ถ้าเป็น

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 8 มี.ค. 2023
  • สามารถเข้าร่วม Membership ได้ตามลิงค์นี้ครับ / @drtany
    ถ้าสมัครทางมือถือ ต้องทำผ่าน Browser ครับ ทำทาง App มันจะไม่ได้ ถ้าทำในคอมทำได้ปกติครับ

ความคิดเห็น • 500

  • @thisisnathathai
    @thisisnathathai ปีที่แล้ว +53

    ถ้าเป็น #โรคไตเรื้อรัง จะมีวิธีดูแลตัวเองอย่างไร
    สวัสดีครับ
    หลังจากที่ผมลงคลิปเรื่องเกี่ยวข้องกับการดูค่า BUN Creatinine แล้วก็ estimatedGFR ไปเรียบร้อยแล้วนะครับ ก็มีคนสงสัยต่อนะครับว่าถ้าเราไปตรวจแล้วสงสัยว่าเราเป็นโรคไตขึ้นมาจริงๆเนี่ย เราต้องทำยังไงกันบ้างนะครับ ถ้าเกิดเป็นโรคไตเรื้อรังแล้วมันจะต้องทำยังไง ผมก็เลยอยากจะเอาเรื่องนี้มาเล่าให้ฟังกันเลยนะครับว่าปกติเวลาที่เราดูแลคนไข้โรคไตเนี่ยเราต้องทำอะไรกันบ้าง แล้วเรามีคำแนะนำอย่างไรนะครับ
    พบกับผมนะครับ นายแพทย์ธนีย์ ธนียวันนะครับ เป็นอาจารย์แพทย์อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เชี่ยวชาญโรคปอด การปลูกถ่ายปอด และวิกฤตบำบัดนะครับ

    • @thisisnathathai
      @thisisnathathai ปีที่แล้ว +7

      3️⃣
      โรคไตแบบฉับพลันก็คือเรียกว่า Acute kidney injury (AKI) นะครับ หรือกรณีที่มีปัญหาโรคไตเนี่ยคือค่าการทำงานของไตมันแย่ลงแบบฉับพลันนั่นเองนะครับ ส่วนใหญ่ก็อาจจะเกิดจากการติดเชื้อนะครับ การที่มีการทานน้ำไม่เพียงพอนะครับ การเสียน้ำไปจากร่างกายหรือการที่มีความดันตกมากๆ ซึ่งส่วนใหญ่พวกนี้เนี่ยก็มักจะเจอในคนไข้ที่นอนโรงพยาบาลนะครับ หรือบางครั้งกินยาบางอย่าง กินสมุนไพรบางชนิดนะครับ พวกนี้ก็จะสามารถทำให้ไตของเรามันวายได้นะครับ เรื่องพวกนี้ผมก็จะยังไม่เน้นแล้วกันเพราะว่าคนส่วนใหญ่เวลาไปตรวจเลือดมาแล้วก็เจอว่าสงสัยว่าเป็นไตวายชนิดเรื้อรังซะมากกว่า ชนิดแบบฉบับเนี่ยโดยทั่วไปก็จะมีสาเหตุให้เห็นชัดเจน เรื่องพวกนั้นก็คงจะต้องไปรักษากันตามสาเหตุนะครับ เพราะว่าถ้าไม่รักษาแล้วสุดท้ายเนี่ยมันอาจกลายไปเป็นไตวายชนิดเรื้อรังเลยก็ได้นะครับ

    • @thisisnathathai
      @thisisnathathai ปีที่แล้ว +8

      4️⃣
      เรามาดูกันในแง่ของการที่เกิดไตวายเรื้อรังก่อนนะครับ หรือ Chronic kidney disease นะครับ คือโรคไตเรื้อรังนั่นเองนะครับ โรคไตเรื้อรังเราจะวินิจฉัยได้อย่างไรนะครับ?
      ➡️คำวินิจฉัยเนี่ยมันก็ขึ้นอยู่กับระยะเวลานะครับ ที่ไตมันทำงานไม่ปกตินะครับ โดยถ้าการทำงานของไตเสียเกินกว่า 3 เดือนเป็นต้นไปเราจะเรียกว่าคนคนนี้มีโรคไตวายเรื้อรังนะครับหรือ Chronic kidney disease นะครับ

    • @thisisnathathai
      @thisisnathathai ปีที่แล้ว +7

      5️⃣
      เมื่อไหร่ถึงจะบอกว่าค่าการทำงานของไตมันแย่กว่าปกติล่ะนะครับ?
      ➡️ตรงนี้ก็ต้องย้อนไปถึงค่า estimated Glomerular Filtration Rate หรือค่า eGFR นะครับ โดยคนปกติเนี่ยมันก็อยู่ที่ประมาณ 120 มิลลิลิตร/นาที/พื้นที่ผิว 1.73 ตารางเมตร นะครับ คือ 1.73 นี่จริงๆท่านไม่ต้องไปสนใจมันมากก็ได้นะครับ มันเป็นพื้นที่ผิวของตัวเราเองนี่แหละครับ เรามีวิธีในการคำนวณนะครับ เราใช้ค่าตัวนี้ถ้าจำง่ายๆไม่ต้องจำหน่วยก็คือเอา 120 คือคนปกตินะครับ แต่ว่าในแง่ของการวินิจฉัยเนี่ยคนไหนก็ตามที่มันมีค่าตัวนี้ตั้งแต่ 90 ขึ้นไปยังถือว่าปกติอยู่นะครับ ไม่ได้ถือว่ามีปัญหาอะไร เมื่อไหร่ก็แล้วแต่ที่มันต่ำกว่า 90 เนี่ยแปลว่าเราต้องสงสัยแล้วว่าคนนี้น่าจะมีโรคไตปนอยู่นะครับ

    • @thisisnathathai
      @thisisnathathai ปีที่แล้ว +9

      6️⃣
      ดังนั้นข้อแรกที่เราจำเป็นจะต้องรู้ก็คือว่าถ้าค่า estimated GFR ของเราเนี่ยมันต่ำกว่า 90 อันแรกต้องยืนยันให้ได้ก่อนว่ามันเป็นเช่นนั้นจริงหรือเปล่า มันมีเหตุผลอย่างอื่นไหมนะครับ เหตุผลอย่างอื่นก็ยกตัวอย่างเช่น เราไม่กินน้ำเพียงพอนะครับ เรามีความอ้วนมากๆที่ทำให้ค่าพวกนี้มันเปลี่ยนแปลงไปเราเป็นคนที่เล่นเวทมากๆกล้ามเนื้อใหญ่มากจนเกินไปอะไรพวกนี้นะครับที่อาจจะมีค่าพวกนี้มันผันแปรไปได้นะครับ พวกนี้อย่างที่ผมเคยเล่าไว้ในคลิปก่อนนะครับ ค่า estimated GFR เนี่ยคนส่วนใหญ่ที่ไปเจาะเลือดเขาก็จะคิดมาจากค่า Creatinine นะครับ ซึ่งจะมีความผันผวนได้แล้วแต่หลายๆสาเหตุ ซึ่งผมพูดไว้ในคลิปที่แล้วนะครับ ถ้าใครจำไม่ได้ก็ลองย้อนไปฟังดูนะครับ แต่ถ้าเกิดว่าเราอยากจะแน่ใจเนี่ยเราก็อาจจะเจาะตัวนึงซึ่งเรียกว่า Cystatin C นะครับ ตัวนี้มันจะสามารถใช้ในการประเมินค่า eGFRได้แม่นยำกว่าค่า Creatinine นะครับ หรือในกรณีบางอันเราใช้ทั้งคู่ทั้ง Creatinine แล้วก็ค่า Cystatin C ใช้ร่วมกันในการประเมิน eGFR โดยใช้สูตรคำนวณชื่อว่า CKD-EPI นะครับ ตัวนี้ผมก็ได้พูดไปแล้วในคลิปก่อนนะครับ

    • @thisisnathathai
      @thisisnathathai ปีที่แล้ว +1

      7️⃣
      อีกกรณีหนึ่งซึ่งเราสามารถที่จะประเมินได้ก็คือว่าถ้าเราเคยเจาะเลือดมาก่อน เคยตรวจมาก่อนแล้วก็อาจจะเอาผลเก่าของเรามาดูก็ได้นะครับ ถ้าเกิดว่าเราดูแค่ค่า Creatinine แล้วเอาไปคำนวณค่า eGFR แล้วมันต่ำ มันต่ำมานานแล้วนะครับ เราย้อนกลับไปดูมันก็ต่ำมานานแล้วในกรณีแบบนี้เนี่ยก็น่าจะบอกได้ว่าน่าจะเป็นจากโรคไตนั่นเองนะครับ
      ดังนั้นขั้นแรกเราต้องยืนยันก่อนนะครับว่ามีปัญหาจริงๆหรือเปล่านะครับ ถ้ามีปัญหาแล้วเนี่ยมันผ่านพ้นไปสามเดือนก็แปลว่ามันน่าจะมีปัญหาของแท้นะครับ

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +37

    ตัวอย่าง เมนูที่มีโซเดียมสูง... นานๆกินทีไม่เป็นไร แต่ถ้ากินถี่อาจจะไตวายได้ค่ะ ได้แก่
    1. เฟรนช์ฟรายโรยเกลือ และถั่วอบเกลือทุกชนิด
    2. ส้มตำปูปลาร้า ปัญหาอยู่ที่ปูเค็มและปลาร้าที่ผ่านการหมักเกลือ อีกทั้งยังปรุงรสด้วยน้ำปลาและผงชูรส ซึ่งปริมาณ "ผงชูรส" ในส้มตำถือว่าสูงมากๆ
    3. สารพัดเมนูยำแซ่บ อุดมไปด้วย น้ำปลาและผงชูรสที่ประโคมลงไป ไม่ว่าจะเป็น ยำปูดอง กั้งดอง หอยดอง กุ้งแช่น้ำปลา และอีกหลายเมนูยำ
    4. สารพัดน้ำจิ้ม ไม่ว่าจะเป็นน้ำจิ้มปิ้งย่าง น้ำจิ้มสุกี้ น้ำจิ้มแจ่ว หรือน้ำจิ้มซีฟู้ด ซึ่งมีน้ำปลา เกลือ ผงปรุงรส และผงชูรส ที่ช่วยชูรสให้กลมกล่อมขึ้น
    5. อาหารแปรรูปทุกชนิด เช่น ไส้กรอก แฮม เบคอน ลูกชิ้น เนื้อรมควัน ปูอัด หมูหยอง ของหมักดองและแช่อิ่ม เพราะมีเกลือ และผงชูรสเป็นส่วนผสมหลัก
    6. น้ำซุป คือโซเดียมจากเครื่องปรุงรสต่าง ๆ ส่วนใหญ่ที่ละลายอยู่ ทั้งผงปรุงรส เกลือ ซอสปรุงรส ซีอี๊ว และผงชูรส ถือเป็นเมนูโซเดียมหลากหลายในหม้อเดียว เช่น เมนูเล้งแซ่บ ก๋วยเตี๋ยวน้ำ สุกี้ ถือเป็นอาหารโซเดียมสูง
    7. ของหวานประเภท เบเกอรี่ ขนมปัง เค้ก คุกกี้ โดนัท และพาย แม้จะไม่มีรสเค็ม แต่เนื่องจากใส่ "ผงฟู" ซึ่งถือว่าเป็น "โซเดียมรูปแบบหนึ่งที่ไม่มีรสเค็ม" ดังนั้น การรับประทานขนมอบที่ใส่ผงฟู ก็คือการบริโภคโซเดียมนั่นเอง

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณค่ะน้องทริป แต่ละเมนูน่าทาน แต่ก็ต้องระวัง

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +2

      @@kanyamuay3748 กู้ดมอร์นิ่งค่ะพี่หมวย... ใช่ค่ะพี่ นานๆทานทีไม่เป็นไรค่ะ

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว

      @@FragranzaTrippa อรุณสวัสดิ์ค่ะ หลายอย่างเลยค่ะที่ชอบ

    • @youwinchanel8623
      @youwinchanel8623 ปีที่แล้ว +2

      เมนูที่บอกมา เราทานทุกอย่างเลยค่ะ 😅

    • @user-wn1rn2yf1p
      @user-wn1rn2yf1p 7 หลายเดือนก่อน +1

      น้ำส้มสายชู+พริกดองล่ะคะ

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +50

    หน้าที่ของไตคือ
    1. ขับของเสียออกจากร่างกาย
    2. ควบคุมความดันโลหิต ควบคุมปริมาณน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
    3. ควบคุมความเป็นกรดเป็นด่างในร่างกาย
    4. ควบคุมการสร้างเม็ดเลือดแดงในร่างกาย โดยผลิตฮอร์โมน Erythropoietin
    5. ควบคุมการสร้างวิตามินดี แคลเซียม ฟอสฟอรัส และควบคุมการสร้างกระดูก
    เมื่อไตทำงานผิดปกติ จึงส่งผลเสียให้กับร่างกายเป็นอย่างมาก ถ้าคนเราไม่มีไต หรือไตวาย
    หรือไตหยุดทำงาน ของเสียต่างๆ จะคั่งค้างอยู่ในกระแสเลือดและในร่างกาย ทำให้เลือดและร่างกายผิดปกติ
    ในที่สุดอวัยวะต่างๆ ในร่างกายก็จะเป็นพิษ มีภาวะหยุดทำงานและเสียชีวิตได้
    สำหรับคนทั่วไป วิธีป้องกันโรคไตเรื้อรังคือควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีความเค็มมากเกินไป ห้ามซื้อยาสมุนไพรหรือยาแก้ปวดมาใช้เองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ พร้อมทั้งควรดื่มน้ำเปล่าอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว รวมถึงการเลิกสูบบุหรี่ เพราะนอกจากจะเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอดแล้ว บุหรี่ยังทำให้เกิดโรคไตวายได้อีกเช่นกัน ที่สำคัญคือห้ามกลั้นปัสสาวะ
    9มี.ค.2566

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +5

      ขอบคุณค่ะพี่หมวย ได้ทบทวนความรู้วิชา ชีววิทยาด้วยค่ะ...

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +3

      @@FragranzaTrippa ใช่ค่ะน้องทริป เป็นการทบทวน

    • @yamato00001
      @yamato00001 ปีที่แล้ว +3

      ดื่มน้ำ 1.5ลิตร ครั้งเดียว วันนึง 3ครั้ง กับดื่ม วันระ8-16แก้ว ต่างกันไหมครับ ในการที่จะรักษาไต

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว

      @@yamato00001 คุณดื่มได้ด้วยหรือ ครั้งละ1.5ลิตร

    • @jantraboonanan4467
      @jantraboonanan4467 ปีที่แล้ว +5

      ขอบคุณนะคะคุณหมอที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องไตเรื้อรังดิฉันไตระยะ3Aค่ะ

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +41

    การชะลอความเสื่อมของไต
    สำหรับท่านที่เริ่มมีความเสื่อมของไต หลักการที่สำคัญคือการปฏิบัติตัวที่ทำให้ไตเสื่อมหน้าที่ช้าลง ยืดระยะเวลาที่จะเข้าสู่ไตวายระยะท้ายให้นานที่สุด ซึ่งสามารถทำได้ดังนี้
    🏵️ควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ที่ 130/80 mmHg
    🏵️ถ้าเป็นเบาหวาน คุมระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 120 มก.เดซิลิตรหรือน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HBA1c) น้อยกว่า 7.0
    🏵️ถ้าเป็นโรคเก๊าท์ พยายามอย่าให้โรคกำเริบ รักษาระดับกรดยูริกในเลือดให้ปกติ
    🏵️คุมระดับไขมันในเลือด ระดับแอลดีแอลให้น้อยกว่า 100 มก.เดซิลิตร
    🏵️หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวดกระดูก ยาลูกกลอน และยาสมุนไพรที่ไม่ได้การรับรอง ควรมาพบแพทย์เมื่อป่วย
    🏵️งดสูบบุหรี่และลดการดื่มสุรา
    🏵️ควบคุมน้ำหนักตัวและออกกำลังกายสม่ำเสมอไม่ให้น้ำหนักเกินดัชนีมวลกาย (BMI) น้อยกว่า 25
    🏵️รับประทานโปรตีนหรือเนื้อสัตว์ในสัดส่วนที่พอเหมาะ ตามระยะของโรคที่แพทย์หรือนักโภชนบำบัดแนะนำ
    🏵️หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม
    🏵️หลีกเลี่ยงอาหารไขมันที่มีกรดไขมันอิ่มตัวสูง เช่น ไขมันจากสัตว์ ไขมันจากกะทิ เนย น้ำมันมะพร้าว ผลิตภัณฑ์นมเนยมาการีน และไข่แดง เป็นต้น
    🏵️ น้ำดื่มประเมินตามสภาวะน้ำในร่างกาย เช่น ถ้าบวมหรือมีน้ำท่วมปอด แนะนำให้จำกัดน้ำดื่ม

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa ปีที่แล้ว +8

      เป็นข้อมูลที่ดีมากค่ะ ทำแล้วช่วยชะลอความเสื่อมของไต เพราะไตมีหน้าที่สำคัญหลายอย่าง และมีแค่ 2 ข้างเท่านั้น

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +6

      @@FragranzaTrippa ขอบคุณค่ะ จะแชร์ไปให้เพื่อนบ้าน เริ่มมีAlbuminรั่วออกมาในปัสสาวะค่ะ

    • @user-rf6oi9we1g
      @user-rf6oi9we1g ปีที่แล้ว +2

      @@kanyamuay3748 โปรตีนรั่วในปัสสาวะ เท่าไรรึครับ ลองทานอาหารรสจืดๆสิครับ ดื่มน้ำเยอะๆ2-3ลิตร ทานไข่ขาว3-4ฟอง

    • @user-kb9fx8es5e
      @user-kb9fx8es5e 11 หลายเดือนก่อน +1

      🙏🥰

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 11 หลายเดือนก่อน +1

      @@user-rf6oi9we1g ขอบคุณค่ะ เพื่อนบ้านค่ะ เขาทำตามที่คุณหมอที่ดูแลเขาแนะนำแล้วค่ะ

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 ปีที่แล้ว +8

    ขอแสดงความยินดีค่ะ
    ยอดผู้ติดตาม 4.03 แสนคนค่ะ
    สถานีต่อไป 4.04 แสนคนค่ะ
    ช่วงนี้คุณหมอคงทำงานหนัก
    ขอให้งานราบรื่น ไม่มีอุปสรรคใดๆค่ะ
    ขอให้มีเวลาพักผ่อนมากๆค่ะ
    มีเวลาทานอาหาร ขนมอร่อยๆ
    มีเวลานั่งมองโรซี่มากๆนะคะ
    เป็นกำลังใจให้เสมอค่ะ 🌻🧡🌻

  • @lakkyky5792
    @lakkyky5792 8 หลายเดือนก่อน +2

    Thank you อาจารย์หมอ 🙏

  • @SON-jz2eo
    @SON-jz2eo 3 หลายเดือนก่อน +2

    เพลงหอบฝันข้ามโขงหล้าลำ ละคอน จะช่วยบำบัดโรคไตฟังวันละสอง_สามครั้ง หรือมีอาการปวดไตจะทำให้ไตขับเกลือออกจากไต ส่วนเพลงยอมแพ้ค่าดอง จะช่วยบำบัดโรคหัวใจหรือมีอาการปวดที่หัวใจ

  • @jarayahongthong1455
    @jarayahongthong1455 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณคะ

  • @user-ss5hu2hl4u
    @user-ss5hu2hl4u ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะ...

  • @user-mh2ef4yy9t
    @user-mh2ef4yy9t 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากครับ

  • @user-gi6zz2uz1f
    @user-gi6zz2uz1f 8 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากค่ะ

  • @rungnapakaewmaliwong9114
    @rungnapakaewmaliwong9114 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะ

  • @hathaichanokk.6733
    @hathaichanokk.6733 10 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากนะคะคุณหมอ

  • @wanpenleohirun8153
    @wanpenleohirun8153 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากค่ะ🙏

  • @user-it9ug2fo5i
    @user-it9ug2fo5i ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับ คุณหมอ

  • @user-ut7qw1qv7d
    @user-ut7qw1qv7d ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ

  • @khuanchitsaichan4576
    @khuanchitsaichan4576 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🥰

  • @user-si5gr8cp5s
    @user-si5gr8cp5s 11 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์แทน

  • @user-km2xf4gz9o
    @user-km2xf4gz9o 11 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากนะคะ

  • @Thanikul1976
    @Thanikul1976 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณครับสำหรับคลิปดีๆ

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณ​ค่ะ​อาจารย์​🙏🥰

  • @ppk5476
    @ppk5476 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะ🙏🙏🙏

  • @KunlayaneeToy
    @KunlayaneeToy ปีที่แล้ว +2

    ขอขอบพระคุณ คุณหมอแทนมากค่ะ

  • @abcde534
    @abcde534 ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ คุณหมอ☺️

  • @user-sq2jx5rb8t
    @user-sq2jx5rb8t หลายเดือนก่อน

    คุณหมอคุยละเอียดดีแซงนะ

  • @sirot6596
    @sirot6596 2 หลายเดือนก่อน +2

    ดีมากครับ

  • @chamnanruangrung8436
    @chamnanruangrung8436 ปีที่แล้ว +3

    รายละเอียดดีมากครับคุณหมอ

  • @kamolwank2572
    @kamolwank2572 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอ😇😊😊

  • @deepsleepmusic365
    @deepsleepmusic365 5 หลายเดือนก่อน +2

    ัขอบคุณครับ

  • @rinkorinrinrin
    @rinkorinrinrin ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอ

  • @kesineesumalee47
    @kesineesumalee47 ปีที่แล้ว +2

    🙏🙏🙏ขอบคุณค่ะ❤❤❤

  • @paulk6376
    @paulk6376 11 หลายเดือนก่อน +3

    ขอบคุณ อาจารย์ Dr. Tany มากครับ

  • @user-jm2dp2qv7t
    @user-jm2dp2qv7t 10 หลายเดือนก่อน +1

    ต่อมาหลายน่ากลัว

  • @sopamungkietsakul5087
    @sopamungkietsakul5087 ปีที่แล้ว +6

    เป็นไตระยะ3ค่ะ แต่มีช่วงหนึ่งคุณหมอบอก
    โปตัสเซียมต่ำก็เลยกินวันละ2เม็ดแต่หลังจากทำ ซีที สแกนเส้นเลือดแล้วคุณหมอให้งดโปตัสเซียมเพราะเปลี่ยนยาความดันใหม่

  • @aeylovelove8611
    @aeylovelove8611 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณมีมีความรู้มากมาย

  • @user-ur7pw9gz8n
    @user-ur7pw9gz8n ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีคะคุณหมอ

  • @user-hf6vl5pw7e
    @user-hf6vl5pw7e 8 หลายเดือนก่อน +2

    บวมบ่อยคะ

  • @rungnapakaewmaliwong9114
    @rungnapakaewmaliwong9114 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณค่ะ❤❤❤

  • @user-jh5it3xy2g
    @user-jh5it3xy2g 11 หลายเดือนก่อน +3

    ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ

  • @sasikan9388
    @sasikan9388 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากค่ะ ได้ความรู้เพิ่มขึ้นเยอะเลยค่ะ❤❤

  • @Hoshi1451
    @Hoshi1451 ปีที่แล้ว +9

    🐰ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ สำหรับความรู้เรื่องโรคไต☺️

  • @natty5731
    @natty5731 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณอ.มากๆค่ะ.คุณแม่.Gfr.13ค่ะ.

  • @user-fj1vz3hb7p
    @user-fj1vz3hb7p 10 หลายเดือนก่อน +2

    สวัสดีคะ

  • @somnugnopakun8331
    @somnugnopakun8331 10 หลายเดือนก่อน +1

    Excellent. Thank you .

  • @natty5731
    @natty5731 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณท่านที่สรุปไว้ด้วยค่ะ.

  • @user-nl3do1vr2n
    @user-nl3do1vr2n ปีที่แล้ว +2

    ดูย้อนหลังค่ะ
    ขอบพระคุณอาจารย์หมอมากค่ะ🙏

  • @MuayChannel6
    @MuayChannel6 10 หลายเดือนก่อน +3

    อัดแน่นไปด้วยสาระความรู้ ขอบคุณมากๆ ค่ะคุณหมอ 🙂😊

  • @soontareesoontaree6725
    @soontareesoontaree6725 ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะ ขอบคุณความรู้ เรื่อง ไตหาหัวจาม (ตามหาหัวใจ) ค่ะ 😃😃😃

  • @user-bh5dn7me8o
    @user-bh5dn7me8o ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณคุณหมอมากค่ะ จะดูแลตัวเองตามที่คุณหมอแนะนำให้ดีค่ะ

  • @patcharingmail6428
    @patcharingmail6428 4 หลายเดือนก่อน +2

    คุณหมอให้ความรู้ได้ดีมาก

  • @wonsilapattawee8134
    @wonsilapattawee8134 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ตั้งใจฟัง ฟังได้อย่างเข้าใจเครียรเลย ขอบคุณมากๆค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @angelthiptarot
    @angelthiptarot ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณ​ความรู้​ดีๆ ค่ะ คุณ​ครู​ 🙏🌏🌎🌍✨🌳🍃💰💰😻💙💛

  • @leo-jx2mh
    @leo-jx2mh ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับพี่หมอ🙏♥️♥️♥️♥️♥️ แชร์แล้วนะครับทุกคลิปให้ความรู้ดีมากและเข้าใจง่ายครับ😘

  • @user-om7vr3ci9q
    @user-om7vr3ci9q 9 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ ได้รับความรู้มากกว่าหมอที่รักษาโรคไตเรื้อรังของดิฉันจริงๆเสียอีก

  • @peawchindakul9315
    @peawchindakul9315 ปีที่แล้ว +7

    ขอบคุณอ.จหมอ ที่ให้ความรู้ชัดเจน เข้าใจง่ายนำความรู้มาปฎบัตรแล้วดีขึ้น ขอให้อ.จโชคดี มีความสุข สุขภาพดี

  • @user-cu9jg7xv6k
    @user-cu9jg7xv6k 6 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับความรูดีๆจากคุณหมอค่ะ

  • @AdinatinGmail
    @AdinatinGmail ปีที่แล้ว +2

    การระมัดระวังตัว หรือการป้องกันไม่ให้เป็นโรคไตค่ะ

  • @bonbonney8245
    @bonbonney8245 ปีที่แล้ว +3

    คุณแม่เป็นค่ะ ต้องฟอกไตอาทิตย์ละสามวันค่ะ

  • @kanapornmeerahunnog569
    @kanapornmeerahunnog569 ปีที่แล้ว +7

    ขอบคุณค่ะ ทุกวันนี้คนเป็นโรคไตวายเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น มีทุกวัย และก็หลากหลายสาเหตุ ขอบคุณคุณคุณหมอที่มาให้ความรู้ และชี้แนะ ในเบื้องต้น นะคะ

  • @tuschola
    @tuschola ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณคุณหมอที่ตอบคำถามและให้ความรู้นะคะ 🙏🏽😊

  • @pisalpisal7615
    @pisalpisal7615 9 หลายเดือนก่อน +2

    คลิปนี้ทำให้ได้รับความรู้เรื่องโรคไตอย่างมาก ขอบพระคุณมากครับคุณหมอ

  • @sharkycivil7573
    @sharkycivil7573 3 วันที่ผ่านมา

    ผมอยู่ระยะ3ครับ ค่าgfr อยู่ที่ 57.4 ครับ

  • @weskerumbrella954
    @weskerumbrella954 ปีที่แล้ว +2

    เป็นจริงอย่างที่คุณหมอบอกเลยครับ พ่อผมเป็นอยู่ ติดอร่อยจนต้องล้างไต3วันต่ออาทิตย์เลย เศร้ามากๆ กอนยาทีเป็นกำๆ😢

  • @Popular1614
    @Popular1614 ปีที่แล้ว +7

    🙏
    ขอบพระคุณ​​คุณหมอ​ที่มาให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับโรคไต​ ไตเสื่อม... อย่างละเอียด ในวันนี้นะคะ

  • @catty3451
    @catty3451 7 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะกำลังดูแลไตระยะ3เอพอดีเลยเข้าใจขึ้นมาก🙏🙏🙏

  • @liverpoolfcthailand5038
    @liverpoolfcthailand5038 ปีที่แล้ว +7

    ขอบคุณคุณหมอมากๆคะ สำหรับความรู้ในการใช้ชีวิตในการรักษาสุขภาพ ตอนนี้เรายังไม่เป็นคะ แต่อนาคตไม่แน่ เพราะถ้าอายุมากขึ้นและทานอาหารรสจัด ก็ต้องศึกษาข้อมูลไว้ก่อนคะ ขอบคุณคุณหมอมากๆคะ😊😊😊👍🏻👍🏻👍🏻🙏🏻🙏🏻🙏🏻

  • @user-ey8vf2qf7e
    @user-ey8vf2qf7e ปีที่แล้ว +2

    ทานน้ำอุ่นทุกวันจะดีกับไตใหมค๊ะ

  • @user-mr8fp6lo6g
    @user-mr8fp6lo6g ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีเจ้าคุณหมอใด้ความรู้มากเจ้า👍👍👍👍

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 ปีที่แล้ว +22

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์
    สรุปค่ะ ถ้าตรวจพบ Creatinine สูง eGFR ต่ำ
    ขัเนแรกคุณหมอจะดูประวัติย้อนหลัง แล้วตรวจยืนยันด้วย Sistatin c ถ้าไตเสื่อมเกิน 3 เดือน ให้หาสาเหตุ แล้วแก้ปัจจัยเสี่ยง จากนั้นดูระดับ eGFR ถ้าต่ำกว่า 60 ผลเสียหายจะตามมา ต้องระวังอาหารที่มีฟอสเฟต และโปตัสเซียม
    ยาที่รักษาโรคไตโดยเฉพาะ คือยาที่ไปจับกับฟอสเฟต ลดการดูดซึมฟอสเฟต
    ยากลุ่มวิตามินดี ป้องกันไม่ให้พาราไทรอยด์หลั่งเยอะ จะทำให้กระดูกเสื่อม
    ยากลุ่มโซเดียมไบคาบอเนต ปรับสมดุลกรดด่าง
    รักษาโรคประจำตัว เช่นเบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง เป็นต้น
    สิ่งที่ควรทำคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นลดน้ำหนัก ไม่ดื่มแอลกอฮอล ไม่สูบบุหรี่
    ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
    นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และมีคุณภาพ
    ถ้ามีปัญหาการนอนหล้บ ควรไปตรวจและรักษา
    สำคัญอีกอย่างคือไม่เครียดค่ะ
    ขอบคุณมากค่ะ
    ขอให้คุณหมอและครอบครัว มีสุขภาพแข็งแรงและมีความสุขนะคะ 🌻🧡🌻

    • @boomsong5729
      @boomsong5729 ปีที่แล้ว +3

      พิมพ์ผิดค่ะ ขั้นแรก
      ขออภัยนะคะคุณหมอแทน

  • @ggggggg3035
    @ggggggg3035 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะป้าติดตามฟังคุณหมอมาตลอดทำให้เฝ้าระวังสุขภาพได้ถูกต้องค่ะ

  • @tassaneechuenprasertsuk1370
    @tassaneechuenprasertsuk1370 8 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอแทน ได้ความรู้ความเข้าใจไว้ดูแลตนเองได้ดีมากค่ะ และส่งต่อให้เพื่อนที่มีสามีเพิ่งตรวจเจอเป็นโรคไต จะได้ดูแลเรื่องอาหารและการใช้ชีวิต ซึ่งคุณหมอได้อธิบายได้ครอบคลุมฟังแล้วเข้าใจง่ายดีมากๆค่ะ
    🙏ขอบคุณที่มีคุณหมอแทนค่ะ❤❤

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีคะคุณหมอ ขอบคุณมากๆคะที่วันนี้มาให้ความรู้ดีดีมีประโยชน์มากๆคะ เรื่องถ้าเป็น โรคไตเรือรัง จะมีวิธีดูแลตัวเองอย่าไร 👍 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏😷🇹🇭❤️🌹

  • @user-hf6vl5pw7e
    @user-hf6vl5pw7e 8 หลายเดือนก่อน +2

    ค่าไต53คะคุณหมอบอกระยะ3คะคุณหมอมีโปรตีรรั่วคะตอนนี้ยายนึกว่าตัวเองค่าไตขึ้นแน่คะฉี่สีแดงเข้มมีกลิ่นเหม็นคาวเลือดคะแน่นหน้าอกข้างขวาเกือบตายคะเหนื่อยมากคะเดินก็เหนื่อยคะหอบเดินหน่อยเหนื่อยมากคะขอยพระคุณมากคะ
    กำลังใจคุณหมอนะคะ
    ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤🎉🎉🎉🎉❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤

  • @user-hf6vl5pw7e
    @user-hf6vl5pw7e 8 หลายเดือนก่อน +2

    คะแย่ลงคุณหมอ❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤

  • @kirinasiriphakad906
    @kirinasiriphakad906 ปีที่แล้ว +2

    ค่าไตป้า eGFR เหลือ 64.2 ป้ามีโรคประจำตัวความดัน ไวรัสตับอักเสบบี ฟังคุณหมอแล้วเข้าใจมากต้องปฏิบัติตัวตามที่คุณหมอบอกแล้ว ขอบคุณมากค่ะ ไวรัสป้ากินยาอยู่ค่ะ

  • @user-tq4kc1ti3k
    @user-tq4kc1ti3k 10 หลายเดือนก่อน

    ได้ความรู้เยอะเลย
    ขอโมทนาสาธุกับคุณหมอ
    เป็นอย่างมาก
    แต่ที่สำคัญคือ
    เป็นโรคไตแล้ว
    ไม่มีเงินรักษา
    คงต้องปล่อยไปตามสภาพ

  • @user-yq2bg8ns7k
    @user-yq2bg8ns7k 8 หลายเดือนก่อน +2

    อนุโมทนาสาตุ๊ๆๆจ้าวขอหื้อคุณหมอมีสุขภาพที่แข็งแรงๆเจริญในหน้าการงานยิ่งๆขึ้นไปจ้าว

  • @banphe3476
    @banphe3476 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากมากความรู้ดีดีละเอียดเข้าใจง่ายมีประโยชน์

  • @somsamornhiranyasup8851
    @somsamornhiranyasup8851 ปีที่แล้ว +3

    คลิปนี้ได้ความรู้กระจ่างมากค่ะ เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงกับอาการและแนวทางในการรักษาของคุณหมอได้อย่างชัดเจนมาก มีกำลังใจและเข้าใจมากขึ้น เพราะตอนนี้เป็น Primary Aldosteronism ซึ่งต้องทานยาเพื่อรักษา คุณหมอที่รักษาบอกว่าโรคนี้มักไปกระทบค่าต่างๆในร่างกาย เช่น เกลือแร่บางชนิด วิตามินดี และแคลเซียม ให้ทานยาปรับค่าต่างๆ และเจาะเลือดดูอย่างสม่ำเสมอ
    หลังฟังคลิปนี้จบ ทำให้เข้าใจเหตุและแนวทางในการแก้ไขอย่างชัดเจนค่ะ
    ขอบคุณที่ทำคลิปดีๆออกมาค่ะ

  • @piemlabinphirom55
    @piemlabinphirom55 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ​อาจารย์​หมอช่วงนี้ไม่ได้เข้าค่ะ ป่วยซึมเศร้าทานยาแล้วอาการไม่ดี​ขึ้น​ค่ะสักพักนะคะ..

  • @lamaibuakaew1516
    @lamaibuakaew1516 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุนมากค่ะสาระดีๆมีประโยชน์มากค่ะ

  • @ployyy.2107
    @ployyy.2107 ปีที่แล้ว +6

    ขอขอบคุณ

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 ปีที่แล้ว +1

      🎉🎉👍👍😍😍

  • @Euang-Mali
    @Euang-Mali ปีที่แล้ว +4

    😊🌼🍃 ขอบคุณมากนะคะ 🙏

  • @user-wq6jb3zb1j
    @user-wq6jb3zb1j ปีที่แล้ว +1

    เวลาผมนอนหลับใก้ลจะหลับ รู้สึกแขนกะตุก บ้างครั้งขาก็กะตุก หรือว่าเราทำงานสวนมากไป ใช้แขนมากไป ขาจะเดินมากเช่นกันครับ

  • @prapanthebachelorette6803
    @prapanthebachelorette6803 หลายเดือนก่อน +1

    เรื่องเล่าเภสัชร้านยา/รพ.ชุมชนค่ะ 555 เจอคนไข้ชอบกินปลาเค็มมากๆ บอกป้าแกให้เลิกกินเค็ม ป้าเค้าบอกว่านี่ไงบีบมะนาวแล้ว เปรี้ยวละไม่เค็มละ เย่ 😅
    ใครก็ได้เด้อค่าาา ขอคำแนะนำการอธิบาย sodium content เป็นภาษาชาวบ้านหน่อยค่ะ บอกว่าอย่ากินเค็มมากแล้วเค้าตอบกลับมาเป็นเชิง taste perception มันก็ถูกของเค้าอ่ะ เรากับเพื่อนคืออึ้งไปเลยจ้า (ชาวบ้านๆน่ารักนะ คนเคยลงชุมชนจะมีสตอรี่ประมาณนี้กันทุกคนแหละจึงจะเรียกว่าไปถึง อันนี้มีเพื่อนเล่าต่อมาอีกที เห็นเป็นเรื่องกินเค็มพอดีค่ะ) 😊
    ปล. แบ่งปันเทคนิคส่วนตัวเรื่องการลดโซเดียม ใช้เครื่องเทศอื่นๆที่เป็นพืชให้หลากหลายชนิดมากขึ้นค่ะ กระเทียม พริกไทย ใบมะกรูด ออริกาโน ฯลฯ หรือใช้ไขมันดีปรุงรสก็ช่วยชูรสได้ พอจะหายคิดถึงเกลือบ้าง 555

  • @amornratrat
    @amornratrat 5 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณมากค่ะ คุณแม่ เป็นทั้งไตและปอด ตอนนี้แอดมิดที่รพ. นอนราบได้ แต่พอหนั่งปวดหลังมาก เจอจุดฝ้าที่ปอด ทำ CT scan แต่รอผลอยู่ค่ะ หวังว่าไม่เจอเนื้อร้ายที่ปอด แม่ชอบกินกล้วย ตอนนี้ต้องห้ามกิน เพราะมีโพแทสเซียมสูงส่งผลกับไต แม่เป็นเบาหวาน รักษาที่อีกรพ.นึง ค่ะ จึงได้รับแคลเซียมและวิตามิน D เสริม

  • @narlaw1342
    @narlaw1342 ปีที่แล้ว +3

  • @sorattyahattapasu7765
    @sorattyahattapasu7765 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณเจ้า

  • @user-hf6vl5pw7e
    @user-hf6vl5pw7e 8 หลายเดือนก่อน +1

    ินผรั่งไม่ถึงลูกเกือบตายคะแน่นหน้าอกคะ

  • @user-bv2zf1et8j
    @user-bv2zf1et8j ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ ได้ประโยชน์ มากๆค่ะ พี่สาวเป็น โรคไตระดับ 3 ค่ะ

  • @ployployprapai3809
    @ployployprapai3809 ปีที่แล้ว +2

    ❤❤❤🙏

  • @natratrittisang9987
    @natratrittisang9987 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณคุณหมอมากคะ.คุณแม่ระยะสุดท้ายแล้วค่ะ..

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +1

      เป็นกำลังใจให้นะครับ

  • @user-hf6vl5pw7e
    @user-hf6vl5pw7e 8 หลายเดือนก่อน +2

    นำ้หนักลดคะ

  • @chaloeypornchansin9892
    @chaloeypornchansin9892 ปีที่แล้ว +4

    สวัสดี​ค่ะ​อาจารย์​หมอ​ ขอบคุณ​นะคะ​สำหรับ​ข้อมูล​เกี่ยวกับ​โรคไตมาพูดต่อจากเมื่อวานค่ะ,
    ขอบคุณ​มาก​ๆ​ค่ะ​

    • @wipasinaroj7286
      @wipasinaroj7286 10 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบพระคุณมากค่ะ

  • @kountaninkansirison2626
    @kountaninkansirison2626 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณ​มาก​นะค่ะรักคุณหมอทุกวันค่ะ

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov ปีที่แล้ว +5

    สวัสดีค่ะ คุณหมอแทน
    ความรู้ที่คุณหมอนำมาอธิบายและคำแนะนำต่างๆมีประโยชน์มากค่ะ
    ขอบคุณค่ะคุณหมอ

  • @EedWatcharapornTubrutn
    @EedWatcharapornTubrutn ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ มีประโยชน์มากๆ ค่ะ
    ขอแชร์ให้พ่อกับ แม่ และญาติ ๆ ใน ไลน์ กลุ่ม นะคะ
    พ่อบ้านแม่บ้าน ทำกับข้าวเอง หมักเนื้อที หลายๆ กก ยังอยู่ ในตู้เย็น อยู่เลยค่ะ 😆😁🧂🧂🧂🧂

  • @sulailasamuyama-dn2bl
    @sulailasamuyama-dn2bl ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากค่ะหมอ อยากให้หมออธิบายเรื่องทุพโภชนาการในคนโรคไต อีกค่ะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +4

      มันก็คือการที่คนโรคไตไม่ค่อยอยากอาหาร ร่วมไปกับการที่บางคนพยายามงดโปรตีนมากจนเกินไป ทำให้เกิดปัญหาครับ

  • @user-ol6cw5cd7l
    @user-ol6cw5cd7l 2 หลายเดือนก่อน

    ผมชื่อบำรุงอายุ75ปีสูง160น้ำหนัก46กกเป็นไตเสื่อมระยะที่สามแล้วครับ