การบรรยายหัวข้อ “วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร”

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 19 ก.ย. 2024
  • การบรรยายหัวข้อ “วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร”
    วิทยากร: อ.อมร ทองสุก
    นักเขียนนักแปลผู้เชี่ยวชาญด้านจีนศึกษา
    วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2562
    เวลา 14.30-16.30 น. ณ ห้อง 1111C
    ชั้น 11 อาคาร ซี.พี.ทาวเวอร์ ถ.สีลม กทม.

ความคิดเห็น • 54

  • @อิสรีย์เลิศวีรภัทรกุล

    การบรรยาย​ดีมาก​ค่ะ​ฟังแล้ว​เข้า​ใจง่าย​ค่ะ​ขอ​อนุโมทนา​สาธุ​สาธุ​ค่ะ​

  • @seangjapoonniphat6571
    @seangjapoonniphat6571 9 หลายเดือนก่อน +1

    สาธุอนุโมทามิค่ะ..เป็นการบรรยายที่ดีและให้ความรู้มากค่ะ ขอบพระคุณค่ะ

  • @mickskunkboy2599
    @mickskunkboy2599 2 ปีที่แล้ว +3

    ลึกซึ้ง และเป็นพระคุณอย่างยิ่งครับ

  • @katiekan9
    @katiekan9 4 ปีที่แล้ว +3

    อนุโมทนาบุญคะ

  • @Engattrat
    @Engattrat 3 ปีที่แล้ว +4

    ได้อ่านผลงานที่อาจารย์แปล และเมื่อได้ฟังการบรรยายนี้ก็ได้ความรู้เพิ่มเติมอีกไม่น้อยเลย ขอบพระคุณค่ะ

    • @user-bo1lp6vw6n
      @user-bo1lp6vw6n ปีที่แล้ว

      4🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉🎉

  • @H9wrysome2
    @H9wrysome2 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอกล่าวโดยสมมุติ ธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงระหว่างพระอรหันต์กับพระอรหันต์ช่างมีความลึกซึ้งและละเอียดอ่อนยิ่งนัก เกินวิสัยปุถุชนจะสดับเพียงครั่งเดียวแล้วเข้าใจ(หมด)เลย ช่างยากยิ่ง เพราะพระพุทธเจ้าแสดงธรรมแก่ปุถุชน ล้วนมีความหมายและนัยยะที่ปุถุชนพอสามารถพอเข้าใจได้อย่างทวงทัน แต่ต่างกันริบลับกับธรรมะที่พระอรหันต์กับพระอรหันต์แสดงแก่กัน พอปุถุชนมาได้สดับก็จะงงๆหน่อยๆนะ เพราะเป็นธรรมะระดับอรหันต์ท่านแสดงแก่กัน ( ขอบคุณทางช่อง และผู้บรรยายครับ )

  • @natthachai263
    @natthachai263 4 ปีที่แล้ว +2

    สาธุ​สาธุ​สาธุ.เห็นด้วย​กับ​อาจารย์​ที่​พูด​ถึง​กฏไตรลักษณ์.

  • @บูติค-จ1ฟ
    @บูติค-จ1ฟ 2 ปีที่แล้ว

    ขออนุโมทนา สาธุการครับ

  • @ฟฟฟฟ-ท9ง
    @ฟฟฟฟ-ท9ง 2 ปีที่แล้ว

    หากเป็นไปได้ขอให้อาจารย์บรรยายให้ทุกตอนเพราะอ.บรรยายได้ดีมากๆขอบคุณมาก...

  • @linlin8425
    @linlin8425 3 ปีที่แล้ว

    โมธนาสาธุค่ะ...ขอบพระคุณ​ค่ะ​

  • @user-ll6cf5cv3t
    @user-ll6cf5cv3t 3 ปีที่แล้ว

    สาธุครับอาจารย์

  • @วรลักษณ์เกตุมณี
    @วรลักษณ์เกตุมณี 4 ปีที่แล้ว

    อนุโมทนาสาธุ

  • @langFanvwinA
    @langFanvwinA 4 ปีที่แล้ว +2

    ยอดเยี่ยมครับ

  • @saabpen1139
    @saabpen1139 3 ปีที่แล้ว +2

    [๑๔๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระจุลลปันถกะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้นฤมิต
    กายอันสำเร็จด้วยใจ ฯ
    พระจุลลปันถกะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้ฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางใจ ฯ
    พระมหาปันถกะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้ฉลาดในการเปลี่ยนแปลงทางปัญญา ฯ
    พระสุภูติ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีปรกติอยู่ด้วยความไม่มีกิเลส ฯ

  • @saabpen1139
    @saabpen1139 3 ปีที่แล้ว +4

    ๗. สุภูติสูตร
    [๑๔๓] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้
    สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก
    เศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้นแล ท่านพระสุภูตินั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง เข้าสมาธิ
    อันไม่มีวิตกอยู่ในที่ไม่ไกลพระผู้มีพระภาค พระผู้มีพระภาคได้ทรงเห็นท่านพระสุภูติ นั่งคู้บัลลังก์
    ตั้งกายตรง เข้าสมาธิอันไม่มีวิตกอยู่ในที่ไม่ไกล ฯ
    ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงทราบเนื้อความนี้แล้ว ทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้นว่า
    ผู้ใดกำจัดวิตกทั้งหลายได้แล้ว ถอนขึ้นด้วยดีแล้วไม่มีส่วนเหลือในภาย
    ใน ผู้นั้นล่วงกิเลสเครื่องข้องได้แล้ว มีความสำคัญนิพพานอันเป็น
    อรูป ล่วงโยคะ ๔ ได้แล้ว ย่อมไม่กลับมาสู่ชาติ ฯ
    จบสูตรที่ ๗

  • @adfdgh9021
    @adfdgh9021 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอกราบคารวะท่านผู้บรรยาย
    ที่บรรยายได้ลึกซึ้งมากครับ

  • @RB0080
    @RB0080 3 ปีที่แล้ว +4

    พุทธนิกายเถรวาทแบบไทย กายไปหาจิต แบบมหายาน จิตไปหากาย
    วิธีไปถึงนิพพานอาจจะมีหลายทางแต่ทางที่ตรงและเร็วทีสุดคือ วัชรปรัชญาปารมิตาสูตร เคยอ่านเว่ยหล่างในบนที่กล่าวว่า “ไม่มีต้นโพธิ์ ทั้งไม่มีกระจกเงาใสสะอาด
    เมื่อทุกอย่างว่างเปล่าแล้ว ฝุ่นจะลงจับอะไร” นั้นคือคำอธิบายบางส่วนของเพชรที่จะไปให้ถึงนิพพาน แต่ผมก็ไม่รู้หลอกว่าจะมีมนุษย์ใดในโลกที่บรรลุเพียงแค่เข้าใจประโยคนี้

    • @thitasu8105
      @thitasu8105 3 ปีที่แล้ว

      เข้าใจ แต่รากฐานแห่งจิตยังไม่ถึงพร้อม ก็ไม่สามารถหลุดพ้น
      เข้าใจ≠เข้าถึง
      การจะเข้าถึงได้ จะต้องลึกซึ้งถึงระดับจิตไม่มีข้อสงสัย จึงเข้าสู่ระดับจิตที่ปล่อยวาง หรือสภาวะความว่างได้อย่างแท้จริง

    • @user-ll6cf5cv3t
      @user-ll6cf5cv3t 3 ปีที่แล้ว

      สาธุครับ

    • @บูติค-จ1ฟ
      @บูติค-จ1ฟ 2 ปีที่แล้ว

      สุดยอดมากครับ สาธุ สาธุ

    • @Alayavijnana1743
      @Alayavijnana1743 2 ปีที่แล้ว

      ถูกแล้วครับ ท่าานเว่ยหลาง ได้ศึกษามหาปรัชญาปารมิตาสูตรด้วยครับ และพระสูตรอื่นๆ

  • @chartchaisrikumma4841
    @chartchaisrikumma4841 4 ปีที่แล้ว +1

    น่าสนใจมากครับ

  • @-wavan-chakro-monk.
    @-wavan-chakro-monk. 3 ปีที่แล้ว

    ♥️♥️♥️🙏🙏

  • @user-do2ji7wi6i
    @user-do2ji7wi6i 2 ปีที่แล้ว

    ดีดีดี

  • @loveanimetv9388
    @loveanimetv9388 4 ปีที่แล้ว

    🙏🏻

  • @adfdgh9021
    @adfdgh9021 2 ปีที่แล้ว

    ท่านผู้บรรยายมีความรู้ความเข้าใจอย่างดียิ่งครับ ขอบคุณมากครับ

  • @sittisartsukanya
    @sittisartsukanya 4 ปีที่แล้ว +1

    感謝天恩師德

  • @chanakarnkongviwatsakul7897
    @chanakarnkongviwatsakul7897 4 ปีที่แล้ว

    👍🏻

  • @mobile-phone-qs8my
    @mobile-phone-qs8my 4 ปีที่แล้ว +2

    อนุโมทนาสาธุเข้าใจหลักธรรมเพิ่มขึ้นมากเลยค่ะ🙏🙏🙏

  • @diarycrazydrumm
    @diarycrazydrumm 3 ปีที่แล้ว

    ลักษณะทั้งหลายล้วนเป็นมายา
    หากเห็นเหล่าลักษณะทั้งหลายไม่ใช่ลักษณะ จะเห็นเราตถาคต
    เห็นภูเขาไม่ใช่ภูเขา
    สายนำ้ไม่ใช่สายนำ้
    เห็นภูเขาเป็นภูเขา
    สายนำ้คือสายนำ้

  • @-wavan-chakro-monk.
    @-wavan-chakro-monk. 3 ปีที่แล้ว +1

    ปรมิตตรา เอาไว้ตีกบาล พวก พระอลัชชี !!!

  • @user-do2ji7wi6i
    @user-do2ji7wi6i 3 ปีที่แล้ว

    สูตรนี้ท่านเฮี่ยนจาง(ถังซัมจั๋ง)ได้มาหลังจากไปศึกษาที่นาลันทาหารือเปล่า

  • @ธํารงค์คงไว้
    @ธํารงค์คงไว้ 4 ปีที่แล้ว +2

    ไส่ความคิดเห็นของตนมากเกินไป

    • @marenadee226
      @marenadee226 2 ปีที่แล้ว +1

      รุ้ได้ไงครับว่าใส่ความคิดเหนตนเองมากเกินไป คุณเก่งขนาดนั้นหรอครับ ถามตรงตรง

  • @uncle_m
    @uncle_m 4 ปีที่แล้ว

    ไม่เน้นพระอริยสัจ?

    • @taweng5690
      @taweng5690 3 ปีที่แล้ว +2

      อริยสัตย์สี่เป็นระบบความคิด (เข้าใจว่าเกิดช่วงสังคยนา) ส่วนมหายานมุ่งที่กฎไตรลักษณ์ที่เป็นธรรมชาติของกายและจิต มุ่งตรงพระนิพพาน

    • @ampolflashdrive7299
      @ampolflashdrive7299 3 ปีที่แล้ว

      @@taweng5690 พระนิพพาน คือ อะไร?

    • @taweng5690
      @taweng5690 3 ปีที่แล้ว

      @@ampolflashdrive7299 ตามความเข้าใจของผม เป็นสภาวะหนึ่งของจิตครับ

    • @ampolflashdrive7299
      @ampolflashdrive7299 3 ปีที่แล้ว

      @@taweng5690 นิพพาน โดยภาษา มีใช้ มาก่อน ยุคพุทธกาล ความหมายทางภาษา คือ เสร็จสิ้นอะไรบางอย่าง คนอินเดียมักจะเปรียบเปรยกับ ข้าวที่หุงจนกระทั่งสุก การสุก คือ นิพพาน (แปลว่า เสร็จแล้ว สุกแล้ว)
      เราก็ไม่รู้เหมือนกันว่า มหายาน ตีความ นิพพานแบบไหน !!! (เห็นหลาย ตำราตีความแตกต่างกันไป)
      ในยุคพุทธกาล(พระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์ชีพอยู่) นิพพาน สำหรับเหล่าภิกษุสงฆ์ คือ การพ้นออกจาก การเกิดแก่ตาย ... เมื่อพ้นคือพ้น ไม่วกกลับอีกแล้ว
      (พระพุทธเจ้า ก็ยังมีกล่าวถึง นิพพาน สำหรับเหล่าอื่นอีกที่นอกเหนือแบบภิกษุสงฆ์ อันไม่เที่ยง ไม่คงที่ ทรงตัวอยู่ได้ระยะนึง)
      อันนี้ เท่าที่เรารู้มา

    • @taweng5690
      @taweng5690 3 ปีที่แล้ว

      @@ampolflashdrive7299ขอบคุณสำหรับความรู้เพิ่มเติมครับ

  • @Saranya-w6h
    @Saranya-w6h ปีที่แล้ว

    อธิบายได้ชัดเจนมากเลยค่ะขอบพระคุณอาจารย์มากๆเลยค่ะ

  • @minmontrachimphadit7778
    @minmontrachimphadit7778 3 ปีที่แล้ว

    อธิษฐานจิตให้ชีวิตมีกำไรเจอคนเมตตาอุปถัมป์