5 จุดในร่างกาย ที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวในผู้สูงอายุ | ปรับก่อนป่วย | คนสู้โรค

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 11 ก.ย. 2022
  • ปัญหาการเคลื่อนไหวและการทรงตัวในผู้สูงอายุ มักจะมีความสัมพันธ์กับกล้ามเนื้อส่วนสำคัญ 5 จุด ในร่างกาย คือ หัวไหล่ หลัง กล้ามเนื้องอสะโพก เท้า และข้อเท้า ซึ่งการบริหารเพิ่มการเคลื่อนไหวและความแข็งแรงจะช่วยสร้างความมั่นคงลดปัญหาหกล้มในผู้สูงอายุ ติดตามวิธีการบริหารร่างกาย จาก กภ.สุปรียา อภิจรัสกุล คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล
    ชมย้อนหลังรายการคนสู้โรคได้ที่ www.thaipbs.or.th/KonSuRoak
    #ผู้สูงอายุ #การบริหารเพิ่มการเคลื่อนไหว #การเคลื่อนไหวผู้สูงอายุ
    -------------------------------------------------------
    กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : thaip.bs/YSBht5j
    และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
    Website : www.thaipbs.or.th
    Facebook : www. ThaiPBS
    Twitter : / thaipbs
    Instagram : / thaipbs
    LINE : www.thaipbs.or.th/AddLINE
    TikTok : / thaipbs
    TH-cam : / thaipbs
  • บันเทิง

ความคิดเห็น • 32

  • @naiyanajangjumrus63
    @naiyanajangjumrus63 ปีที่แล้ว +8

    ขอบคุณ​ค่ะ​👍​

  • @darapunhom8425
    @darapunhom8425 ปีที่แล้ว +2

    เยี่ยมมากค่ะ ขอบคุณมากนะคะ

  • @nalinsriwanawit9088
    @nalinsriwanawit9088 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอด มีประโยชน์มากค่ะ

  • @ampornc.7590
    @ampornc.7590 ปีที่แล้ว +1

    เป็นความรู้ที่ดีมากเลย

  • @sompornsomporn4051
    @sompornsomporn4051 ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยมค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @tipsattagovit6898
    @tipsattagovit6898 ปีที่แล้ว +6

    ชอบมากค่ะ 3 ท่าบริหาร นี้ ♥️

  • @user-gp8kt1lo3v
    @user-gp8kt1lo3v ปีที่แล้ว +1

    ดีมากค่ะ

  • @apiradeechantawong4052
    @apiradeechantawong4052 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากคะ น้องอธิบายดีค่ะ

  • @kobdesignhairdresser3164
    @kobdesignhairdresser3164 ปีที่แล้ว +4

    👍👍👍ดีมากค่ะ

  • @user-ei6uf2tu9c
    @user-ei6uf2tu9c ปีที่แล้ว

    ขอบคุณนะคะ

  • @SurapholKruasuwan
    @SurapholKruasuwan ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณ พันครั้ง สาธุ

  • @user-ex1it3tj8j
    @user-ex1it3tj8j ปีที่แล้ว +11

    ยืดง่ายดีเหมาะกับผู้สูงอายุค่ะ

  • @user-qy4wt8uv9e
    @user-qy4wt8uv9e ปีที่แล้ว +1

    ใช่เลยเป็นอย่างที่ว่าเลยตอนนี้ค่ะ

  • @supavonkaenel6870
    @supavonkaenel6870 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะ💁💖💁

  • @ntd.s
    @ntd.s ปีที่แล้ว +9

    ขอบคุนมากคะ

  • @harnsakvallasiri3348
    @harnsakvallasiri3348 ปีที่แล้ว +2

    หลักการ มีเหตุผล แต่มีความซับซ้อนความสมดุล ของความไม่สมดุล ของสองข้างในอวัยวะชนิดเดียวกัน
    เพราะกรรม(พฤติกรรมการใช้และอุบัติเหตุ เช่นการถนัดซ้าย หรือขวา ความพิการ(บุญกรรมสร้างมา)ตั้งแต่กำเนิด และการใช้ชีวิตมี่ผ่านมา
    กฎของธรรมชาติสร้างเช่น ปอดซ้าย(รวมอวัยวะอื่นเช่นหังใจห้องซ้าย และขวา)ไม่เท่ากัน
    อย่างท่ายกมือแขนขึ้นสูงบาลานซ์กับหารรับน้ำหนักของขาตรงข้าม จะขบวนการเดียวกันสองข้างไม่สามารถทรงตัวได้
    เป็นเรื่องยาก ที่ต้องเป็นไปตามกฎ หยังหยิน ในวงกลมอัฏฐะเคราะห์ หรือตารางดาวในจักว่าล

  • @noppornsrimongkon5553
    @noppornsrimongkon5553 ปีที่แล้ว +3

    ทำตามดีมากๆค่ะ

  • @sumitarbuasrichan910
    @sumitarbuasrichan910 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณค่ะ

  • @atlatlmobile1769
    @atlatlmobile1769 ปีที่แล้ว

    ถุกใจคะ

  • @ramthian
    @ramthian ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณค่ะลูก

  • @cd_rom
    @cd_rom ปีที่แล้ว +8

    ดีมากๆเลย ขอบคุณที่ทำคอนเท้นท์ดีๆมาให้คนไทยดู
    วิดีโอต่อไป น่าจะมีการซูมให้ดูวิธีวางเท้าให้ดูละเอียด

  • @ramthian
    @ramthian ปีที่แล้ว +2

    น่ารักมากจะน้อง

  • @samangmankaew6666
    @samangmankaew6666 ปีที่แล้ว +1

    👍👍👍

  • @user-vc3dm3jc7u
    @user-vc3dm3jc7u ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะสำหรับสาระดีที่สุดมากมายที่จะต้องเรียนรู้ค่ะ

  • @sourivongkhemphet5252
    @sourivongkhemphet5252 ปีที่แล้ว +2

    👍👍👍🙏❤🌹🌹🌹

  • @taveeyaparwong1889
    @taveeyaparwong1889 ปีที่แล้ว +1

    ควรจะแนะนำให้ผู้สูงวัยเรี่มทําเรี่มต้นโยคะกันนะคะ

  • @vcool4946
    @vcool4946 ปีที่แล้ว

    พิธีกร " จะล้ม " :)

  • @tithitaaaeaae7353
    @tithitaaaeaae7353 ปีที่แล้ว +1

    O

  • @rattanathongkhiaw3459
    @rattanathongkhiaw3459 ปีที่แล้ว +1

    เท้าที่อ่อนแรงขะเย่งไม่ขึ้น เส้นระหว่างเท้ากับขาเกร็งน้อยมากเท้าตก

  • @maynarak4463
    @maynarak4463 ปีที่แล้ว

    ไม่ นี่ไม่ใช่ท่าที่ผู้สูงอายุทำได้ อายุ 70-80 ทำไม่ได้เลย