Neurotech ตอน 2 จิตคืออะไร สมาธิมาจากไหน ตอบโดยนักวิทยาศาสตร์สมอง | Executive Espresso EP.364

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ค. 2024
  • จิตคืออะไร สมาธิมาจากไหน และความฉลาดกระตุ้นได้จริงหรือ?
    สมองที่มีขนาดเล็กเพียงไม่กี่เซนติเมตรบนศีรษะของเรา คือสิ่งที่ทำให้เกิดความรู้สึกนึกคิด ควบคุมจิต และสร้างสมาธิได้ อย่างไรก็ตาม หลายคนมักบอกว่าเป็นการยากที่จะทำความเข้าใจการทำงานของสมองที่มีความซับซ้อน หรืออาจเรียกว่า ‘สมองมนุษย์ยากแท้หยั่งถึง’
    The Secret Sauce ร่วมกับ Quantum Technology Foundation (Thailand) หรือ QTFT ชวนทุกท่านค้นลึกเบื้องหลังการทำงานของสมองผ่านมุมมองของนักวิทยาศาสตร์ ที่ง่ายต่อการเข้าใจ และใกล้ตัวกว่าที่คิด พร้อมเผยโอกาสทางธุรกิจที่รออยู่ในอนาคต
    00:00 Start
    00:40 เกริ่นนำ
    01:13 Neuroeconomics เศรษฐศาสตร์เชิงสมอง
    05:35 ภาพรวมอุตสาหกรรม Neuroscience ในประเทศไทย
    07:52 สมาธิคืออะไร
    14:12 'จิต' ในนิยามของ Neuroscience
    20:28 อยากเป็นคนฉลาด ต้องทำอย่างไร
    ________________
    ตอนนี้ช่อง THE SECRET SAUCE ของเราได้เปิดให้แฟนๆ เข้ามาจอยเป็น Membership แล้วนะครับ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ ในราคาเพียง 50 บาทต่อเดือนเท่านั้น
    โดยคุณสามารถคลิกที่ปุ่ม Join แล้วเลือกช่องทางชำระเงินตามสะดวกได้เลย หรือกดลิงก์ / @thesecretsauceth
    มาเป็น The Secret Sauce Club ด้วยกันนะครับ :)
    ________________
    ติดตาม The Secret Sauce ในช่องทางอื่นๆ
    Spotify bit.ly/tssspotify
    Apple Podcasts bit.ly/tssapple
    Google Podcasts bit.ly/tssggpod
    PodBean bit.ly/tsspodbean
    Website bit.ly/webtss
    Facebook / thesecretsauceth
    Facebook Group / 643054436428079
    #TheSecretSauce #TheStandardPodcast #Neurotech
  • แนวปฏิบัติและการใช้ชีวิต

ความคิดเห็น • 703

  • @siya2709
    @siya2709 ปีที่แล้ว +58

    สมาธิดีมาก ส่วนตัวนั่งมา 10 กว่าปี จะชอบนั่งก่อนนอน สิ่งที่เห็นเด่นชัดที่ได้
    … เราสอนตัวเองและบอกให้ปรับปรุงส่วนที่ไม่โอเคที่เราพึ่งทำไปให้ดีขึ้น
    … คนรอบข้าง หรือคนใหม่ที่พึ่งรู้จัก จะรุ้สึกชื่นชอบและไว้ใจเรา
    … แววตาคนนั่งสมาธิจะสดใส จริงใจ บุคลิกจะดีขึ้น
    … คนนั่งสมาธิ ผิวจะใสดูผ่อง
    … สุขภาพแข็งแรง คนเป็นมะเร็งระยะสุดท้ายหายจากมะเร็ง 100% จากการนั่งสมาธิ เคยเจอสองสามท่าน
    🌸💕 สุดท้าย YOU ต้องทำเอง และผลไม่ได้วันหรืออาทิตย์หรือเดือน ต้องนั่งให้มีความสุขเหมือนเราทำสปาจากข้างใน แล้วผลจะค่อยๆชัดขึ้น นั่งกันค่ะ ฝรั่งนั่งเสียตังค์เขายังไปนั่ง เราไทยมีนั่งฟรีเยอะเลย 😊

    • @mymusicforyou2566
      @mymusicforyou2566 ปีที่แล้ว +1

      พอสะมาธิลึกในระดับหนึ่งเราจะเห็นตัวเองเห็นอีโก้ของเราบางครั้งก็ยังละะอายตัวเองเลยสมาธิมันกระตุ้นจิตสำนึกได้ดีครับสมาธิในระดับสี่ระดับห้าคลื่นสมองในช่วงคลื่นนี้จะไปกระตุ้นกระบวนการซ่อมแซมภายในของร่างกายครับ ลองหาฟังการนั่งสมาธิของดร.โจ ดิสเพนซา คับ แกรักษากระดูกสันหลังหักด้วยสมาธิ

    • @Bambie-ns1fo
      @Bambie-ns1fo 6 หลายเดือนก่อน

      ควรนั่งน้อยสุดกี่นาทีครับ

  • @manajan11
    @manajan11 ปีที่แล้ว +174

    สมาธิ คือ ภาวะที่ จิต ทำงานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง(เป็นระเบียบ) อยู่เป็นเวลานานๆ คือ มี ๒ มิติ มิติแรก คือทำเพียงเรื่องเดียว มิติที่ ๒ เวลา ต้องนาน เมื่อ จิต เป็น สมาธิ ก็จะมีพลังมากขึ้น เช่นเดียวกับ ไฟฉาย หากมีแต่ ดวงเทียน แต่ไม่มีกระจกรวมแสง แสงสว่างก็จะอ่อน และส่องได้ไม่ไกล แต่เมื่อใส่ กระจกรวมให้แสงเป็นลำเดียว ก็จะสว่างมาก และส่องได้ไกล คนที่ฝึกจิต จนมีสมาธิแน่วแน่แล้ว จะทำงานได้มากขึ้น ทำได้นานขึ้น ทำงานได้ดีขึ้น แต่สิ่งที่ทำ อาจจะไม่ใช่สิ่งที่ถูกต้องก็เป็นไปได้ เช่น มือปืน ติดตามเหยื่ออย่างไม่ลดละ เพื่อหาโอกาสลั่นไกรสังหาญเหยื่อ ในภาวะนี้ จิต ของมือปืน เป็นสมาธิ เพราะ จดจ่ออยู่ที่เหยื่อตลอดเวลา แต่สิ่งที่เขากำลังจะทำ(ลั่นไกรปืน) เป็นสิ่งที่จัดต่อ ศีลธรรม ดังนั้น คนที่มีสมาธิดี อาจเป็นคนเลวก็ได้ สมาธิ จะเกิดผลดีก็ต่ิเมื่อ มี สติ กำกับ สติ คือ การระลึกรู้ รู้ว่าสิ่งที่จะทำนั้น เป็นสิ่งที่ขัดกับ ศีลธรรม หรือไม่ เป็นสิ่งที่ควรทำหรือไม่

    • @believeitornot5296
      @believeitornot5296 ปีที่แล้ว +25

      ขอร่วมช่วยขยายให้ชัดอีกนิดนึง เรื่องสติ…ตัวสติเอง ที่จริงก็มีลักษณะเป็นกลางๆ ไม่บวกไม่ลบ ไม่ต่างอะไรกับสมาธิ / ดังนั้น สมาธิ และสติ เป็นลักษณะที่เกิดจากธรรมชาติ ดังนั้น สมาธิและสติ สองสิ่งนี้ จึงสามารถมีได้ใน ทั้งใน ศาสดา มหาบุรษ หรืออยู่ในมหาโจร ได้เสมอหน้ากัน ( เพียงแต่ในมหาโจรจะเกิดยากกว่า ด้วยเหตุผลของ รูปแบบการใช้ชีวิต ที่ไม่เอื้อต่อสภาวะจิตที่จะมีสติ สมาธิ ( ซึ่งก็คือสิ่งที่เรียกว่า “ศีล” นั่นเอง …) / ส่วนความคิดวินิจฉัยว่าอะไรดีไม่ดี นั้นเป็นเรื่อง ข้อมูล ความรู้ ค่านิยม ปัญญา ซึ่งเป็นอีกเรื่องหนึ่ง ที่คนเราเก็บเป็นข้อมูลไว้ในคลังความจำ…ซึ่งมีชื่อเรียกว่า “ สัมปชัญญะ”

    • @jubjang1588
      @jubjang1588 ปีที่แล้ว +14

      ต้องศึกษาเรื่อง สัมมาสมาธิ กับ มิจฉาสมาธิ พระพุทธเจ้าท่านสอนไว้แล้ว

    • @nightking1607
      @nightking1607 ปีที่แล้ว +9

      ขอบคุณครับคอมเม้นคุณภาพครับ

    • @uncledenh4029
      @uncledenh4029 ปีที่แล้ว +1

      อธิบายได้เข้าใจง่าย และดี แต่คนมาเสริม ติดกับดักพุทธ ทำให้มันมีกลิ่นไอของศาสนา ทำให้เสียอรรถรสไป

    • @nightking1607
      @nightking1607 ปีที่แล้ว

      @@uncledenh4029 ถ้าเชื่อตามนี้ในทางขันธ5 เหมือนเราสร้างสัญญารึป่าวครับ รบกวนขอคำชี้แนะครับ

  • @daa6857
    @daa6857 ปีที่แล้ว +3

    1.สมอง เทียบได้กับฮาร์ดแวร์ การจะเข้าไปรู้เห็นเรื่องใจต้องดับการทำงานของสมองหรือความรู้สึกทางกาย(เข้าสมาธิ)
    2.จิต เทียบได้กับซอร์ฟแวร์ ระบบปฏิบัติการและ ประมวลผล หรือ ตัวแสดงกริยาของใจ เมื่อถอดซอร์ฟแวร์ออก ก็จะเห็นใจล้วนๆ
    3.ใจ เทียบได้กับตัวเก็บข้อมูล(กุศล หรืออกุศล) เมื่อทำลายซอร์แวร์ก็สิ้นสุดการทำงาน
    ดังนั้นจิตกับใจจึงทำงานร่วมกันแทบแยกกันไม่ออก แต่มีที่ให้สังเกตตามที่กล่าวมา

  • @chaosjblegion873
    @chaosjblegion873 ปีที่แล้ว +39

    จิต คือ สิ่งที่เรียกว่า มโน วิญญาณ เอาไว้รับรู้ เหมือนกับเซ็นเซอร์เอาไว้รับตรวจสอบสิ่งต่างๆ
    สมาธิ คือการรวบรวมอารมณ์ให้เป็นอารมณ์เดียว ซึ่งสมาธิมีหลายระดับ
    การฝึกสมาธิคือการเข้าใจและทำในกรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง มีทั้งทำให้เกิดสิ่งเหนือธรรมชาติ และความสงบจิตสงบกาย การจะพัฒนาจิตให้ถึงที่สุดนั้นต้องมีศีล สมาธิ ปัญญา

    • @kid9x9
      @kid9x9 ปีที่แล้ว

      ไม่ค่อยเข้าใจ...แต่เข้าใจอันเดียวตรงที่...ศีล สมาธิ ปัญญา
      เป็นประสพการณ์ตรงที่เคยเกิดขึ้นโดยบังเอิญ ก็เลยเข้าใจ

    • @rastafah2263
      @rastafah2263 ปีที่แล้ว

      @@kid9x9 ต้องศึกษา พุทธวจน. ในยูทูปมีอยู่

    • @chaosjblegion873
      @chaosjblegion873 ปีที่แล้ว

      @@kid9x9 ลองเพียรศึกษาและปฏิบัติก็จะเห็นได้ด้วยตัวเองครับ

    • @Haha-yd2bo
      @Haha-yd2bo ปีที่แล้ว +1

      @@rastafah2263 ใช่ครับ.ในกูเก้ล.อ่านเข้าใจง่ายครับ.ผมก็ลืมนึกไป.ว่าในกูเกิ้ลก็มี.ไครใม่มีหนังสือ.พิมกูเกิ้ลเลยสะดวกสะบายมาก

    • @ddchen799
      @ddchen799 2 หลายเดือนก่อน

      จิตไม่ใช่มโนวิญญาณ มโนวิญญาณคือวิญญาณขันธ์ จิตก็คือจิต

  • @piffpuff808
    @piffpuff808 ปีที่แล้ว +3

    ชอบการสนทนาของทั้งสามท่านมากค่ะ คุยสนุก และได้ความรู้ดีมาก มาคุยกันบ่อยๆนะคะ ขอบคุณค่ะ

  • @bookworm2926
    @bookworm2926 ปีที่แล้ว +18

    ขอบคุณดร.หนุ่มทั้งสองคน you are so smart, practical, resilient, humble, ready to adopt and adapt, open wide the opportunityt to learn, and learning how to learn. Thanks.

  • @happygirl6906
    @happygirl6906 ปีที่แล้ว +1

    สนุกมากค่ะ อยากให้คุยแบบนี้ เรื่องประมาณนี้อีกค่า 🙏

  • @ansree9133
    @ansree9133 ปีที่แล้ว +11

    เมื่อไม่มีเรา ก็ไม่มีจิต ... เมื่อไม่มีจิต ก็ไม่มีทุกข์ ... เราทุกข์ก็เพราะความคิด ... ที่จิตปรุงแต่งขึ้นมา

  • @parimaverapornvanichkul7714
    @parimaverapornvanichkul7714 ปีที่แล้ว +1

    สนุกและน่าติดตามมากค่ะ อยากให้มีคุยเรื่องประมาณนี้อีกนะคะ

  • @user-oh9nu8ze1b
    @user-oh9nu8ze1b ปีที่แล้ว +7

    จิตคืออะไร จิตคือธาตุตามธรรมชาติ มีเกิด มีดับ ตลอดวัน ตลอดคืน สมาธิมาจากไหน สมาธิก็มาจากจิต ถ้าจิตนิ่ง สมาธิก็นิ่ง ถ้าจิตไม่นิ่ง ส่ายไป ส่ายมา สมาธิก็ไม่นิ่ง

  • @petchnatt2314
    @petchnatt2314 ปีที่แล้ว +1

    เป็นตอนที่มีคุณภาพมากๆค่ะคุณเคน

  • @TardigradeSperm
    @TardigradeSperm ปีที่แล้ว +4

    ชอบการพูดคุยที่มีหลักปรัชญาเข้ามาเกี่ยวข้องมากๆ เลยครับ ขอบคุณนะครับสำหรับ content ดีดี อีก ep :)

  • @preechakeatpattranon5906
    @preechakeatpattranon5906 ปีที่แล้ว

    สนุกสุด เชิญอาจารย์มาคุยกันอีกนะครับ คุณเคน

  • @kris1751
    @kris1751 ปีที่แล้ว +4

    จิตเมื่อเทียบกับวิทยาศาสตร์ก็คือ กระแสไฟฟ้าในสมอง
    จิตเป็นสมาธิ ก็คือ กระแสไฟฟ้าในสมองสงบราบเรียบ ไม่ยุ่งเหยิงนั่นเอง

  • @user-kp1sl3vl3h
    @user-kp1sl3vl3h ปีที่แล้ว +6

    กระตุ้นเองก็ได้แต่ยากหน่อย
    ต้องรู้ก่อนว่าสภาวะของสมาธิมีลักษณะเป็นยังไง ลองอดนอนอดหลับให้ถึงที่สุด แต่ประคองตัวไม่ให้หลับโดยไม่ฝืนไม่เกร็งให้ร่างกายทุกส่วนผ่อนคลายที่สุด ช่วงที่เกือบจะหลับจะพบความสงบบางอย่างอยู่ทำบ่อยๆจนคุ้นชินกับสภาวะดังกล่าวซึ่งต้องใช้เวลา
    ในขณะเดียวกันอารมณ์จะมีผลในการแทรกแซงสภาวะที่เรียกว่าสมาธิอย่างรุนแรงในบางรายที่มีอารมณ์รุนแรงสมาธิที่ลึกมากๆอาจกลายเป็นผลเสียแทนที่จะเป็นผลดี จึงมีความจำเป็นที่จะเรียนรู้การระงับอารมณ์ไปพร้อมๆกัน
    😁😁😁
    มีทดสอบระดับสมาธิด้วย มีตัวช่วยที่ง่ายขึ้นแต่พื้นฐานก็สำคัญด้วย
    คนทั่วไปอาจจะไม่ค่อยเข้าใจควนตัมอย่าไปซีเรียส
    😁😁😁
    ปิดท้ายแจ่มทั้งสองท่าน
    👍👍👍

  • @AtomyRayongRichFamily
    @AtomyRayongRichFamily ปีที่แล้ว

    เยี่ยมค่ะ สมาธิวิทยาศาสตร์มีผลวิจัย ภาษาเข้าใจง่ายกว่าศัพท์สันสกฤต🙏💝

  • @prachanwithayaban1178
    @prachanwithayaban1178 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณท่านผู้รู้ทั้งสอง ขอบคุณพิธีกรที่ป้อนคำถามและไม่รบกวนท่านที่ตอบคำถาม ขอบคุณมากครับ

  • @tomtangmoful
    @tomtangmoful ปีที่แล้ว +1

    ทุกโรงเรียนรัฐสอนตั้งแต่เด็ก สวดมนต์ ก็มีสมาธิ แล้ว เล่นกีฬา เกมส์ อ่านหนังสือ ทุกอย่าง พุทธ สอนมาหมด ขอให้จดจ่อ กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งนานๆ โดยตัดทุกเรื่อง ออก จะเกิด อีคิว ไอคิว และสมาธิก็จะเกิดครับ ส่วนจิต มีคำอธิบายในพุทธมากมาย พระพุทธเจ้า ก็สอนเรื่องนี้ไว้มากครับ

  • @KStan-vw8jh
    @KStan-vw8jh ปีที่แล้ว +2

    ดีมาก ๆ เลยครับคลิปนี้ ปกติเป็นคนที่ฟัง The Secret Sauce เสมอ แต่ช่วงนี้ด้วยอะไรหลาย ๆ ทำให้รู้สึกว่าสมองต้องรับเนื้อหาความรู้ สถานการณ์รอบโลกที่ตึง้ครียดหนัก ๆ อยู่ตลอดเวลา ทั้งเรื่องงาน และ podcast ที่เต็มไปด้วยเนื้อหาที่ต้องใช้สมาธิในการคิดตามและทำความเข้าใจ แต่คลิปนี้เหมือนได้สลับได้พักฟังความรู้ที่ไม่หนัก ฟังสบาย ๆ ผ่อนคลายบ้างครับ

  • @somchat8262
    @somchat8262 ปีที่แล้ว

    คำแปลดีมากครับ
    แต่แสดงซ้ำและให้นานๆหน่อยจะดีมากครับ

  • @supojvolvo7257
    @supojvolvo7257 4 หลายเดือนก่อน +1

    เรี่องของจิต+สมาธิ+ธรรมชาติ+พล้งงานจิต+พล้งจ้กรวาล ไม่สามารถเข้าถึงได้ โดยการอ่าน+โดยใช้แค่ความเข้าใจ+งานวิจ้ยต่างๆได้ พล้งงานต่างๆ ในจ้กรวาลนี้ หรีอ พล้งงานจิต+การน้่งสมาธิ+จิตวิญาณ ต้องใช้การ น้่งสมาธิ โดยการปฏิบ้ติเอง เท่าน้่น ที่จะเข้าถึง ที่จะรุ้ได้ ว่าเกิดอะไรขี้น มนุษย้ อาจต้องใช้ เวลาอีก+500/1000ปี ถีงจะเข้าใจ เข้าถึงไดั แต่ทุกว้นนี้ มนุษย้ ใช้วิทยาศาสตร์+ใช้เทคโนโลยี่ เข้ามาช่วย ทำให้ มนุษย์เอาประโยชน้ จาก พล้งงานมิติต่างๆ ที่สุงขี้น มาใช้ประโยชน้ได้ เช่น (ทฤษฏี+ควอนต้้ม+ที่เป้นพล้งงาน+ในมืติที่+4/5 โดยทฤษฏี ควอนต้้ม +พล้งงานอยุ่ต่างที+ในเวลาเดียงก้นได้+สี่อสารก้นเองได้+โดยไม่เกี่ยวกับระยะทาง+1ว้ตถุอยุ่เวลาเดียวก้น+2ที่ได้+ว้ตถุท้่ง2ที่+ทำงานแบบเดียวก้นได้+ทำงานต่างก้นได้+สี่อสารก้นเองได้+ยิ่งกว่าสิ่งมหัศจรรย้ ที่มนุษย้ ไม่เคยคิดว่ามีอยุ่จริงๆ.

  • @TheChampkun
    @TheChampkun ปีที่แล้ว

    ชอบตอนนี้มากเลยครับ ได้ฟังเรื่องจิต เรื่องสมาธิ ในมุมวิทยาศาสตร์จ๋าๆๆ แบบสนุกๆๆๆ

  • @Trendy_Thailand
    @Trendy_Thailand ปีที่แล้ว +1

    อาจารย์คุยสนุกมาก อยากเรียนด้วยจัง🙏🥰

  • @taodoi
    @taodoi ปีที่แล้ว +1

    อธิบายได้งงในงงมาก
    การอธิบายเรื่องจิตได้ลึกซึ้ง
    ทางวิทยาศาสตร์คงด้อยกว่า
    แนวทางศึกษาเรื่องจิตจากพุทธศาสนา ...
    อะไรที่อธิบายได้ยากทางวิทยาศาสตร์ มักจะถูกโยนเข้า
    กองทฤษฎีควอนตัม
    หลักการควอนตัมคือ
    การเข้าถึงสิ่งที่ละเอียดในละเอียด
    ที่ประสิทธิภาพมากกว่าใดใดในโลก
    สมองคือความทรงจำและขีด
    ความสามารถเรียนรู้จากปัจจุบัน
    ชาติตั้งแต่เกิด ส่วนจิตคือสภาพไร้ตัวตนแต่มีอยู่จริงที่สะสมข้อมูลครั้งแต่อะไรก็ตามที่เกิดเป็นสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะอยู่ในไฟลั่มไหนก็ตามขอให้มีอวัยวะหายใจและนับด้วยวิทยาศาสตร์ว่าคือสิ่งมีชีวิต
    สมอง คอมพิวเตอร์ ดิจิตอล
    เก็บข้อมูลปัจจุบัน
    จิต ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ควอนตัม
    เก็บข้อมูลตั้งแต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เปะ
    ปังไม่ผิดเพี้ยนแม้อนุภาคนิวทรีโน
    ถ้าอธิบายเรื่องจิต
    อธิบายเรื่องจิตใต้สำนึก
    จิตเหนือสำนึกง่ายกว่าร้อยเท่า
    ว่าแต่ เข้าใจ จิตใต้สำนึก
    จิตเหนือสำนึก ลึกซึ้งแค่ไหน?
    ค่อยคลานไปเข้าใจ จิต คำเดียว
    ที่ครอบคลุมทั้งจักรวาล... อธิบายได้มหัศจรรย์พันลึก...

  • @user-td9lj1dc5v
    @user-td9lj1dc5v ปีที่แล้ว

    ชอบตรงซับด้านข้างนี้ละ คนที่ไม่รู้เขาจะได้เข้าใจ เนื้อหาควบคู่ทั้ง2 ด้าน ดีเยี้ยมเลยครับ

  • @user-uz5yz5zr1d
    @user-uz5yz5zr1d ปีที่แล้ว +18

    จิต ในมุมที่เราเข้าใจคือ พลังงานอะไรสักอย่างที่มันอยู่ในตัวของเรานี้แหละ ที่เมื่อเรามีความรู้สึกอะไรเกิดขึ้น จิตจะเข้าไปทำให้มันชัดเจนมีน้ำหนัก เช่น ง่ายๆเลย ความโกรธ ถ้ารู้ตัวว่าโกรธ จิตจะดีดตัวเอาจากความโกรธแทบจะทันที ทำให้รารู้สึกได้ว่าความโกรธมันจางลง คือความโกรธอยู่ส่วนหนึ่ง จิตที่ดีดตัวออกมาก็อยู่อีกส่วนหนึ่ง อันนี้สติกับสมาธิเขาทำงาน ต้องเจอกับตัวถึงจะเข้าใจ ความโกรธกับจิตมันแยกออกจากกัน เรียกกันว่าจิตมันแยกออกจากความรู้สึก(ฝึกได้) มันเป็นทักษะประโยชน์ที่ได้จากการฝึกมีเยอะมาก และธรรมชาติของจิต มันจะไหลไปตามความเคยชินที่เราสะสมไว้ สะสมดีได้ดี สะสมชั่วก็ได้ชั่ว จึงต้องมีระบบศีล สมาธิ และปัญญา ในการจัดระเบียบให้จิตไม่ไหลไปชั่วมาทำให้เราเป็นทุกข์ ฝึกจิตต่อๆไปจนถึงขั้นหลุดพ้นอย่างสิ้นเชิง ซึ่งก็จะมีเราคนเดียวนั้นแหละที่รู้ว่าหลุดพ้นได้จริงๆหรือเปล่าคนอื่นๆเขาไม่รู้กับเราเลย รู้ ตื่น เบิกบาน ด้วยจิต เห็นจิตคือเห็นธรรม😊😁🤫

    • @nine_non99
      @nine_non99 ปีที่แล้ว +2

      สาธุ

    • @pornanant9558
      @pornanant9558 ปีที่แล้ว +2

      ขออภิบายอย่างคร่าวๆดังนี้ ธรรมนั้นแบ่งเป็นสอง คือ สมมุติและปรมัติ ปรมัติธรรมคือสิ่งที่มีสภาวะและลักษณะให้รู้ได้ ซึ่งปรมัติธรรมนั้นมีอยู่4 คือ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน เว้นนิพพานเสียแล้ว จิต เจตสิก รูป รวมกันเข้ามาก็เป็นขันธ์5 คือ รูป เวทนา(เจตสิก) สัญญา(เจตสิก) สังขาร(เจตสิกที่เหลือ50ดวง) วิญญาณ(จิต89ดวงถ้านับโดยพิสดารมี121ดวง) จิตมีสามัญลักษณะคือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา จิตมีลักษณะพิเศษคือ โน้มไปรู้อารมณ์ เกิดดับสืบต่อกันอย่างไม่ขาดสาย จิตเป็นประธาน(คือเป็นหัวหน้าของเจตสิกเช่นความโกรธเป็นต้น) ส่วนเจตสิกนั้นจะเกิดขึ้นโดยลำพังด้วยตัวเองไม่ได้ ต้องเกิดพร้อมกับจิตและดับไปพร้อมกับจิต ด้วยลักษณะเช่นนี้แล้ว จิตกับความโกรธ(เจตสิก)จึงแยกจากกันไม่ได้ เพราะเกิดดับพร้อมกันอยู่แล้ว ทว่าจิตนั้นเกิดดับเร็วมาก ชั่วลัดนิ้วมือเดียว(วินาทีเดียว)จิตเกิดดับแสนโกฏิขณะ จิตจึงเห็นจิตได้ ที่ว่า จิตมีราคะก็รู้ จิตมีโทสะก็รู้ ฯลฯ สรุปที่คุณเข้าใจนั้นผิดครับ เพราะสติปัญญายังไม่ถึงขั้น อธิบายอีกได้ดังนี้ จิตดวงที่1 เห็น ดวงที่2รับเอาอารมณ์ความโกรธเกิดขึ้น ดวงที่3สติเกิดขึ้นความโกรธก็ดับไป จิตดวงที่4ก็ยังจำความโกรธนั้นได้(สัญญาในขันธ์5 , เวทนาและสัญญานั้นแม้ว่าเป็นเจตสิก แต่เพราะเกิดดับพร้อมกับจิตทุกดวง พระพุทธองค์จึงทรงแยกมาไว้ต่างหาก เป็น2ขันธ์ ในขันธ์5) ก็เลยคิดว่า จิตแยกกันกับอารมณ์โกรธ (ที่จริงความโกรธดับไปแล้วพร้อมกับจิตดวงก่อน) หวังว่าพอจะเข้าใจได้

    • @user-uz5yz5zr1d
      @user-uz5yz5zr1d ปีที่แล้ว +1

      @@pornanant9558 บางคนเรียนธรรมะนิดเดียวก็พาตัวเองพ้นได้ แต่บางคนต้องเรียนหลายๆข้อหลายๆเรื่อง อธิบายเยอะๆหน่อยถึงจะเข้าใจ พระพุทธเจ้าจึงต้องมีคำสอนมากมายขนาดนั้นไงไว้เพื่อคนแบบนี้ ขอบคุณที่มาขยายความครับ😊😁🤫

    • @pornanant9558
      @pornanant9558 ปีที่แล้ว

      @@user-uz5yz5zr1d ใช่แล้วครับ คนมีปัญญาฟังแค่กถาเดียวก็บรรลุ คนโง่เท่านั้นจึงต้องศึกษามาก ยิ่งโง่มากเท่าไหร่ยิ่งต้องเรียนมากขึ้นเท่านั้น เรียนถึงขั้นเข้าใจจดจำได้หมดมีลูกศิษย์ลูกหามากมายก็ใช่จะว่าได้บรรลุธรรมแล้ว ดัง”พระโปฐิละ”เป็นต้น
      อันที่จริงแล้ว หลักใหญ่ใจความที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนก็มีเพียง ทางสายกลาง อริยสัจ4 และพระไตรลักษณ์เท่านั้นเอง ต้องขยายความและอธิบายมากมายก็เพราะผู้ฟังมีอินทรีย์ไม่เสมอกัน ก็เลยมีถึง84,000พระธรรมขันธ์ ถ้าผู้รู้แล้วก็เหมือนกันหมด
      พระพุทธศาสนานั้นเปรียบได้ดั่งมหาสมุทร จากฝั่งค่อยๆลาดลึกลงไป จากเรื่องสมมุติถึงเรื่องปรมัติ จากเรื่องความเข้าใจว่า ”เราทำกรรมอันใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เราจะได้รับผลของกรรมนั้นๆสืบไป” ถึงความเข้าใจในชั้นปรมัติว่า”ผู้ทำกรรมไม่มี ผู้เสวยผลของกรรมก็ไม่มี มีแต่ธรรมล้วนๆที่เป็นไป” “ไม่มีใครเกิด ไม่มีใครตาย ขันธ์ ธาตุ อายตนะ เกิดขึ้น แล้วก็ดับไป” จึงหาผู้บรรลุธรรมยาก เพราะยิ่งปฏิบัติจนได้ฌาน มี”บุพเพนิวาสานุตสติญาณ”เห็นอดีตชาติเรียงมานับชาติไม่ได้ ยิ่งยึดเอาจิตว่าเป็นตัวตนของเรา จึงมีครูบาอาจารย์หลวงปู่หลวงตาทั้งหลาย สอนผิดว่า จิตไม่เคยตาย นี่แหละเป็นความหลงของจิตที่ยึดจิตว่าเป็นเราและเป็นของๆเรา จำต้องสั่งสมปัญญาบารมีมานับชาติไม่ถ้วนจึงจะเห็นได้

    • @sulukpo3983
      @sulukpo3983 ปีที่แล้ว

      @@pornanant9558 จิตนั้นแหล่ะคือตัวเราครับ คิดดีๆ ที่เวียนว่าย
      ตายเกิดไม่จบไม่สิ้นเพราะจิตเรามีกิเลส พระพุทธเจ้าพระอรหัน ท่านกำจัดกิเลสออกจากจิตได้หมดจดจิตจึงบริสุทธิ์ไม่มีความโลภโกรธหลงในจิตอีก ภพชาติจึงหมดไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกให้เป็นทุกข์

  • @user-zf6tg2vn5z
    @user-zf6tg2vn5z ปีที่แล้ว +12

    ดีเยี่ยมเลย รอบๆตัวมีแต่เรื่องทำให้เครียด
    เปลี่ยนจากธุระกิจ มาเป็นการฝึกจิต ฝึกการปล่อยวาง แล้วคุณจะเห็นความสุขที่อยู่รอบตัว
    การฝึกจิต ฝึกนั่งสมาธิ ฝึกจักระ 1-7 สายธรรม
    ฝึกได้ความสุขทางใจอยู่ตรงหน้า

  • @happygirl6906
    @happygirl6906 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากค่ะ ฟังแล้วกระตุ้นความอยากรู้เรื่องนี้ต่อ 😀

    • @sompolsontibutra2345
      @sompolsontibutra2345 ปีที่แล้ว +4

      อยากได้คำตอบลองศึกษาจากคำสอนของพระพุทธเจ้า โดยผู้ถ่ายทอดที่เป็นอริยสงฆ์ เช่นท่านพุทธทาสภิกขุ หลวงพ่อชา อาจารย์ชยสาโร เป็นต้น แต่จะสำเร็จหรือไม่ขึ้นอยูกับสติปัญญาของแต่ละท่านครับ

  • @user-qc1bh9tt1g
    @user-qc1bh9tt1g ปีที่แล้ว

    น่าศึกษามากค่ะ.....เคยสงสัยหลายเรื่อง ส่วนตัวคิดว่า มนุษย์แต่ละคน เป็นปัจเจกบุคคล สร้างโลกส่วนตัว (ความคิด) ของตัวเอง คนที่มีความคิดคล้ายๆกัน ก็ดึงดูดเข้าหากัน เกิดเป็นสังคม

  • @cha4823
    @cha4823 ปีที่แล้ว

    This could be one of my favorite Ep.

  • @veryrichman
    @veryrichman ปีที่แล้ว +28

    จิต และ สมาธิ เป็นเหมือนอาการ
    สมาธิต้องถามว่าทำอย่างไร นั่นคือ
    ความสามารถในการมีความรับรู้ ที่สามารถ
    วางสิ่งต่างๆนอกเหนือจากสิ่งที่เราสนใจได้
    ถ้าถามว่าทำอย่างไรกับสมอง ก็คือต้องปิดประสาทรับรู้ 5อย่างที่เหลือ ให้เหลือประสาทรับรู้ที่เราต้องการใช้เพียงอย่างเดียว
    หรือถ้าพูดอีกอย่างคือเลือกเปิดเฉพาะสิ่งที่สนใจได้ โดยให้ระบบที่ทำงานอัตโนมัติเกี่ยวกับประสาทสัมผัสทั้ง 6 ทำงานน้อยลง
    พลังงานของสมองจะสามารถโฟกัสไปในส่วนที่ให้ความสนใจนั้นได้อย่างเต็มที่ นี่คือ สมาธิ
    และถ้าให้ดี ต้องคู่กับสติ ในการรู้สึกตัว รับรู้อารมณ์ความรู้สึกต่างๆได้อย่างชัดเจน
    จะทำให้เกิดประสิทธิภาพอย่างสูง
    จิตก็เป็นเหมือนอาการ อาการรู้จากประสาทสัมผัสทั้งหก
    สำหรับมนุษย์และสัตว์เดรัจฉานนั้น ก็มาจากสมอง แต่ก็มีในสิ่งที่ไม่ใช่ก้อนเนื้อแบบสมองสัตว์ก็ได้ เพราะสมองก็ทำงานด้วยระบบไฟฟ้า
    ในทางพุทธศาสนา มีสิ่งที่มีจิต แต่ไม่ใช่ก้อนสมองแบบมนุษย์ เช่นพวกที่อยู่ในภพภูมิที่เป็นทิพย์ ไม่มีกาย ไม่มีสมองเป็นก้อนแบบมนุษย์
    แต่ก็มีจิต ถ้าตามความเข้าใจก็น่าจะเป็นรูปแบบการทำงานที่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่มีคำนิยาม แต่ทำงานคล้ายๆกับสมองมนุษย์ได้
    สิ่งที่เป็นความทรงจำเรียกว่า สัญญา ทำงานร่วมกับส่วนประมวลผล เรียกว่า สังขาร
    ทำงานร่วมกับการรับรู้ เรียกว่า วิญญาณ ซึ่งก็คือ "จิต" นั่นเอง เมื่อรวมกับรูป ที่เป็นร่างกายของเรา รวมกันเรียกว่า ขันธ์ 5
    ดังนั้น หากเรายังไม่ตาย ยังเป็นมนุษย์ จิตจะเกิดจากส่วนต่างๆ ของสมอง เปลี่ยนแปลงไปตามการรับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 6
    จิตไม่ได้มาจากสมองส่วนใดส่วนหนึ่ง
    ดังนั้นถ้าตัดแค่สมองส่วนใดส่วนหนึ่งออก
    ก็ยังมีจิตขนิดอื่นอยู่ นอกจากสมองตายทั้งหมด ความเป็น จิต ของร่างกายนั้นก็ไม่มี
    แต่จะไปเกิดความหมายของ จิต ในร่างที่เหมาะสมแก่ "จิตสุดท้าย" ต่อไปอย่างนี้ไม่รู้จบ
    จนกว่าจะพบ "วิชชา" คือความจริงสุดท้าย
    จึงจะจบสิ้น กระบวนยึดเอาการเกิดดับเหล่านี้ได้อย่างสมบูรณ์

    • @suppakitburana8954
      @suppakitburana8954 ปีที่แล้ว

      พิมพ์อะไรยาวจัง

    • @veryrichman
      @veryrichman ปีที่แล้ว +4

      @@suppakitburana8954 ทบทวนความคิดตัวเองครับ 😃😃

    • @warapornsodjit2958
      @warapornsodjit2958 ปีที่แล้ว +1

      @@veryrichman ดีค่า

    • @somyong2996
      @somyong2996 ปีที่แล้ว +3

      @@suppakitburana8954 ตามหลักพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าแยกมนุษย์ออกเป็น4 จำพวก จากที่ฉลาดไปจนถึงโง่สุดไม่สามารถสอนอะไรได้เลย

    • @veryrichman
      @veryrichman ปีที่แล้ว

      @@pornanant9558 พระสูตรอันไหนเหรอครับ ที่ว่าความรัก ชอบไม่ได้เกิดจากสมอง

  • @user-dw5ic6hy5u
    @user-dw5ic6hy5u ปีที่แล้ว

    🙏ขอบคุณค่ะ🙂❤️

  • @KOL-be9dg
    @KOL-be9dg ปีที่แล้ว

    น่าสนใจมากครับ

  • @PixiEMino
    @PixiEMino ปีที่แล้ว

    คุณเคนยังต้องขอเบียร์😅 ชอบ secret sauce มากค่า ขอบคุณความรู้ดีๆมุมมองดีๆมากๆเลย แม้บางทีเราจะเข้าไม่ถึงก็ตาม😊😊😊🥰

  • @nimmawadeekrainara6747
    @nimmawadeekrainara6747 ปีที่แล้ว

    ชอบมากค่ะ

  • @brosonhiggs1893
    @brosonhiggs1893 ปีที่แล้ว

    โว้ววว มันส์สสส พ่ะย่ะค่ะ!!!
    หาคนพูดที่พูดภาษาไทย ในเรื่องนี้มาตั้งนานแล้ว
    ถ้ามีครั้งหน้า เชิญนักอภิธรรม มาด้วยสิครับ
    สภาวะจิตมนุษย์ ที่ถูกบรรยายมาเป็นพันๆปี ในเชิงอภิธรรมะ
    เอามา แบทเทิ่ล กับ ควอนตัมฟิสิกส์
    ส่วนตัวผม เห็นชัดว่า Mechanism ของคอมพิวเตอร์
    ถอดแบบออกมาจาก Mechanism ของขันธ์ 5 ชัดๆ
    Process ของมัน (ขันธ์ 5) ถูกอธิบายภายใต้กระบวนการที่เรียกว่า "ปฏิจจสมุปบาท"
    ซึ่งการ Run Source Code จะดึงจากหน่วยความจำ ที่เรียกว่า สัญญาขันธ์
    ตัว Source Code เทียบได้กับ สังขารขันธ์
    Interface ที่ทำหน้าที่ In - Out ข้อมูล คือ การรับรู้ทั้งหมด เทียบได้กับ วิญญาณขันธ์
    ผลลัพธ์จากกระบวนการทั้งหมดนี้ ให้ผลออกมา 3 อย่าง คือ สุข ทุกข์ และไม่ทั้งสุขและทุกข์
    เทียบได้กับ เวทนาขันธ์
    ส่วน ฮาร์ดแวร์ คือร่างกาย เทียบได้กับ รูปขันธ์
    ผมว่า มีนักอภิธรรมระดับเทพๆเยอะเลยครับที่ท่านแตกฉานในกระบวนการพวกนี้
    หากเชิญท่านมา แบทเทิ่ล หรือ ฟีเจอริ่ง กันกับอาจารย์ทั้ง 2 ในครั้งหน้า คงมันส์น่าดู

  • @pjsriprateep3825
    @pjsriprateep3825 ปีที่แล้ว +1

    ผมอยากให้คุณเคนฝึกมากๆครับ

  • @pheerapongsookwarn1600
    @pheerapongsookwarn1600 ปีที่แล้ว +1

    นักเรียนตั้งใจเรียน ก็คือสมาธิแบบนักเรียน คนนั่งดูหนังดูละครอย่างตั้งใจก็คือสมาธิของคนดู นับเป็นสมาธิแบบคนทั่วไป คือตั้งมั่นในอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่สมาธิในทางศาสนาคือการไม่คิดหยุดคิด เพื่อไม่ให้เกิดการปรุงแต่ง ใช้ความรู้สึกเป็นตัวกำหนด จิตใจสงบ เป็นเบื้องต้น และสมาธิต้องตามด้วยการภาวนา

  • @physioarmchiangrai6783
    @physioarmchiangrai6783 ปีที่แล้ว +15

    จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งเดียวกัน วิญญาณไม่ได้หมายถึงผี แต่หมายถึงผู้รู้ หรือจิต อันเดียวกัน เดิมจิตเปรียบเหมือนกระจกใส ส่วนนิวรณ์ 5 ชนิดที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ เปรียบเหมือนฝุ่นที่มาเกาะกระจก ทำให้กระจกไม่ใส ยิ่งมีนิวรณ์มาก กระจกก็ยิ่งขุ่นมัวจนมองไม่เห็นความใสของกระจก นิวรณ์มีอะไรบ้าง คือ ความง่วง, ความเศร้า หดหู่, ความคิดฟุ้งซ่าน, ความลังเลสงสัย ,ความอยาก เหล่านี้คือนิวรณ์ หรือเหมือนฝุ่นที่มาเกาะกระจกใส การทำสมาธิ เปรียบเสมือนการปัดกวาดฝุ่น เอาฝุ่นออกจากกระจกใส ใจความสำคัญคือการรู้ที่ลมหายใจเท่านั้น ไม่มีความคิดขณะทำสมาธิ การมีความคิดผุดขึ้นมาแล้วเราไปเพลินกับความคิดนั่นแหละคือนิวรณ์ การที่รู้ลมหายใจเท่านั้น ไม่คิด จะนำไปสู่สมาธิที่นิ่ง เปรียบเหมือนกระจกที่ใส ไร้ฝุ่น ,, แต่สิ่งนี้ยังไม่ไปถึงการหลุดพ้น หรือพ้นทุกข์ การพ้นทุกข์ต้องพิจารณาไปจนถึงเห็นความคิดเกิดขึ้น เห็นความคิดดับ หรือความคิดหายไป เห็นเกิด ดับ ของความคิดไปเรื่อยๆ และพิจารณาลงไปว่า ความคิดไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา จิตนี้ก็ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา การฝึกแบบนี้เรียกว่าวิปัสสนา จะเป็นทางไปสู่การพ้นจากการเกิด หรือการยึดในกาย ยึดในจิตนี้นั่นเองครับ ลองศึกษาต่อ พุทธวจน ในยูทูปมีครับ

    • @sisakhasurinpraphatsorn8502
      @sisakhasurinpraphatsorn8502 ปีที่แล้ว

      ตีความ วิญญาณ ผิดครับ วิญญาณเป็นผลของผัสสะ ไม่ใช่จิต ครับ

    • @physioarmchiangrai6783
      @physioarmchiangrai6783 ปีที่แล้ว

      @@sisakhasurinpraphatsorn8502 วิญญาณไม่ได้เป็นผลจากผัสสะครับ เพราะผลจากผัสสะคือ เวทนา ถ้าเราศึกษาเราจะเข้าใจว่า เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ และเพราะมีผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ดังนั้น วิญญาณ หรือจิต ไม่ใช่เวทนา ที่เป็นผลจากผัสสะ วิญญาณ หรือ จิต เป็น ผู้รู้ พระพุทธเจ้าตรัสว่า ใน กายของเรามีวิญญาณเป็นผู้รู้ ถ้าไม่มีวิญญาณก็ไม่สามารถรับรู้ได้ ตา มีจักษุวิญญาณ, หู มีโสตวิญญาณ ลิ้น มีชิวหาวิญญาณ กาย มี โผฏฏัพพะวิญญาณ เป็นผู้รู้ เป็นต้นครับ ก่อนที่จะแปลความหมาย เช่น หูได้ยินเสียง ต้องมี หูวิญญาณ ถ้าไม่มีวิญญาณเป็นผู้รู้ จะไม่สามารถเข้าใจ แปลความหมายได้ เพราะจะไม่รับรู้ สัญญา คือความจำได้หมายรู้ เพราะมีวิญญาณ หรือ จิต จึงสามารถแปลความหมายจากสัญญา คือความจำได้หมายรู้ว่า เสียงที่มากระทบนั้น เป็นเสียงชม หรือเสียงด่า จึงเกิดความรู้สึก คือ เวทนา ว่า ชอบ หรือ ไม่ชอบ ตามมา ดังนั้น จิต หรือ วิญญาณ จึงเป็นตัวรู้ แต่ไม่ได้ผลจากเวทนา ที่เกิดทีหลังผัสสะอีกทีนึงครับ พอเข้าใจที่ผมอธิบายไหมครับ แต่ทั้งนี้ เราต้องพิจารณาลงไปด้วยว่า จิต หรือ วิญญาณนี้ ก็ไม่ใช่ของเราด้วยครับ ( จิต = วิญญาณ คือสิ่งเดียวกัน )

    • @sisakhasurinpraphatsorn8502
      @sisakhasurinpraphatsorn8502 ปีที่แล้ว

      @@physioarmchiangrai6783 วิญญาณ เป็นการรู้ คือรู้เฉยๆของอายตนะ
      วิญญาณ ไม่ใช่ จิต
      จริงอยูว่า ผัสโส ปัจจยา เวทนา
      ผัสสะ เป็นแห่งให้ เกิด เวทนา
      ที่ผมกล่าวว่า วิญญาณ เป็นผลของผัสสะ เพราะ อายตนะทั้ง๑๒กระทบกับทำให้เกิด วิญญาณ ในขั้น ผัสสะ
      วิญญาณจึงเป็นผลของผัสสะ เป็นตัวรู้ สักแต่ว่ารู้เฉยๆของอายตนะภายในทั้ง๖
      ไม่นับรวมขั้น เวทนา เพราะตัวรู้ในเวทนา เป็นอีกตัวรู้
      พอจะตี ข้อความ ผมเข้าใจไหมครับ?

    • @physioarmchiangrai6783
      @physioarmchiangrai6783 ปีที่แล้ว

      @@sisakhasurinpraphatsorn8502 เป็นการเข้าใจความหมายที่ผิดนะครับ เพราะ วิญญาณเป็นธาตุรู้ ต้องไปอ่านพระสูตร มโนวิญญาณ จักษุวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ เป็นต้น คือ แต่ละอายตนะมีวิญญาณเป็นผู้รู้ วิญญาณไม่ใช่เวทนา คือไม่ใช่ผลของผัสสะนะครับ ถ้าเข้าใจผิดจะปฏิบัติผิด ด้วยความหวังดีครับ ลองเปิดใจ อย่าให้มานะขวางกันความเห็นถูก แนะนำลองไปอ่านพระสูตรดูนะครับ แต่ละอายตนะมีวิญญาน​เป็นผู้รับรู้ เมื่อผัสสะกระทบอายตนะนั้น วิญญาณจึงแปลผลสัญญา คือความจำได้หมายรู้ว่า คือเสียงอะไร กลิ่นอะไร สัมผัสอะไร และจึงเกิดเวทนา ตามมา ค่อยๆทำความเข้าใจใหม่นะครับ

    • @sisakhasurinpraphatsorn8502
      @sisakhasurinpraphatsorn8502 ปีที่แล้ว

      @@physioarmchiangrai6783 ผมมองว่าตัวคุณเองที่มีมานะ ที่คุณพูดผมเข้าใจสิ่งที่ คุณสื่อ แต่ใจความที่ผมพูดคุณไม่ตอบ กลับมองว่า ผมเข้าใจเรื่องผลของผัสสะ
      คุณลองวิเคราะห์ที่ผมแย้งคุณหน่อย
      คุณกล่าวว่า จิต และ วิญญาณ ตัวเดียวกัน
      ผมว่า จิตคือจิต และวิญญาณคือวิญญาณ ไม่ใช่ตัวเดียว
      ตัววิญญาณคือตัวรู้ สักแต่ว่ารู้เฉยๆ ในผัสสะ เป็นผลจากการกระทบของอายตนะทั้ง๑๒
      ดังนั้น วิญญาณ จึงไม่ใช่ จิต ไม่ใช่ตัวเดียวกัน
      คุณลองแยก และวิเคราะห์ สิ่งที่คุณกล่าวให้ผมฟังหน่อยว่า ความคิดของคุณ ถูกต้อง และความคิดของผมที่คุณว่าผิด ผิดอย่างไร

  • @STUDIO-wp6wl
    @STUDIO-wp6wl ปีที่แล้ว

    อยากลองจังครับ

  • @msnlanna6559
    @msnlanna6559 ปีที่แล้ว

    คุยเรื่องปรัชญา ประวัติศาสตร์​ปรัชญาบ้างครับ ผมหาฟังยากมากๆเลย อ่านแต่หนังสือ อยากฟังบ้าง จะเอาไว้ฟังก่อนนอนครับ ขอบคุณครับ​

  • @eddyeddy9802
    @eddyeddy9802 ปีที่แล้ว +5

    อยากเรียนรู้เรื่องจิตแนะนำให้ลองศึกษาเกี่ยวกับเรื่องจิตตสิกขาครับ คนไทยมีของดีอยู่ในประเทศอยู่แล้ว เป็นมรดกของพระพุทธเจ้า

    • @user-jo7hm2kw6c
      @user-jo7hm2kw6c ปีที่แล้ว

      สิทธัตถะลอกเลียนแบบมาจากศาสนาเชน

    • @eddyeddy9802
      @eddyeddy9802 ปีที่แล้ว

      @@user-jo7hm2kw6c ทุกศาสนาล้วนสอนให้ทุกคนเป็นคนดีครับ ในข้อที่ท่านว่าผมเกิดไม่ทันและไม่ทราบว่าเป็นเรื่องจริงเท็จแค่ไหน ทราบแต่เพียงว่าพระพุทธเจ้าท่านทรงสอนให้หลุดพ้น ไม่ให้ติดอยู่ในภพภูมิต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภพที่ปราณีตแค่ไหนก็ตาม

    • @eddyeddy9802
      @eddyeddy9802 ปีที่แล้ว

      @@user-jo7hm2kw6c ใครเกิดก่อนไม่สำคัญครับ นิพพานนั้นมีอยู่แต่เดิมแล้ว บุคคลที่เข้าไปสัมผัสพระนิพพานได้ก็มีมาเนิ่นนานหาจุดเริ่มต้นหรือคนแรกไม่ได้ ทั้งพระปัจเจกพุทธเจ้าหรือพระพุทธเจ้าที่ทรงเข้าถึงและนำมาสอนต่อให้สาวกบางองค์ได้เข้าถึงเช่นกันครับ

    • @user-jo7hm2kw6c
      @user-jo7hm2kw6c ปีที่แล้ว

      @@eddyeddy9802 พระพุทธเจ้าไม่ได้นิพพาน แค่คิดเอาเองว่าตนจะสำเร็จ แต่ความจริงไม่ใช่

    • @eddyeddy9802
      @eddyeddy9802 ปีที่แล้ว +1

      @@user-jo7hm2kw6c พอเถอะครับ ผมว่าคนทั่วไปถ้ามาเห็นคอมเม็นต์เหล่านี้ก็พอจะเข้าใจอะไรเป็นอะไรแล้วล่ะครับ ผมขอไม่ตอบแล้วนะครับ

  • @kanok3369
    @kanok3369 ปีที่แล้ว +4

    ในทางพุทธศาสนาสมาธิคือความตั้งมั่นของจิตร ตัวสมาธิเองก็ตกอยู่ภายใต้กฎของไตรลักษณ์ ซึ่งจะแตกต่างจากความหมายของสมาธิในความเชื่ออื่นๆ ส่วนจิตในพุทธศาสนาคือสภาวะที่รับรู้อารมณ์ซึ่งตกอยู่ภายใต้กฎของไตรลักษณ์เช่นเดียวกับสมาธิ

  • @pramualk
    @pramualk ปีที่แล้ว +19

    อยากหายสงสัยต้องลงมือปฏิบัติ ความสงสัยไม่อาจหายไปด้วยการถาม

    • @sovonic322
      @sovonic322 ปีที่แล้ว

      ถูกต้องมากเลยครับ

    • @Human_hardware
      @Human_hardware ปีที่แล้ว +1

      ใช่ครับ พูดยังไงคนก็ไม่เชื่อ เบื่อมาก

    • @nattawataum
      @nattawataum ปีที่แล้ว

      @@Human_hardware แล้วรู้ยัง

  • @georgeoo2250
    @georgeoo2250 ปีที่แล้ว

    Remember ,mind can go in through every where,thanks

  • @Moohnoy37
    @Moohnoy37 ปีที่แล้ว +4

    วิทยาศาสตร์ยังตื้นมาก เมื่อเทียบกับวิชาจิตที่เคยบันทึกค้นคว้าเคยศึกษาในพุทธศาสนา...
    (เหมือนพยายามเอา คณิตระดับประถม ไปอธิบายฟิสิกส์ระดับมหาลัย )
    แต่ความที่เราชอบฝรั่ง และความที่มันไม่ลึกมาก มันเข้าถึงทำความเข้าใจง่ายมากกว่า

    • @har-dac-dark1525
      @har-dac-dark1525 ปีที่แล้ว

      ยิ่งค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์มันยิ่งออกห่าง เรื่องของจิตทางวิทยาศาสตร์คืออนุบาลเหมือนว่าแหละครับ

  • @jirawat8765
    @jirawat8765 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @olegreenday2477
    @olegreenday2477 ปีที่แล้ว

    ทุกสิ่งทุกเสียงแล้วเราจะรู้คับผม

  • @thaidev3153
    @thaidev3153 ปีที่แล้ว +1

    จิต เป็นแค่ เปรี้ยว หวาน มันเค็ม ได้ยิน ได้เห็น เย็นร้อน อ่อนแข็ง สุขทุกข์เฉยๆ คิด จำได้หมายรู้ ถ้าจิตตั้งมั่นในอารมณ์อันเดียว เรียก สมาธิ

  • @starmoon939
    @starmoon939 ปีที่แล้ว

    ชอบท๊อปปิก น่าสนใจจจจ

  • @olegreenday2477
    @olegreenday2477 ปีที่แล้ว

    พริกปรับปรุงง่ายมากอ่ะคับ

  • @thanakritthumjun4277
    @thanakritthumjun4277 ปีที่แล้ว +1

    พุทธวจนคือคำตอบ
    สมาธิ,=การตั้งใจมั่นในอารมณ์อันเดียว,การที่รู้ลมหายใจเข้าสั้นก็รู้ว่าสั้นหายใจออกยาวก็รู้ว่ายาว
    จิตไม่ฟุ้งซ่านเว้นจากการคิด
    จากกาม,พยาบาท,เบียดเบียน
    จิต,มโน,วิญญาณ=คือตัวเดียวกัน
    หรือวิญญาณคือธาตุรู้แต่รู้ได้ใน4ขันธ์
    รูป=กาย
    เวทนา=สุข,ทุกข์,อุเบกขา
    สัญญา=ความจำได้หมายรู้ อดีตอนาคต,ปัจจุบัน
    สังขาร=การปรุงแต่ง
    แต่เกิดตามลำดับ
    จิตเปรียบเหมือนแสง
    มโนคือ ลำแสง
    วิญญาณ=ฉาก
    พอจิตมโนวิญญาณกระทบกันก็จะเกิด,ภพ,ชาติ,ชรา,มรณะ
    (จิตเกิดดับ)
    ส่วนการที่จะให้เด็กฉลาด
    ตามแบบพุทธวจน
    พระพุทธองค์ตรัส การฝึกนั่งสมาธิเป็นประจำจะช่วยให้เด็กละความฟุ้งซ่านตั้งอยู่ในอารมณ์อันเดียว,
    จะมีสติในการที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ดีมีวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆได้หรือการเกิดปัญญานั้นเอง สาธุ

  • @Bank-bang
    @Bank-bang ปีที่แล้ว +9

    จิตเริ่มสมองตาม... ดังนั้นภาวะซึมเศร้าเกิดจากจิต ไม่ใช่สารเคมีในสมองเป็นตัวกำหนด
    ความเเน่นอนเป็นส่วนนึงของระบบ... และระบบที่ดีออกแบบให้ มนุษย์ไม่สามารถก้าวข้ามได้ ไม่ได้ดูสนุกเหมือนในหนัง

  • @kantanitkietchakontana6527
    @kantanitkietchakontana6527 ปีที่แล้ว

    อยากให้ ดร ทิว คุยเรื่องจิต กับ อาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ จัง อยากฟังทั้งคู่สนทนากัน

  • @nightking1607
    @nightking1607 ปีที่แล้ว +13

    น่าเอาพวกพวกพระสายธุดงค์ นักบวชที่เค้าฝึกกันจริงๆ มานั่งคุยด้วยครับ

    • @NSn458
      @NSn458 ปีที่แล้ว

      เห็นด้วยค่ะ

  • @Q_______
    @Q_______ ปีที่แล้ว +2

    น่าจะเชิญ พระสมชาย วัดธรรมกายมาออกรายการ ความรู้ท่านแน่นมาก

  • @NamoPUT
    @NamoPUT ปีที่แล้ว +1

    สติ เท่านั้น ที่จะ พา ไปถึงที่หมาย

  • @user-kq2ix6co4g
    @user-kq2ix6co4g หลายเดือนก่อน +1

    ปีนี้เราเพิ่งมานั่งสมาธิ จากเสียงในหูที่ดังแอ้นๆๆๆ และฟู่ๆๆๆ ก็ลดลงและหายไป จากที่ใต้ตาเหลืองซีดก็กลับมาส้มอมแดงอีกครั้ง การนั่งนิ่งๆเฉยๆสงบและจดจ่อ มันดีกว่าอะไรทั้งปวงที่สับสนวุ่นวาย

  • @GK-jh2dr
    @GK-jh2dr ปีที่แล้ว +2

    กายทิพย์ สั่ง กายหยาบ ไม่ใช่ กายหยาบ สั่ง กายทิพย์
    การที่ตัดเนื้อสมองส่วนที่รับรู้ภาพออกไปแล้วไม่สามารถรับรู้ภาพได้
    แล้วจะสรุปว่า สภาวะของจิต ก็คือสมองส่วนที่ตัดออกไปนั้น
    คิดว่าเป็นการสรุปมุมเดียว จากอีกหลายๆความเป็นไปได้

  • @user-sd9mn5im7f
    @user-sd9mn5im7f ปีที่แล้ว +7

    จิต มนุษย์ ก็คือสสารที่ละเอียด(องค์ประกอบพื้นฐานเล็กกว่า) กว่าแสง (ปรมาณู) และจิตก็มีหลายระดับ แบ่งเป็น 31 ระดับภพภูมิ หรือ ประมาณ 28 ระดับ ชั้นความสูง ที่อยู่ในที่ต่างกันในระบบสุริยะที่มีความเหมาะสม อันมีเพียง 1,000 ระบบเท่านั้นใน กาแลกซี่(ที่เหมาะสม)
    ซึ่งแสงจากดวงอาทิตย์มีขนาดประมาณ 0.1-3 พิโกเมตร(10 ยกกำลัง ลบ 12) ซึ่งเป็นรูปปรมมัตถ์ขั้นเริ่มต้น ที่ทำให้เกิด อณู (อะตอม ในทางวิทย์)
    จิต มีทั้งแบบมีรูปวิญญาณวิถี(รูป/รูปทิพย์/มีวิญญาณขันธุ์) และไม่มีรูปวิญญาณวิถี(อรูป/ไม่มีอัตลักณ์/ค้ายๆกันไปหมดไม่เฉพาะตัว) ทำงานผ่าน กระบวนการที่แตกต่างกัน ในแต่ละสภาพจิตและภพภูมิ
    จิตของมนุษย์ ก็คือ สารสื่อประสาท ทำงานแบบกระพริบเป็นดวงๆไปหรือส่งต่อ อิเล็กตรอน เป็นทอดๆ เซลล์ต่อเซลล์ แว้ปๆ เป็นดวงวิญญาณวิถี ไปตามเครือข่าย สมอง นับแสนล้านเซลล์ ซึ่งทำงานจดจำข้อมูล(ไบท์) เป็นกลุ่มๆ ความรู้ละประมาณ 200 เซลล์(เวิด) แบบซับซ้อนตามสายโยง (รูปของใจ ที่สัมผัสกับความรู้หรือธรรม อันเป็นสัมผัสที่ 6 ของมนุษย์) ผ่านไปยังทั่วร่างกาย เป็น 5 ส่วนประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย เพื่อสัมผัสกับ คลื่นสี คลื่นเสียง กลิ่นของหมู่สสาร รสชาติของหมู่สสาร และลักษณะพื้นผิวสัมผัสทั่วร่างกาย
    จิตมนุษย์ ด้วยความเร็ว 10 ล้าน(โกฏิ) รอบ ต่อกระดิกนิ้ว หรือประมาณ 50-100 ล้านรอบต่อวินาที เกิดเป็นกลุ่มดวงสสาร ที่กระพริบนี้เป็นกลุ่มดวงวิญญาณวิถีขึ้น ซึ่งละเอียดกว่าแสง
    ตัวอย่างที่ชัดเจน คือ ประสาทตา ของมนุษย์
    การที่ตาเราจะประมวลผล สิ่งรอบตัวได้ สารสื่อประสาท ก็จะต้อง วิ่งผ่านสมองนับแสนล้านเซลล์เซลล์เพื่อประมวลคำสั่ง การรับรู้ทางตา ก่อนจะวิ่งผ่านประสาทตา เพื่อวิ่งไปรับคลื่นสี ทีละคลื่น ก่อนจะวิ่งกลับมาส่งอารมณ์เพื่อนำไปจดจำลักษณะ แล้ววิ่งกลับไปรับอารมณ์ใหม่ แบบนี้
    การที่จะได้ ภาพภาพหรือวีดีโอ หนึ่งๆ ที่สเมือนจริงต่อตามนุษย์ ก็จะต้องใช้ เทคโนโลยี กล้องถ่ายรูป ที่ละเอียดประมาณ 10 ล้านพิกเซล ตามข้อมูลทางพุทธศาสตร์ พอดี ซึ่งหากสูงกว่านี้ก็จะให้ความวิจิตร ละเอียดเกินจริง และถ้าน้อยกว่านี้ จะไม่สเมือนจริง ซึ่งหลักการทำงาน ก็เหมือนๆ จิตมนุษย์นี้เอง
    ดังนั้นคำณวน ความเร็จจิตมนุษย์ คร่าวๆ(กลม ลบความซับซ้อนออกให้คิดง่าย)
    1.เซลล์ประสาทยาวประมาณ 50 ไมโครเมตร(0.05 มิลลิเมตร)
    2.สมองมี 1 แสนล้านเซลล์ +ไปถึงดวงตา (ขอตัดทิ้งให้เลขสวยๆ รวมทั้ง การวิ่งในสมอง ที่ซับซ้อน ก็ขอตัดทิ้ง ก่อน) วิ่งผ่านเซลล์ เป็นระยะทาง 5 ล้านเมตร หรือ ประมาณ 5 พันกิโลเมตร
    3. ทำงาน 1 รอบ ไปกลับ ระยะทาง ×2 ได้ระยะทาง 1 หมื่นกิโลเมตร ต่อรอบ
    4.50-100 ล้านรอบ ต่อวินาที ก็จะได้ประมาณ 0.5-1 ล้านล้านกิโลเมตร/วินาที (แสงเร็วประมาณ 3 แสนกิโลเมตร ต่อวินาที)
    ข้อสังเกตุ การที่เรามีเทคโนโลยี ที่ทำงานด้วยไฟฟ้า หรืออิเล็กตรอน ที่ทำงานได้เทียบเท่า จิตของมนุษย์ ซึ่ง อิเล็กตรอน ก็เล็กกว่าแสง รวมทั้งมีผลต่อมนุษย์และสัตว์ที่มีจิต แสดงให้เห็นว่า อิเล็กตรอน ก็เร็วกว่า แสงจากดวงอาทิตย์ เช่นกัน จึงสามารถวิ่งทำงานในอุปกรณ์ ที่ซับซ้อน ได้เทียบเท่ามนุษย์ หากคำณวน เซลล์(ไบท์) และรอบประมวลผล ออกมาเป็นความเร็ว ย่อมเร็วกว่าแสง เพราะ อิเล็กตรอน เล็กกว่าแสง หรือเป็นส่วนที่จัดว่าเป็นรูปทิพย์ ในทางพุทธศาสตร์ นั่นเอง ทั้งนี้ ในทางวิทยาศาสตร์ ก็ยังมีสมมติฐาน ในการเกิดสิ่งมีชีวิต ว่า การมีฟ้าฝ่า (อิเล็กตรอน) ก็น่าจะมีส่วนในการเกิดสิ่งมีชีวิต อยู่ด้วย
    ส่วน สมาธิ และสติ เป็นเครื่องมือ ในการพัฒนา จิต ฝึกได้คนละส่วน จัดเป็น มรรค ข้อที่ 7 และ 8 แยกกัน ในการฝึกแยก คือ สมถ และ วิปัสนา กรรมฐาน ทั้ง 2 แต่สามารถฝึกสลับกันได้ ในการปฏิบัติจริง และการใช้งานจริงคือ การทรงมรรคตามลำดับ เข้าสติ+สมาธิ สร้างปัญญา นั่นคือ วิถีพุทธแท้ แต่ต้องผ่าน สัมมาทิฐิ คือเห็นชอบเสียก่อน (ไม่เห็นผิด/มิจฉาทิฐิ)

    • @EU_MJ168
      @EU_MJ168 ปีที่แล้ว +1

      เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ฝึกวิปัสสนา กัมมัฏฐาน ด้วยหรือเปล่าครับ บอกได้ค่อนข้างละเอียดมาก

    • @user-sd9mn5im7f
      @user-sd9mn5im7f ปีที่แล้ว +2

      @@EU_MJ168 ผมเป็นนักพุทธศาสตร์ ที่ศึกษาวิทยาศาสตร์ ครับ ศาสนาหลักผมคือ พุทธศาสนา ไม่ใช่ลัทธิวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ยังต้องพัฒนาอีกมาก กว่าจะรู้มากกว่านี้ ทุกวันนี้ก็ยังงง อยู่ว่า แสงเร็วที่สุด ทั้งที่ ตามนุษย์ รับรู้ได้มากมาย ในเวลาเสี้ยววินาที เห็นแสงกันมาตั้งแต่เกิดทุกคน
      บางคนเรียนวิทย์เอามาจับพุทธ แล้วคิดว่าวิทย์รู้จริงกว่า พุทธมีลวงโลกหลอกลวงบางส่วน จะพาลให้ศาสนาพุทธเสื่อม นี่คือยุคที่กำลังจะเกิดแบบนั้นขึ้น ครับ จะพาให้ชาวพุทธหลงผิดไปอีกมาก

    • @EU_MJ168
      @EU_MJ168 ปีที่แล้ว

      @@user-sd9mn5im7f มีช่องทางไหนให้ติดตามบ้างไหมครับ

    • @user-sd9mn5im7f
      @user-sd9mn5im7f ปีที่แล้ว +1

      @@EU_MJ168 ใช้แค่ ช่องทางนี้ในการพูดคุยผ่านอินเตอร์เน็ต ครับ สนใจเรื่องอะไรจะสอบถาม ก็ถาม-ตอบ ได้เลย ครับ
      ส่วน เรื่องช่องและคลิป ยังคงไม่มีเวลาจัดทำครับ เพราะทำอย่างอื่นอยู่ รวมทั้งยังไม่สำเร็จขั้นสูง กลัวเผยแพร่ผิดๆ จะพาให้คนเข้าใจผิด จึงจะรวบรวมข้อมูลให้ดีๆก่อน ยังไม่ได้จดเก็บเป็นรูปเล่มตายตัว เพราะยังเชื่อมโยงไม่สุดในรายละเอียด

    • @warapornsodjit2958
      @warapornsodjit2958 ปีที่แล้ว

      ดีใจที่เห็นการเผยแพร่ความรู้ พระพุทธศาสนา ในรูปแบบร่วมสมัยนะคะ

  • @zhinjitui
    @zhinjitui ปีที่แล้ว +7

    I never click anything so fast like this
    ขอบคุณความรู้ความสนุกจากทั้ง 3 ท่านครับ
    ชอบความแย้งกันเรื่องการนิยามความไม่แน่นอน 5555 เหมือนผมกับเพื่อนเถียงกัน สายสุขภาพกับวิศวะ จะมองคนละมุม คนนึงอิงชีวะ คนนึงอิงฟิสิกส์

  • @jcme1551
    @jcme1551 ปีที่แล้ว +3

    น้ำตาจะไหล 😂 ไทยคำ อังกฤษคำ ศัพท์เทคนิค ตัวย่อเฉพาะทาง นั่งดูเค้าคุยกัน 😂

    • @Human_hardware
      @Human_hardware ปีที่แล้ว +2

      เข้าวัดดีกว่าพวกเรา

  • @KenKen-sn8gy
    @KenKen-sn8gy ปีที่แล้ว +4

    ทุกคำถาม มีคำตอบหมดแล้ว...
    พระศาสดาเรา(พระพุทธเจ้าเรา)
    สอนบอกชี้แนะ มา2พันกว่าปีแล้ว
    อย่ามองข้ามครับ...
    พุทธวจน.

  • @user-rg3tu9tl1b
    @user-rg3tu9tl1b ปีที่แล้ว +1

    สงครามยูเครนกับรัสเซีย​ตอนนี้ก็เต็ม​ไปด้วยคนมีสมาธิ​ใช่หรือไม่...
    ศาสนาพุทธ​ท่านสอนเรื่องสัมมาสมาธิ​กับมิจฉาทิฐิ​ด้วยนะครับ

  • @Kevinn99
    @Kevinn99 ปีที่แล้ว +1

    สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
    สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
    อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
    ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
    ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
    ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
    ขออนุโมทนาและขอบคุณครับ🙏🙏🙏
    Cr .อาจารย์เผดิม

  • @mallisorn4828
    @mallisorn4828 ปีที่แล้ว

    จิต ได้แก่ อาการ เคลื่อนออกมา - จับ- ปักลง ในสิ่งที่ สิ่งนั้น(จิต) พอใจ
    ถ้าด้วย อวิชชา
    อวิชชา ก็เป็นปัจจัย ให้ธรรมชาติฝ่ายจิต ปรุงแต่งให้เกิด มโนสังขาร รู้สึกสุขทุกข์....โดยรู้สึกตัวอยู่ โดยไม่รู้สึกตัว โดยจิตเอง โดยอาศัยการกระตุ้นจากจิตอื่น
    ถ้าสิ้นอวิชชา จิตก็ไม่ปรุงแต่ง ให้เกิด มโนสังขารให้เกิดสุขทุกขภายในเกิดขึ้น ฯ
    ++++++++++++++++++++++++++
    มโนสังขาร
    สังขารได้แก่ การปรุงแต่งให้ มโนอันเป็นอายตนะใน สำเร็จขึ้นมาทำหน้าที่เป็น มนายตนะ
    มโน คือ มโนทวาร
    เมื่อ มโน (๑) คืออายตนะใน
    กระทบกับ ธัมมารมณ์ คือ อายตนะนอกของ มนายตนะ (๒)
    เกิด มโนวิญญาณ (๓)
    = ผัสสะ ประกอบด้วยองค์สาม
    +++++++++++++++++++++++++
    วิญญาณ ได้แก่ กิริยาที่รู้แจ้งได้ที่มีอยู่ทาง อายตนะในหก
    ได้แก่ วิญญาณทางตา ฯ
    วิญญาณทางมโน (หมู่วิญญาณ 6)
    🧐
    จิต / มโน / วิญญาณ

  • @Tong_thai
    @Tong_thai ปีที่แล้ว

    เบียร์ต้องมาจริงๆครับ😄😄😄

  • @user-cs1nj5rj4y
    @user-cs1nj5rj4y ปีที่แล้ว

    ทั้งสามท่านน่าจะไปบวชน่ะครับ.! คงจะบรรลุธรรมไปนิพพาน ได้ไม่ยากแต่การจะไปบวชน่าจะยาก

  • @nawinjiwaiworn4579
    @nawinjiwaiworn4579 ปีที่แล้ว +2

    อยากรู้จิตจริงๆ
    ไปเรียนต้นกำเนิดคำ จากอภิธรรมครับ

  • @user-el9zj5pq2w
    @user-el9zj5pq2w ปีที่แล้ว

    รบกวนถามคุณหมอจากรายการนี้ที่ดูคลิปมาแล้วในเรื่องของstem cell ด้วยค่ะว่าstem cellของทายาทโดยตรงหมายถึงบุคคลที่มีสายเลือดเดียวกันอย่างพ่อแม่ลูกสามารถให้กันได้หรือไม่ขอบคุณคะ

  • @user-rc6nl6uz7d
    @user-rc6nl6uz7d ปีที่แล้ว

    ลองสัมภาษ_
    ดร_วรภัทดูครับสนุกแน่

  • @suthonsangprom-3358
    @suthonsangprom-3358 ปีที่แล้ว

    องค์ประกอบโดยธรรมชาติแห่งสรรพสัตว์(คนเป็นสรรพสัตว์ชนิดหนึ่ง) แท้จริงประกอบขึ้นด้วยพลังงาน แยกหลักๆ ออกเป็น 2 ส่วน คือ 1.จิตวิญญาณ และ 2 สังขาร
    อธิบาย
    สังขารประกอบขึ้นด้วยพลังงาน ในธาตุ ดิน+น้ำ+ลม+ไฟ เปรียบดั่ง ภาชนะรูปแบบต่างๆ ที่รองรับ พลังงาน จิตวิญญาณ เปรียบเทียบ คอมพิวเตอร์ ที่ถูกสร้างและใส่โปรแกรมต่างๆ พื้นฐานไว้หมดแล้ว มีจิตสังขารเป็นเซนเซอร์
    จิตวิญญาณ เป็นพลังงานตัวหลักของเราตามธรรมชาติ มีที่มาที่ไปมาก่อนสังสารวัฏ มาทดลองจอยกับสังขาร เปรียบดั่ง ตัวคนไปเล่นคอมพิวเตอร์ เป็นผู้ป้อนข้อมูลต่างๆ เข้าคอมพิวเตอร์ให้รันไปตามโปรแกรม แสดงผลผ่านจอ เป็น กุศลกรรม 10 และ อกุศลกรรม 10 กรรมนี้จะถูกขับเคลื่อนไปในวัฏสงสาร
    สมาธิ มาจาก จิตสังขารและจิตวิญญาณ ทำงานบูรณาการกัน ด้วยสติสัมปชัญญะ (ความระลึกได้+ความรู้ตัว) เข้าสู่ขบวนการพิจารณาตามความรู้วิชชา/อวิชชา ย่อมเกิดปัญญาที่แปรผันตาม วิชชา/อวิชชานั้น เข้าสู่การกระทำของสังขาร จึงเกิดเป็นกรรม แล้วเรารักษาขบวนการคิดนี้ตามที่พระพุทธเจ้า สอน เรียกว่า อริยะมรรคมีองค์ 8 ให้คงที่ไว้ เรียกว่า สมาธิ
    พึงพิจารณา

  • @chawaphongsuwanwaikhoon7477
    @chawaphongsuwanwaikhoon7477 ปีที่แล้ว +6

    จิต ตามแนวคิดตะวันออก มีความหมายแตกต่างโดยพื้นฐานจากตะวันตก(ในที่นี้ก็คือวิทยาศาสตร์) ตะวันออกเชื่อว่าจิตหรือสภาวะนามธรรมนั้นมีอยู่จริงเป็นธรรมชาติ ส่วนจิตในตะวันตกนั้น จิตเป็นวิวัฒนาการจากวัตถุ หรือเกิดจากวัตถุนั้นเอง

  • @artart-lp9tl
    @artart-lp9tl ปีที่แล้ว +9

    ฟัง พุธวจน

  • @SurapholKruasuwan
    @SurapholKruasuwan ปีที่แล้ว

    จิต คือ ความรู้สึกว่าเรามีอยู่
    สมาธิ คือ โฟกัส
    จิต มีสามลักษณะ
    จิต สำนึก
    จิต ใต้สำนึก
    จิต สากลจักรวาล
    ปัจจุบัน คือ สนาม ควอนตัม
    .
    จักรวาล สร้างจากความว่างเปล่า
    บิกแบง ทำให้กลาย เป็น ความสั่นสะเทือน
    และ เปลี่ยนเป็น คลื่น
    และ มวลสาร
    เป็นปฏิกิริยาลูกโซ่
    กลายเป็นสรรพสิ่ง
    รวมทั้ง พวกเราทุกคน
    ที่อยู่ใน ฮาโลแกรม สามมิติ
    ที่จักรวาลสร้างขึ้น
    .
    ทุกวันนี้ ถ้าเราโฟกัส อะไรมากไป
    สิ่งนี้นจะมีพลัง เปลี่ยนแปลงชีวิต
    เราเองได้ ขอบคุณครับผม

  • @user-yr2vj8yn6y
    @user-yr2vj8yn6y ปีที่แล้ว +1

    ฟังนักเรียนวิทยาศาสตร์คุยกันแล้วมันบ่งบอกชัดเจนว่า นักวิทยาศาสตร์ส่งจิตออกนอก คือ การที่จะต้องสังเกตุสิ่งรอบข้างเพื่อหาคำตอบ
    จิต ฟังนักเรียนวิทยาศาสตร์คุยกันยังไม่เหมือนกันเลย คนหนึ่งบอกเป็นอะตอม อีกคนบอกเป็นพลังงานไฟฟ้า ก็เพราะว่า การที่ไม่ลดทิฏฐิลงในเรื่องความเห็น อาจจะมาจากอิทธิพลของสาขาที่เรียน เลยมองสภาวะจิตต่างกัน

  • @totoplaysafe1553
    @totoplaysafe1553 ปีที่แล้ว +3

    หากเรามองวัตถุหนึ่ง เช่น ลูกบอล ผ่านดวงตาของสัตว์ต่างชนิดกัน ผลลัพธ์ของภาพ จะออกมาแตกต่างกัน เช่นตาของแมลงอาจเห็นอีกแบบ มดอีกแบบ นกเห็นอีกแบบ สุนัขก็อีกแบบ แล้วทำไมเราเชื่อสายตาของเราว่ามันจริงที่สุดในการแปลภาพวัตถุตรงหน้า ข้อจำกัดของสัตว์แต่ละชนิดย่อมมีอยู่รวมถึงมนุษย์ เราไม่มีหูที่ฟังความถี่คลื่นในย่านที่สัตว์ได้ยิน ความจริงของจักรวาล ใช้ตาและการรับรู้ของมนุษย์เป็นเกณฑ์ตัดสินได้จริงหรือ

    • @HaHaHaHa-yz9lu
      @HaHaHaHa-yz9lu ปีที่แล้ว +1

      มันเป็นแบบนี้จริงเหรอครับ

    • @totoplaysafe1553
      @totoplaysafe1553 ปีที่แล้ว

      แค่ทิ้งประเด็นปลายเปิดให้ขบคิดเล่นๆกันนะครับ ก็ข้อจำกัดของการรับภาพ ของตาคนและสัตว์ มันแปลภาพตามเลนส์ของตาสัตว์แต่ละชนิด ตามนุษย์ก็ยังไม่เห็นสีรุ้งในแสงเลยครับ ถ้าไม่มีการหักเหแสงเข้าช่วย เราก็จะเห็นแค่จ้า คือความรู้วิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร์เราก็ยังค่อยไปเรียนรู้ไปตามเครื่องมือและการค้นพบใหม่ๆครับ เอาร่างกายและประสาทสัมผัสเพียวๆ เรามีข้อจำกัด ไม่มีทางเห็นความจริงทั้งหมด คำว่าปรมณู แปลตามบาลีว่าอะตอมดูในวิกิพีเดีย =พระพุทธเจ้าค้นพบความรู้อะตอมมาตั้งเป็นพันๆปี โดยไม่มีเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ มันคงยากที่ท่านจะอธิบายให้คนอื่นรับรู้เข้าใจตาม ทั้งที่ยังไม่มีเครื่องมือพิสูจน์ในสมัยนั้น เพราะประสาทสัมผัสเรา ครอบไว้แค่ภาพสามมิติ เพ้อเจ้อให้ฟังขำๆครับ ใครอ่านตามอาจะเสีย 30 วินาที ทิ้ง อิอิ

  • @thebeautifulworld3022
    @thebeautifulworld3022 ปีที่แล้ว +1

    การศึกษา.Level สูงสุดอาจไปสุดได้แค่ดอกเตอร์..แต่Level ของสมาธิและจิตมันไม่มีขีดจำกัด..ขีดจำกัดขึ้นอยู่กับจิตและสมาธิของแต่ละบุคคล

  • @user-qo7sd4fw6r
    @user-qo7sd4fw6r ปีที่แล้ว +7

    แค่คุณนับลมหายใจ เข้า-ออก 100 ครั้งโดยไม่หลงลืมแม้แต่ครั้งเดียว ก็ถือว่าคุณมีสมาธิในระดับที่น่าพอใจแล้ว

  • @akirai4910
    @akirai4910 ปีที่แล้ว

    Doctor หล่อครับ

  • @channarinsrijunhod600
    @channarinsrijunhod600 ปีที่แล้ว

    ในทางพุทธ จิต ก็คือสมอง

  • @VivoVivo-ie5qd
    @VivoVivo-ie5qd ปีที่แล้ว +1

    จิตคือตัวรับรู้ วิญญาณคือตัวกำหนด (นิสัยสันดานที่ติดตาม) สมองคือตัวสั่งอวัยวะร่างกาย สมาธิคือความสงบทำให้เกิดสติ เมื่อมีสติแล้วก็จะเกิดปัญญา เมื่อมีปัญญาแล้วก็จะเกิดความรู้ เมื่อรู้แล้วจะทำให้เราตัดสินใจทำในสิ่ง ที่ผิดหรือถูกก็ได้ แล้วแต่ปัญญาของคนๆนั้น มันเป็นเรื่องละเอียดอ่อนและลึกมาก คนสมัยนี้ยุคนี้วุ่นวาย มากกับปัญหาสารพัดของชีวิตจึงทำจิตไม่มีพลังกระจายไม่นิ่งไม่สงบ

  • @TON--zk3jx
    @TON--zk3jx 11 หลายเดือนก่อน +1

    ไม่ได้อะไรจากคลิปนี้เลยเอาตรง ๆ 55

  • @boronn888
    @boronn888 ปีที่แล้ว

    จิต ไม่มีคำนิยามใดสามารถอธิบายได้อย่างหมดจดชัดเจน มันจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้ได้ว่ามีอยู่จริง เป็นพลังงานในรูปแบบที่อยู่เหนือเหตุผลตรรกะทางวิทยาศาสตร์ ต้องพุทธะเท่านั้นที่จะสามารถอธิบายได้ด้วยตนเอง วิทยาศาสตร์ยังไม่สามารถอธิบายได้และคงเป็นไปไม่ได้ที่จะเข้าใจเรื่องจิตอย่างถ่องแท้
    ส่วนตัวนั้นเริ่มเข้าใจเรื่องจิตมากขึ้นมากกว่าที่คิดและมากกว่าอย่างที่วิทยาศาสตร์เข้าใจ จิตทำให้เรารู้และเข้าใจสิ่งที่ปุถุชนคนธรรมดาไม่สามารถเข้าใจและอธิบายได้ จึงถูกมองแบบมีอคติ ว่าเป็นเรื่องไร้สาระ แต่ตรงกันข้าม สามารถนำมาใช้ในทางโลกิยะเพื่อค้นคว้าค้นหานวัตกรรมใหม่ขั้นเทพได้อย่างน่าทึ่ง การเห็นภาพในจิตที่เร็วกว่าแสง เร็วกว่าการประมวลผลของสมอง ภาพสามมิติสมจริงแบบธรรมชาติ
    และจดจำได้ไม่รู้ลืม นวัตกรรมหลายรายการสมองไม่สามารถทำได้แต่จิตล้ำกว่า ผลที่ได้ไม่มีผิดพลาดเริ่มด้วยจินตนาการเมื่อถึงทางตันก็หยุดเพื่อปล่อยวางทุกความคิด จนจิตว่างผลพลอยได้ไม่ช้าไม่นานภาพนวัตกรรมจะปรากฏในจิตเพียงเศษเสี้ยววินาที
    และดูเหมือนว่าวิธีนี้จิตสามารถตอบทุกโจทย์ได้เหมือนไม่มีที่สิ้นสุดเลยทีเดียว

  • @Sun-wx2fi
    @Sun-wx2fi ปีที่แล้ว

    ตามคำสอนของพระพุทธเจ้าว่า จิตเป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน ผมคิดว่าจิตคือกลุ่มพลังงานที่กำลังอยู่ในกระบวนการรับรู้,จดจำ,วิเคราะห์ แต่ด้วยธรรมชาติของทุกสิ่งคือการดำรงค์อยู่ การสร้างตัวตนคือวิธีที่ดีที่สุดเพื่อการเอาตัวให้รอดอยู่ได้ชึ่งมันก็เกิดขึ้นเอง ความคิดปรุงแต่งจึงเกิดขึ้นเพื่อเสริมสร้างความเป็นตัวตนและการมีอยู่ของชีวิต กระบวนการในสมองเกิดขึ้นเรื่อยๆตามความโน้มเอียงของสภาวะก่อนหน้านั้น ผู้ฝึกสติสัมปชัญญะที่สะสมความเคยชินจะสามารถหักเหจากความคิดปรุงแต่งให้มาอยู่สภาพกลางๆที่ไม่เป็นตัวตนชึ่งเป็นสภาพอันแท้จริงตามคำพระพุทธเจ้า ส่วนผู้ที่ยังยึดถืออยู่ ความยึดถือเป็นแรงยึดกลุ่มพลังงานให้คงสภาพสร้างภพสร้างการเกิดกับร่างกายใหม่ได้ ความเข้าใจเช่นนี้เป็นสัมมาทิฏฐิ เป็นจุดเริ่มไปสู่ความจางคลายในความยึดถืออัตตา

  • @sompolsontibutra2345
    @sompolsontibutra2345 ปีที่แล้ว +2

    จิต สมาธิ คืออะไร เกิดขึ้นจากสาเหตุเพราะอะไร ผลของการปฏิบัติจะได้อะไร นั้นเป็นเรื่องธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าค้นพบมาแล้วกว่า2,500ปี ความรู้แบบนี้ไม่ต้องไปค้นหาอีกแค่ทำตามคำสอนได้ก็เก่งแล้ว ตัวอย่างที่สำเร็จคืออริยสงฆ์ในไทยก็มีหลายคน ส่วนการค้นหาด้วยวิธีคิดและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์นั้นไม่สามารถทำได้ เพระจิตนั้นเปลี่ยนแปลงเกิดดับตลอดเวลาไม่มีสภาวคงที่ ครับ

  • @rdiddec3632
    @rdiddec3632 ปีที่แล้ว +1

    อาจจะไม่เกี่ยวกันนะ
    เราเคยสงสัย ว่าทำไมต้องเกิด? ทำไมต้องมีตัวตนอะไรขึ้นมาเพื่อจะรับรู้ สุข ทุกข์?
    ชาติแรกเป็นยังงัย? เอกภพมีที่สุดไหม? เที่ยวหาคำตอบ ก็ไม่เจอ คิดถึงเรื่องเหล่านี้จิตก็หดหู่
    มาหยุดอยู่ที่การศึกษาพุทธวจน ความรู้ใหม่ที่ไม่เคยได้ยิน เช่น สัตตานัง วิมุตติญาณทัศนะ หายสงสัยในเรื่องโลกไปเลย

  • @nathamada3078
    @nathamada3078 ปีที่แล้ว

    นิ้วกด โดยไว ⚡⚡

  • @user-ys4uk4mq7c
    @user-ys4uk4mq7c ปีที่แล้ว

    สติ สมาธิ จิต ที่ปล่อยวาง เท่านั้น เร็วเหนือแสงทำให้ว่าง ไร้ซึ้งความโลภ

  • @user-ze8ul5ho3j
    @user-ze8ul5ho3j ปีที่แล้ว +12

    จิต มโน วิญญาณ คือตัวเดียวกัน

    • @prinnjirametheedol8019
      @prinnjirametheedol8019 ปีที่แล้ว +2

      คนล่ะตัวเลยพ่อ

    • @user-ze8ul5ho3j
      @user-ze8ul5ho3j ปีที่แล้ว

      @@prinnjirametheedol8019 ฮ่าๆ เขียนไม่เหมือนกัน แต่จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้างกวงหนึ่งเกิดดวงหนึ่งดับตลอดวันตลอดคืน(การเกิดดับเร็วมากเหมือนแสงไฟที่กระพริบแต่ตาเรามองว่าปกติ)

    • @jirayunakplien4595
      @jirayunakplien4595 ปีที่แล้ว +2

      คนละตัวครับ ขันธ์ 5 คนละส่วน :)

    • @user-oh9nu8ze1b
      @user-oh9nu8ze1b ปีที่แล้ว

      จิต มโน วิญญาณ เป็นตัวเดียวกันคับ แต่อยุ่คนละสถานะ เลยเรียกไม่เหมือนกัน

    • @user-kb8cd3ko3k
      @user-kb8cd3ko3k ปีที่แล้ว

      การทำงานต่างกันมโนวิญญาณจิตคับ

  • @treeanetwo1634
    @treeanetwo1634 ปีที่แล้ว

    จิตตือความรู้สึกนึกคิดของคนทุกคน สมาธิคือจิตที่ตั้งมั่นมั่นคง

  • @teerapongparkpob4045
    @teerapongparkpob4045 ปีที่แล้ว

    สมาธิ เป็นการทำให้จิตจดจ่ออยู่กับอารมณ์เดียวเป็นเวลานานๆ เพื่อให้จิตมีกำลัง เปรียบเหมือนน้ำที่ไหลลงจากภูเขา หากไหลลงมาตรงๆ ไม่มีซอกซอยซ้ายขวาที่ลดทอนกำลังไป น้ำจะไหลแรงทำลายสิ่งกีดขวางข้างหน้าได้ แต่หากมีซอกซอยซ้ายขวาน้ำก็จะเบาลง ไม่มีกำลังที่จะทำลายสิ่งกีดขวาง จิตก็เช่นกัน ถ้าไม่วอกแวกไปในอกุศลคือนิวรณ์๕ (กาม พยายาท ซึมเศร้าหรือง่วง ฟุ้งซ่านรำคาญใจ และ ลังเลสงสัย) จิตก็จะตั้งมั่นเป็นสมาธิขั้นต้นที่เรียกว่า ปฐมฌาน จิตนั้นก็จะมีกำลังมากขึ้นเพราะจิตมีสมาธิ เมื่อน้อมจิตไปคิดอะไร ทำอะไร ก็จะเข้าใจและทำได้สำเร็จมากขึ้นกว่าการที่จิตฟุ้งซ่านครับ

  • @georgeoo2250
    @georgeoo2250 ปีที่แล้ว

    When people close their eyes ,will see many things and will think that is " me".But if that can not clear and can not reach to clear mind,hard to explain,thanks

  • @standalone2021
    @standalone2021 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับผม🙏🌎🇹🇭🌎🤍🤍🤍

  • @siddhiratana
    @siddhiratana ปีที่แล้ว

    มีการสมมติว่า สมองมีจริง กายภาพมีจริง แต่วิทยาศาสตร์มีข้อพิสูจน์แล้วหรือ? ในทางพุทธ ทั้งหมดน่าจะเป็นสิ่งที่สภาพรู้ (awareness) รับรู้ หรือเรียกว่า ธรรมารมณ์ จึงมีนามรูป (dualism) กระมัง
    free will ในทางพุทธ ยังไม่เป็นอิสระจาก(อนุสัย)กิเลส มีจริงไหมสำคัญที่ท่าที ถ้าไม่ทำอะไรก็เป็นพรหมบันดาล คิดว่า

  • @supojvolvo7257
    @supojvolvo7257 4 หลายเดือนก่อน

    พล้งงานจิต จากการน้่ง สมาธิ ระด้บ วิป้สสนาญาณ รวมพล้งจิตเป้นหนี่ง สะสมพล้งงานไว้ จนสามารถ ทะลุมิตืต่างได้ ต้่งแต่มิติที่+4/5/6 พล้งงานจิต เปลี่ยนคลี่นความถี่ มนุษย่ที่อยุ่ระด้บ มิติที่+2/3 จนคลี่นความถี่ ละเอียดมากขึ้น จน ผ่านไปตาม มิติ+ที่3/4/5/6ได้.

  • @jinnts8134
    @jinnts8134 ปีที่แล้ว +5

    คำอธิบายเชิงฟิสิก สอดคล้องกับพระพุทธศาสนามากกว่าอย่างชัดเจนครับ ส่วนสภาวะจิตนั้นเท่าที่ผมปฏิบัติและฟังพระอาจารย์เมตตาสอนมานั้น ในทางพุทธมีความลึกลงไปหยั่งถึงจิตใต้สำนึกรู้ ในเชิงจิตวิทยา ถัาได้ปฏิบัติเองจะเข้าใจครับ ยากจะบอกให้ผู้อื่นเข้าใจได้ต้องสัมผัสด้วยตัวเองครับ

  • @user-kb8cd3ko3k
    @user-kb8cd3ko3k ปีที่แล้ว

    เข้าไปฟังพุทธวจนคับวิเคราะจนจบไม่มีใครรุ้เลยคับ

  • @user-gu6uu8ni9m
    @user-gu6uu8ni9m ปีที่แล้ว

    วิทยาศาสตร์ไม่สามารถให้คำตอบได้ทุกเรื่อง กฏการย่อส่วนก็ไม่สามารถค้นหาสภาวะของจิตใจพบ

  • @prakasit619
    @prakasit619 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้แปลศัพท์ที่พูดบางคำด้วยครับ บางอันรู้บางอันไม่รู้เลย