nhlbi.nih.gov/sites/defau...
    คำนวณโอกาสการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ในระยะเวลา 10 ปี (ASCVD risk) ตามนี้ครับ
    tools.acc.org/ascvd-risk-esti...
    สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
    ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

ความคิดเห็น • 756

  • @pattarapornsovarattanaphon8892
    @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +191

    สอนวิเคราะห์ไขมันในเลือด เมื่อไหร่ต้องรักษา #ไขมันในเลือดสูง #Statinมีประโยชน์#ยาลดไขมันไม่ฆ่าคุณ
    เวลาเจาะเลือดตรวจไขมันจะมี
    1. Total Cholesterol โดยทั่วไปควรน้อยกว่า 200
    2. LDL Cholesterol หรือ LDL-C ควรจะเป็นเท่าไหร่ เพราะในแต่ละคนไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยเสี่ยงของท่านมีมากน้อยแค่ไหน
    3. Triglyceride หรือ TG ส่วนใหญ่ต้องการให้อยู่น้อยกว่า 150
    4. HDL ผู้ชายควรเกิน 40 ขึ้นไป ส่วนผู้หญิงควรเกิน 50 ขึ้นไป
    เหตุผลที่เราต้องรักษา LDL-C หลักๆเพื่อป้องกันการเกิด ASCVD หรือ Atherosclerotic Cardiovascular Disease ( Athero = หลอดเลือด sclerosis = แข็ง หลอดเลือดที่มีความยืดหยุ่นต่ำ เกิดจากมีไขมันไปพอกบริเวณผนังเส้นเลือดมากๆแล้วแคลเซียมไปเกาะ หลังจากนั้นทำให้เกิดการอุดตันและเลือดไปเลี้ยงบริเวณต่างๆไม่เพียงพอ)
    ตอนที่1

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +23

      4. กลุ่มที่มีหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพองที่เคยแตกในอดีต หรือ มีไขมันเกาะหนาจนป่องออกมา เรียกว่า Aortic Aneurysm หรือ AA ถ้าเป็นที่ท้องจะเรียกว่า Abdominal Aortic Aneurysm หรือ AAA ถ้าเป็นในช่องทรวงอกจะเรียกว่า Thoracic Aortic Aneurysm ขึ้นอยู่กับว่าเป็นตำแหน่งไหน
      5. หลอดเลือดสำคัญที่คอ (สามารถดูตำแหน่งเส้นเลือดนี้ได้ในนาทีที่ 5:42 เป็นต้นไป) จากจุดกึ่งกลางคอด้านหน้าลากชนคาง ลากไปทางซ้ายหรือขวาก็ได้ เพราะมีทั้ง 2 ข้าง ลากไปจุดกึ่งกลางคอชนกราม เราจะคลำชีพจรได้ ตรงนั้นจะเรียกว่า Carotid Artery ถ้ามีอะไรไปพอกอยู่ข้างในจะถือว่าเป็นโรคหลอดเลือดส่วนปลายที่มีความสำคัญ หากตีบเกิน 70% จะต้องได้รับการรักษา อาจต้องใส่ stent หรือ ผ่าตัด
      หาก LDL เราสูงเราก็ต้องป้องกัน หรือ เกิดไปแล้วก็ยิ่งต้องทำการรักษา เพราะถ้าเราอิดออดต่อไป อาจเกิดซ้ำได้จนอาจจะทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ ถ้าเรารักษา LDL ได้แล้ว เราก็จะทำการรักษา Non LDL-Cholesterol ต่อไป
      ตอนที่3

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +21

      ==Primary prevention (การป้องกันก่อนที่จะเกิดโรค)==
      จะแบ่งตามปัจจัยเสี่ยง
      1. หากมีความดันสูง หรือ Hypertension คือความดันตั้งแต่ 140/90 เป็นต้นไป
      2. สูบบุหรี่
      3. ผู้ชายอายุเกิน 45 ปีขึ้นไป และ ผู้หญิงอายุเกิน 55 ปีขึ้นไป
      4. โรคอ้วน หรือ Obesity
      5. โรคไต หรือ Chromic kidney disease (CKD) stage 3 ขึ้นไป ปกติจะแบ่งตามระยะการทำงานของไต คือ eGFR ต่ำกว่า 60 เป็นต้นไป ก็มีความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือด
      6. เบาหวาน หรือ Diabetes (DM) ไม่ว่าจะเป็นเบาหวานแบบคุมด้วยอาหาร หรือ ยา ก็ถือว่ามีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ
      7. เป็นโรคเกิดการอักเสบทั่วร่างกายบ่อยๆ หรือ Chromic inflammation เช่น รูมาตอยด์ SLE (โรคพุ่มพวง) HIV/AIDS มีประวัติครอบครัวที่มีปัญหาเรื่องหลอดเลือดโดยเฉพาะอายุน้อย(ผู้ชายอายุน้อยกว่า 55 ปี และ ผู้หญิงอายุน้อยกว่า 65) หรือเป็นกันหลายคน ก็ถือว่าอยู่ในกลุ่มเสี่ยง
      ตอนที่4

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +21

      หากมี LDL-C มากกว่า 190 โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง 7 ข้อด้านบน ยิ่งต้องทำการป้องกัน มักจะต้องกินยา เพราะไม่สามารถคุมด้วยอาหารได้ หากต้องการควบคุมด้วยอาหารควรจะตรวจซ้ำภายใน 1 เดือน ถึง 1 เดือนครึ่ง ถ้ายังไม่ลงแนะนำว่าควรจะใช้ยา เพราะจะเสี่ยงมาก
      และถ้า LDL-C สูงมากๆอาจจะเสี่ยงเป็นโรค Familial hypercholerterolemia (FH) เป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่ทำให้คอเรสเตอรอลสูงมากๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น large LDL แต่ก็เสี่ยงในการเป็นโรค ASCVD สูงมากๆ ซึ่งกลุ่มนี้ควรใช้ยากลุ่ม statin ทันที
      หากท่านมี LDL-C ต่ำกว่า 190
      - ถ้าอายุ 20-39 ส่วนใหญ่ยังไม่ต้องใช้ยา ให้ใช้วิธีคุมอาหารออกกำลังกาย ก็อาจจะลงไปได้เอง แต่ควรจะต้องตรวจซ้ำ ไม่ต้องตรวจอะไรเพิ่มเติมยกเว้นมีปัจจัยเสี่ยงมากๆ ควรจะต้องตรวจไขมันซ้ำอยู่เรื่อยๆว่าถ้าสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น คราวนี้ตรวจเป็น 160 คราวหน้า 3 เดือน เป็น 180 อีก 3 เดือนเป็น 200 กว่า แบบนี้อาจจะต้องกินยาแล้ว
      - หากอายุ 40-75 ปี ต้องมาประเมินซ้ำอีกครั้ง เพราะวิธีการคำนวณความเสี่ยงจะใช้กับคนที่อายุ 40 ปีขึ้นไป เป็นส่วนใหญ่ จะมีการประเมิน ASCVD risk ที่ 10 ปี (สามารถประเมินความเสี่ยงได้ในลิงค์ใต้คลิป)
      1. Low (ต่ำมากๆ) คือน้อยกว่า 5% ใน 10 ปี ควรต้องตรวจติดตามแต่ไม่จำเป็นต้องทำการรักษา
      2. Borderline risk (เสี่ยง) อยู่ระหว่าง 5% - 7.4% อาจมีความจำเป็นต้องรักษา
      3. Intermediate risk (เสี่ยงค่อนข้างสูง)อยู่ระหว่าง 7.5%-19.9% อาจมีความจำเป็นต้องรักษา
      ตอนที่5

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +17

      ในกลุ่มที่ 2 และ 3 จะเป็นกลุ่มกลางๆที่มีความเสี่ยง (อยู่ระหว่าง 5%-19.9%) มีความจำเป็นที่จะต้องรักษา จะเรียกว่า Risk enhancement factor เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค ASCVD เพิ่มขึ้น เพราะเราอาจเลือกที่จะใช้ยาหรือไม่ใช้ยาก็ได้ หากมีเยอะๆเราควรจะให้ยาเร็วขึ้นเท่านั้น โดยจะแบ่งตามปัจจัยเสี่ยง 7 ข้อด้านบนว่ามีกี่ข้อ
      - 0-1 ข้อ อาจยังไม่ต้องให้ยา แต่ต้องควบคุมอาหารและออกกำลังแล้วมาตรวจซ้ำ หากยังไม่ดีขึ้นควรต้องใช้ยา เราควรจะให้ LDL-C ของเราไม่เกิน 160
      - 2 ขึ้นไป จะต้องให้ยา statin เราต้องการให้ LDL-C ของเราต่ำกว่า 130
      ตอนที่6

    • @pattarapornsovarattanaphon8892
      @pattarapornsovarattanaphon8892 ปีที่แล้ว +18

      นอกจากนี้ยังต้องมี Metabolic Syndrome หรือ เรียกว่า Syndrome X คือ หากมีเกิน 3 ข้อ จะถือว่าเป็น Metabolic Syndrome ทันที ได้แก่
      - ความดันสูง
      - เส้นรอบเอว ในผู้ชายเกิน 35-40 และผู้หญิงเกิน 30-35 โดยให้เราวัดตำแหน่งสะดือไม่แขม่ว หรือ ยื่นพุง หายใจตามปกติ
      - ค่า HDL ต่ำ ผู้ชายต่ำกว่า 40 ผู้หญิงต่ำกว่า 50
      - คนที่มีน้ำตาลสูง อาจไม่ถึงกับเป็นเบาหวาน โดยที่ A1C อยู่ที่ 5.7 - 6.4 หรือถ้าเป็นเบาหวานก็จะชัดเจน
      - Triglyceride เกิน 150
      - คนที่หมดประจำเดือนต่ำกว่าอายุ 40 ปี
      - หากมีครรภ์เป็นพิษ หรือ Pre-Eclampsia
      - LDL-C อยู่ที่ 160-189 มีแนวโน้มใช้ statin เร็วขึ้น
      - การตรวจพิเศษ เช่น HSCRP หรือ High Sensitivity C-Reactive Protein มีค่าตั้งแต่ 2 mg/dl ขึ้นไป การตรวจ Lipoprotein(a) เกิน 50 ขึ้นไปก็เสี่ยง การตรวจ Ankle Brachial หรือ ABI เป็นการตรวจวัดความดันที่แขน ขา(ข้อเท้า) ว่ามีความแตกต่างกันเท่าไหร่ หากต่ำกว่า 0.9 ก็ถือว่ามีความเสี่ยงสูง
      - Coronary Artery Calcium Scoring หรือ CAC จะดูเฉพาะกลุ่ม​Metabolic Syndrome เท่านั้น
      ตอนที่7

  • @wonsilapattawee8134
    @wonsilapattawee8134 ปีที่แล้ว +1

    มาอีกแล้วความรู้ ต้องฟัง ขอบคุณมากๆค่ะ

  • @warobonc
    @warobonc ปีที่แล้ว

    เป็นคลิปที่ดีและละเอียดมากๆ ขอบคุณคุณหมอที่สละเวลามาให้ความรู้ค่ะ

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat ปีที่แล้ว +9

    ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰

  • @user-to4hj5ve4e
    @user-to4hj5ve4e ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ คุณหมอขว้ญใจ ชอบฟังมากๆค่ะ

  • @ratanapodang8907
    @ratanapodang8907 10 หลายเดือนก่อน +1

    วิชาการที่มีค่ามากๆคะ

  • @kanjanachaksangchaichot9673
    @kanjanachaksangchaichot9673 ปีที่แล้ว +5

    ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ 🙏🙏🙏

  • @dechawatintarapipat1529
    @dechawatintarapipat1529 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆครับหมอ

  • @suthidaratanaprasartporn3865
    @suthidaratanaprasartporn3865 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากๆค่ะ ความรู้ที่ได้ช่วยได้มากๆค้ะ

  • @user-ss1to1bd8s
    @user-ss1to1bd8s ปีที่แล้ว +9

    ขอบคุณอาจารย์มากค่ะ เข้าใจมากขึ้นเลยค่ะ

  • @apha55
    @apha55 ปีที่แล้ว +4

    เป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ 🙏🙏

  • @kanobpornbunnag8514
    @kanobpornbunnag8514 ปีที่แล้ว +2

    ชัดเจนมากค่ะ

  • @ole.alistar
    @ole.alistar ปีที่แล้ว +1

    ร้องไห้แล้วค่ะ กราบขอบพระคุณคะอาจารย์ 🙏🏻

  • @WD_MyImage
    @WD_MyImage ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ ละเอียดมากๆ สาระล้วนๆเลย

  • @drstit
    @drstit ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณมากครับอาจารย์หมอ ละเอียด ได้ความรู้มากครับ

  • @user-iq2eh8gt1z
    @user-iq2eh8gt1z ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณอาจารย์มากๆ ค่า ได้ความรู้ที่นำไปดูลตัวเอง🙏

  • @ekbua4475
    @ekbua4475 10 หลายเดือนก่อน +2

    ชอบดูและฟังหลายครั้งครับ

  • @user-fm2ib4yx7b
    @user-fm2ib4yx7b ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ

  • @sunaww8184
    @sunaww8184 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณความรุ้ดีๆนะคะคุณหมอ🥰

  • @kanokpornmartinez9609
    @kanokpornmartinez9609 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากๆค่ะ ระวังอาหาร การกิน มากขึ้นจ้าา

  • @user-nl3do1vr2n
    @user-nl3do1vr2n ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณมากค่ะ
    ได้ความรู้มากเลยค่ะ👍

  • @leo-jx2mh
    @leo-jx2mh ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณครับพี่หมอ🙏😘 แชร์แล้วนะครับ♥️♥️♥️

  • @KunlayaneeToy
    @KunlayaneeToy ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณ คุณหมอแทน ดูแลรักษา สุขภาพด้วยค่ะ

  • @Betterworld233
    @Betterworld233 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะสงสัยต้องฟังหลายรอบ ถ้าคุณหมอเกริ่นมาขนาดนี้

  • @migoldr
    @migoldr ปีที่แล้ว +2

    ฟังเข้าใจง่าย เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการแพทย์มากๆ🙏❤️

  • @rattikanyui8015
    @rattikanyui8015 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ เดือนหน้าหมอนัดให้ไปตรวจไข้มันในเลือด แอบกังวลเหมือนกันค่ะ

  • @abigal8518
    @abigal8518 ปีที่แล้ว +1

    พยายามลดอยู่ค่ะ คุณหมออออ แต่ยากมาก ขอบคุณนะคะสำหรับความรู้🙏🙏

  • @thunyamy24
    @thunyamy24 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณมากๆค่ะอาจารย์
    อาจารย์รักษาสุขภาพด้วยเช่นกันนะคะ

  • @PanupongPengphasuk
    @PanupongPengphasuk 17 วันที่ผ่านมา +2

    ผมอายุ 32 LDLสูงถึง201 เเต่ไม่มีปัจจัยเสี่ยงใดๆ ควบคุมอาหาร 4 เดือนถัดมาตรวจอีกครั้งลดลง 170 หมอที่ตรวจเเนะนำให้ควบคุมอาหารเเละออกกำลังกายต่อไป ปล.หมอที่ตรวจเเนะนำให้ผมมาหาความรู้ในช่องทางออนไลน์เอาเอง เพราะ เป็นความรู้ทั่วไปหาง่าย เเต่ผมว่าไม่ง่ายเลยที่จะมีหมอดีๆเเนะนำเเบบคุณหมอ ผมขอขอบคุณมากๆครับที่เเชร์ความรู้นี้ครับ

  • @pornpenpetsuksiri9665
    @pornpenpetsuksiri9665 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณคุหมอมาเลยค่ะ เข้าใจเพิ่มขึ้นอย่างมากค่ะ เป็นบุญที่ได้ฟังความรู้นี้ ขอให้คุณหมอมีแต่ความสุข สวัสดิ์ในกาลทุกเมื่อค่ะ

  • @pitsawansukmek178
    @pitsawansukmek178 ปีที่แล้ว +2

    คุณหมอ หล่อ เก่ง ใจดีมีจิตอาสา🥰🥰🥰

  • @daeng1546
    @daeng1546 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ

  • @user-wj3yu7kh9o
    @user-wj3yu7kh9o 7 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณคุณหมอมากครับ...ได้รับความรู้มากเลยครับ

  • @user-vp2uu1gs6c
    @user-vp2uu1gs6c ปีที่แล้ว +4

    ฟังคุณหมอพูดเหมือนได้เรียนแพทย์ ได้ความรู้มาก อธิบายได้ดีมากครับ

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะคุณหมอแทน
    สำหรับความตั้งใจที่จะให้ความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นเพื่อสุขภาพ เป็นกำลังใจให้ค่ะคุณหมอ🍵

  • @bupphalovenature8265
    @bupphalovenature8265 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณค่ะคุณหมอ...🙇‍♀️🙇‍♀️😊😊

  • @kotchakornharindech2906
    @kotchakornharindech2906 ปีที่แล้ว +13

    ได้รับความรู้มากมายเลยคะ ไม่ใช่หมอ แต่ฟังแล้วพอเข้าใจ เพราะคุณหมออธิบายละเอียด ขอบคุณคุณหมอมากคะ

  • @siriratfairley1375
    @siriratfairley1375 ปีที่แล้ว +8

    อธิบาย​ละเอียด​ เข้าใจง่าย ขอบคุณ​มาก​ค่ะ​

  • @mattiyasteinmetz4781
    @mattiyasteinmetz4781 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอบาง คลิปดู ตั้งสามรอบนะคะ

  • @sunsaneesmittivate3177
    @sunsaneesmittivate3177 ปีที่แล้ว +5

    ขอขอบคุณ Dr Tany มากค่ะ ข้อมูลที่คุณหมอให้มีประโยชน์มากค่ะ ติดตามเกือบทุกคลิบ ค่ะ

  • @zazababor3224
    @zazababor3224 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ

  • @natvan215
    @natvan215 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณสำหรับข้อมูลค่ะ มีประโยชน์มากค่ะทานยาstatinมา10กว่าปีจะรอฟังคลิปต่อไปค่ะ

  • @realone3532
    @realone3532 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณคุณหมอมากๆค่ะ

  • @Captain_764
    @Captain_764 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณ สำหรับความรู้ครับ ดีกว่าหมอบางคน ทำแต่คลิปเต้นให้สาวแก่แม่หม้ายกรี๊ดไปวันๆ...

  • @user-tk2yw1zv8t
    @user-tk2yw1zv8t ปีที่แล้ว

    ขอบคุณข้อมูลที่ดีมากๆค่ะ

  • @CherryChonny
    @CherryChonny ปีที่แล้ว +1

    กลุ่มที่ mild 25:11 ชอบการออกเสียงของคุณหมอค่ะ 😊 ฟังถึงตรงนี้แล้วค่ะ ขอพักแป๊ปนึงค่ะ 🍫

  • @nevadapangel5983
    @nevadapangel5983 ปีที่แล้ว +3

    พยาบาลNCDขอเข้ามาฟังด้วยค่ะ ขอบคุณอาจารย์หมอแทนค่ะ

  • @emiriiof2866
    @emiriiof2866 8 หลายเดือนก่อน +1

    ติดตามคุณหมอตลอดค่ะ เพราะคุณหมอให้ความรู้มากค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

  • @krongkaewarunsiri8866
    @krongkaewarunsiri8866 ปีที่แล้ว +3

    กราบ กราบกราบ ขอบพระคุณ คุณหมอและคุณครูด้วยความเคารพอย่างสูงค่ะ

  • @gaepemchamin7499
    @gaepemchamin7499 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะ ได้ประโยชน์ ได้ความรู้อย่างยั่งยืนที่จะใช้ดูแลรักษาตัวเองได้ค่ะ

  • @julie14fordec
    @julie14fordec ปีที่แล้ว +5

    Thank you Doctor Tony and everyone, TakeCare💪❤️

  • @lakkyky5792
    @lakkyky5792 8 หลายเดือนก่อน +1

    สบายดีอาจารย์หมอ 🙏thank you for share 🙏❤

  • @supinyak.7174
    @supinyak.7174 ปีที่แล้ว +10

    ขอบคุณมากๆๆคะ คุณหมอ ขอฟังซ้ำหลายๆรอบเพื่อความเข้าใจ และเราไม่ได้รับคำอธิบายจากหมอ เรา แต่เราก็โชคดี ที่มีความรู้ความเข้าใจ จากคุณหมอ มาแนะนำให้ความรู้แก่เรา ขอบคุณคุณหมอ ขอบคุณยูทูป ที่ทำให้เราได้เข้าถึงข้อมูลจากคุณหมอที่น่ารักและห่วงใย คนที่เจอโรคภัย ขอบคุณมากๆๆนะคะคุณหมอ 🙏😍

  • @user-cl4rb7un2s
    @user-cl4rb7un2s 10 หลายเดือนก่อน +1

    สุดยอดจริง ดีใจที่หมอมจัดคลิปให้ความรุ้ ไม่มีหมอคนไหนในรพมาพูดละเอียด ดีมากๆค่า เข้าใจหมด ให้ ปยมากๆ ขอชมเชยคลิปนี้ ดีจริงๆ

  • @vijittrajittrarom1393
    @vijittrajittrarom1393 ปีที่แล้ว +5

    ขอบพระคุณมากๆจริงๆค่ะคุณหมอ มีประโยชน์มากจริงๆ
    ละเอียดมากค่ะ เข้าใจง่าย
    จะแชร์ไปเพื่อนๆทุกกลุ่มค่ะ🙏❤️

  • @suwannamongkoladisai3118
    @suwannamongkoladisai3118 ปีที่แล้ว +7

    เรียนสนุกมากค่า เรียนกับหมอเก่งระดับโลกมันเป็นอย่างนี้นี่เอง❤❤❤

  • @supinyak.7174
    @supinyak.7174 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากๆๆคะคุณหมอ👍👍🙏😍

  • @TheSiripan
    @TheSiripan ปีที่แล้ว

    ขอบคุณอ.หมอค่ะ🙏 เคลียร์มากที่สุดเลย แทบไม่ต้องอ่านtextเองเลย /Internที่ลพบุรี

  • @FL19352
    @FL19352 ปีที่แล้ว +6

    ขอบพระคุณมากที่มีเรื่องราวสาระดีๆ ที่มีประโยชน์ มาเล่าให้ฟังเสมอ ทั้งทางวิชาการ สุขภาพทั่วๆไป และเรื่องรอบๆ ตัว เหตุการณ์ทันโลก และ ทันโรค 🙏🥰คุณหมอมีนำ้ใจจิตใจเมตตา เผื่อแผ่สังคมอย่างต่อเนื่องเสมอ

  • @Happy-yh9lz
    @Happy-yh9lz 3 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ อธิบายละเอียดมากค่ะ ติดตามค่า

  • @game-passakorn
    @game-passakorn ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ เพิ่งไปตรวจมาพอดี เจอคลิปนี้มีประโยชน์มากๆ ครับ แจ่มกระจ่าง

  • @user-vi3lv5qk9t
    @user-vi3lv5qk9t ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน ขอบคุณน่ะค่ะกับความรู้ที่ดีๆๆ ป้าขออนุญาตแชร์น่ะค่ะ🙏🏼❤️🥰สุขภาพดีมีสุขน่ะค่ะคุณหมอและน้องโรชี่ด้วยค่ะ

  • @1122Jula
    @1122Jula ปีที่แล้ว

    ตั้งใจฟังจนเข้าใจ ขอบคุณมากค่ะ

  • @chutaratchanwigoon2469
    @chutaratchanwigoon2469 6 หลายเดือนก่อน +2

    ได้ติดตามคุณหมอท่าน มานาน เลื่ิอมใส ความรู้ และใส่ใจได้ดีมากๆๆค่ะ

  • @khambayyangyongvue1619
    @khambayyangyongvue1619 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุนจีงๆครับ👍🏻👍🏻👍🏻

  • @nokyoun6179
    @nokyoun6179 ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้มากๆเป็นประโยชน์ ได้ไปตรวจสุขภาพประจำปี พบ ไขมัน 267 หมอให้รอตรวจซ้ำอีก 3 เดือน ความดัน 140 อายุ 56 ปี ไม่มีโรคประจำตัว

  • @user-ql7nd6bh6h
    @user-ql7nd6bh6h 9 หลายเดือนก่อน +5

    ขอบคุณที่ทุ่มเทเพื่อสุขภาพคนไทย แม้อยู่ต่างแดน อาจารย์หมอเป็นคนจิตใจดีมากๆ ขอให้บุญกุศลหนุนนำให้สุขกาย สุขใจ นะคะ

  • @kanyarossomboonpoonphol6420
    @kanyarossomboonpoonphol6420 10 หลายเดือนก่อน +4

    ขอบคุณคุณหมอนะคะ อธิบายเข้าใจดีมากคะ จะได้นำไปใช้กับตัวเอง และดูแลสุขภาพได้อยางถูกต้อง เป็นประโยชน์มากๆๆ คะ

  • @user-rw1xg8lw6y
    @user-rw1xg8lw6y 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณค่ะชัดเจนดีมากค่ะ

  • @catsasiporn2411
    @catsasiporn2411 ปีที่แล้ว +5

    ขอบพระคุณคุณหมอมากค่ะ มีประโยชน์จริงๆ ค่ะ คุณหมออธิบายเข้าใจง่ายมาก สามารถนำมาใช้ดูสุขภาพได้จริงๆ ว่าควรตัดสินใจทำอย่างไรต่อไป เป็นคำปรึกษา การให้ความรู้ ที่เราไม่รู้ว่าจะไปหาแบบนี้ได้ที่ไหน ขอบพระคุณมากจริงๆ ค่ะ

  • @user-pt8dc1ry1m
    @user-pt8dc1ry1m ปีที่แล้ว +3

    ขอบพระคุณอาจารย์ที่เสียสละเวลาทำให้ได้ความรู้และการป้องกันรักษาขอให้อจ.เจริญและมีแต่ความสุขตลอดไปคะ

  • @bobo-mi7sl
    @bobo-mi7sl 6 หลายเดือนก่อน +1

    กระจ่างมากค่ะ ตัดสินใจได้เลย

  • @user-ew3gz9eg7m
    @user-ew3gz9eg7m ปีที่แล้ว +15

    ขอบคุณที่สละเวลาเพื่อให้ความรู้ ทุกคนควรฟังได้ประโยชน์ดีมาก เป็นความรู้ที่ดีต่อการ
    ดููแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน ขอบคุณ
    คุณหมอมาก ๆ ค่ะ

  • @krongkaewarunsiri8866
    @krongkaewarunsiri8866 ปีที่แล้ว +6

    ขอบพระคุณค่ะ ถ้าสมัยเรียนยายได้พบคุณหมอเป็นอาจารย์แล้วอธิบายได้ขนาดน้ีรับรองว่าเกียรตินิยมแน่ๆค่ะพูดจริงๆนะคะไม่ได้ยกยอเกิ่นจริงค่ะขนาดแก่ๆแบบนี้ตั้งใจฟังเข้าใจได้ดีเยี่ยมค่ะถึงแม้จะเป็นศัพท์ ทางแพทย์ก็ทำไมมันเข้าใจได้ดีมากชัดเจนเพราะเคยหาคำตอบแบบฟันธงแบบนี้ว่าใช้หรือไม่ใช้ยาไม่เคยเคลียร์เลยฟังมาหลาย ช่องมากเพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับตัวเองเลยสนใจเป็นพิเศษ อนุโมทนาสาธุค่ะ คุณหมอคุณครูค่ะ🙏❤️🤟

  • @supaveethana4984
    @supaveethana4984 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับคุณหมอ 👍

  • @mountainview9195
    @mountainview9195 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณค่ะอาจารย์🙏🌸
    คลิปนี้มีประโยชน์มากค่ะ ทำให้เข้าใจภาพรวมทั้งระบบเลยว่าทำไมคุณหมอต้องให้ statin น้องชายก็ทาน Simvastatin อยู่ค่ะ ตั้งตารอติดตามเรียนตอนต่อไปพรุ่งนี้ค่ะอาจารย์ สนุกดีค่า🙏🤩🤓

  • @mobilehome8176
    @mobilehome8176 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากๆค่ะ
    คลิปของคุณหมอช่วยชีวิตของใครๆอีกหลายคนเลยค่ะ

  • @amorn0191
    @amorn0191 ปีที่แล้ว +25

    ขอบคุณมากครับได้ฟังแล้ววางไม่ลงเลยได้สาระความรู้ครบรอบด้านและละเอียดดีเข้าใจได้ง่าย รอฟังข้อกาหนดและการใช้ statin คลิปต่อไปครับ..เพราะตอนนี้ทานอยู่ จาก LDL-C 197 ไม่มีปัจัยเสี่ยงอะไรแต่คุณหมอให้ใช้ยาเพราะอายุเข้าเลข 4 ตอนนี้ LDL-C ล่าสุด 85 ใช้ยาร่วมกับการคุมอาหารและออกกำลังกาย แต่มีข้อกังวลเล็กน้อยกับการใช้ยารอฟังครับ..

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @pairinito8977
    @pairinito8977 ปีที่แล้ว +6

    คลิปนี้ดีมากเลยค่ะ ได้ลายระเอียด ที่คุณหมอเขียนออกมาให้เลย แบบนี้จะได้จำได้ ความจำยิ่งไม่ค่อยจะดีด้วย ขอบคุณมากคะคุณหมอ ทำแบบคลิปนี้บ่อยๆนะคะ

  • @Munlovely
    @Munlovely ปีที่แล้ว +85

    บอกตรงๆว่าปลื้มกับคุณหมอท่านนี้มากๆค่ะ ติดตามฟังท่านเสมอทำให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพตัวเองได้ดี ดูคุณหมอหลายๆท่านที่ทำคลิปอยู่ใน TH-cam แล้ว (ความเห็นส่วนตัวนะคะ) ชอบอาจารย์หมอท่านนี้มากที่สุดสมกับที่มีหัวใจเป็นคนไทย ถึงแม้ว่าท่านจะอยู่ต่างแดนแต่ก็ให้ความรู้กับคนไทยได้ดีมากๆ ขอปรบมือให้เลยค่ะ

    • @maejaaacer677
      @maejaaacer677 11 หลายเดือนก่อน +1

      เห็นด้วยค่ะ ปลื้มอาจารย์หมอมาก

    • @prapaipiggott9185
      @prapaipiggott9185 9 หลายเดือนก่อน +1

      เห็นด้วยอย่างยิ่งค่ะ

    • @smithbengoorian7081
      @smithbengoorian7081 8 หลายเดือนก่อน

      บางท่านก็จัดสัมนาเป็นหลัก เนื้อหาน้อยครับ กว่าจะได้เรื่องก็เกือบหมดเวลา

    • @teresa19632506
      @teresa19632506 7 หลายเดือนก่อน +1

      ถูกต้องค่ะ 100% ส่วนใหญ่แฝงขายของ เท่าที่ฟังมาตั้งแต่ 4k sub คุณหมอไม่เคยคอยบอกให้กดไลค์กดแชร์กด sub etc. แต่สำหรับเราฟังแล้วทำเองค่ะ ทั้งแชร์คือฟังแล้วรู้สึกมีแต่ความรู้ล้วนๆ เลยอยากให้ทุกคนที่รู้จักได้ดู. โดยเฉพาะเรื่องอาหารเสริม หลายคนคงไตร่ตรองดีมากขึ้นก่อนคิดจะซื้อกิน 🙏🙏

    • @teresa19632506
      @teresa19632506 7 หลายเดือนก่อน

      ​@@smithbengoorian7081ช่องนี้เนื้อล้วนๆ สาระล้วนๆ เลยค่ะ

  • @wanplsl1889
    @wanplsl1889 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณ คุณหมอมากค่ะฟังคลิปนี้หลายครั้งมาก จนตัดสินใจใช้ยาลด LDL อย่างจริงจัง

  • @ployyy.2107
    @ployyy.2107 ปีที่แล้ว +5

    สวัสดีค่ะคุณหมอขอบคุณข้อมูลความรู้มากๆค่ะ ตอนนี้พยายามคุมอาหารอยู่ค่ะ LDLสูงนิดนึง130-140อายุจะเข้าเลขสี่แล้วค่ะคุณหมอนัดตรวจทุกสามเดือนค่ะ ขอบคุณมากๆค่ะที่แบ่งปันความรู้...🥰🥰🥰

  • @user-fo9ld6oe4b
    @user-fo9ld6oe4b ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากนะคะ หมอให้สแตนตินมากินก่อนนอนวันละ1เม็ด ยังไม่ได้เริ่มกินมาเป็นอาทิตย์ละค่ะ เพราะคิดว่าเราไม่มีอาการอะไร แต่พอมาฟังคุณหมออธิบายเข้าข่ายจะเป็นโรคหลอดเลือดในสมอง คืนนี้ต้องเริ่มกินเม็ดแรกแล้วค่ะ ้ฟังแล้วเริ่มกลัวเลย

  • @jedimuron
    @jedimuron 11 หลายเดือนก่อน +6

    ขอบคุณมากๆเลยครับอาจารย์ ขอเป็นกำลังใจในการทำคลิปให้ความรู้ครั้งนี้นะครับ เข้าใจง่ายและละเอียดดีครับ นำไปใช้ได้จริงเลยครับ

  • @somethingforlife
    @somethingforlife 10 หลายเดือนก่อน +4

    ขอบคุณคุณหมอที่สุดเลยค่ะ ที่ทุ่มเทเอาเวลามาลงคลิปให้พวกเราได้เข้าใจ ตอนนี้ LDL สูง จะเอาความรู้ที่คุณหมอ share เพื่อป้องกันรักษาตัวเอง

  • @chutaratchanwigoon2469
    @chutaratchanwigoon2469 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณมากๆค่ะ ได้ข้อมูลชัดเจน ( ปัจจุบันอายุ 72)

  • @teangbrcfin6571
    @teangbrcfin6571 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ🙏

  • @jimth8928
    @jimth8928 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณคุณหมอมากๆครับ🙏

  • @user-wm7my5xu5s
    @user-wm7my5xu5s ปีที่แล้ว +4

    ขอความอนุเคราะห์คุณหมอในคลิปต่อๆไป ขอคุณหมอลงเรื่องเกี่ยวกับการรักษาโรครูมาตอยด์ ด้วยนะคะขอบพระคุณค่ะ

  • @phorntkn3220
    @phorntkn3220 ปีที่แล้ว +20

    ไม่มีความรู้เรื่องหมอเลย แต่คุณหมออธิบายได้ละเอียดมาก เข้าใจว่า ควรรับยาหรือปรับเปลี่ยนอาหาร กับ ความเสี่ยง ที่จะเกิด ต่อไป / ป้า 65 ปี ความดันปกติ น้ำตาลเปี่ยม 99 cholesterol 239 HDL 64 LDL 157 ก็มีความคิด จะไม่รับยา เลย แต่ดูแลเรื่อง อาหาร แต่ฟังคุณหมอ คงต้อง อีก 2 เดือน ตรวจอีกครั้ง เพื่อพิจารณา ว่า LDL จะลดไหม ไม่งั้นคงต้องรับยา / ขอบคุณที่ สละเวลา อธิบาย ได้ชัดเจนมาก ขอบคุณ ๆๆๆๆ 🤩🤩🤩💗💗💗

  • @oonphant3777
    @oonphant3777 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดี ค่ะ อาจารย์หมอ ถูกใจคลิปนี้มากเลยค่ะ ตรงกับสุขภาพตัวเองเลยล่ะ ทั้งๆที่น้ำหนัก อยู่ระหว่าง 46 ถึง 48 แต่ไขมันสูงตลอด โดยเฉพาะ ldl..เกินมาเยอะเลยค่ะ แต่ก็ยังโชคดีไตรกลีเซอไรด์ แค่ 77..(เคยกินยา statin 7 ปี จนถึงขอคุณหมอหยุดยา หันกลับมาดูแลตัวเองและออกกำลังกาย แต่ก็ยังสูงอยู่เหมือนเดิม แต่ไตรกลีเซอไรด์ไม่เคยสูงเลย 😀 )ถึงอย่างไรก็จะพยายามลด ldl ให้ได้ค่ะ..🙏🙏🙏🥰😘

  • @piroadsam446
    @piroadsam446 ปีที่แล้ว

    เป็นหมอที่ให้คุณประโยชน์ต่อคนไทยได้มากจริงๆๆไม่มีผลประโยชน์แอบแฝง..ไม่ขายยา..ขายของบอก..มบอความรู้แบบเนื้อๆๆไม่เยิ้นเย้อ..สุดยอดคุณหมอจริงๆๆกราบงามๆๆคะ

  • @Thiphayathida
    @Thiphayathida ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะอาจารย์ Tany

  • @jjbewithyou
    @jjbewithyou 7 หลายเดือนก่อน +3

    ขอบคุณ อ. หมอ มากค่ะ คลิปนี้คนไม่มีความรู้ก็เข้าใจได้ ขออนุญาตส่งต่อให้บุคคลที่เรารักต่อไปนะคะ❤

  • @huangphuchii5879
    @huangphuchii5879 ปีที่แล้ว +7

    เพิ่งไปตรวจร่างกายมาเลยค่ะ Cholesterol 236, HDL 79, LDL 145, TG 144 >> คุณหมอบอกว่าไขมันมันแปลไปมาได้ไม่น่าห่วง เลยกำลังสงสัยเลยค่ะว่า การวิเคราะห์มันต้องยังไง คลิปนี้มาพอดีเลยคุณหมอ ขอบคุณความรู้ๆดีๆคร้า

  • @chichannal7200
    @chichannal7200 3 หลายเดือนก่อน +1

    ❤❤😊😊สุดยอดมากค่ะ

  • @samonpornsuttibak7470
    @samonpornsuttibak7470 ปีที่แล้ว +22

    ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ ฟังเข้าใจ อธิบายได้เข้าใจดีมากค่ะ เป็น 40 นาทีที่ตั้งใจฟังมากค่ะ เพราะอยู่ในครอบครัวที่มีปัจจัยเสี่ยง และพี่ชายก็พึ่งเกิดเหตุการณ์เส้นเลือดในสมองแตก อยู่ระหว่างการรักษาค่ะ อนุโมทนาบุญกับคุณหมอด้วยค่ะ

  • @rujpoonyachoti5819
    @rujpoonyachoti5819 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับอาจารย์

  • @krupoonjariya9132
    @krupoonjariya9132 ปีที่แล้ว +2

    กลับมาฟังซ้ำค่ะ เพิ่มความเข้าใจ ได้คำตอบให้ตัวเองว่า LDL เราต้องกดให้ต่ำกว่า70 ให้ได้ จาก 165 ตั้งเป้าหมาย ขอบคุณค่ะ หมอบอกให้คุม หวาน มัน เค็ม