สรุปต้นทุนธนาคาร ทำไมประเทศไทย เงินกู้แพง-เงินฝากถูก | ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 13 พ.ค. 2024
  • ประเด็นเรื่อง “เงินกู้แพง-เงินฝากถูก” ยังคงถูกยกมาตั้งคำถาม กับธนาคารพาณิชย์ของไทยอยู่เสมอ
    อย่างในปี 2567 อัตราส่วนต่างดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝากเฉลี่ยของไทย สูงถึง 7% ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่าง ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ กลับมีส่วนต่างเพียง 2%
    ทำไมถึงต่างกันมากขนาดนี้
    และในอนาคต ประเทศไทยควรจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร
    ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
    0:00 Intro
    0:40 เรื่องต้องรู้ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้-เงินฝาก
    1:12 ทำไมธนาคาร ตั้งอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูง
    5:51 ควรวัดผลกำไร ของธนาคารจากอะไร
    6:36 ธนาคารไม่ได้มีคุณภาพกำไร ดีอย่างที่คิด
    7:30 หนทางแก้ปัญหา สำหรับธนาคารไทย
    ลงทุนแมน ลงทุนในความรู้
    การลงทุนในความรู้ไม่มีความเสี่ยง ผู้ลงทุนควรกด ”Subscribe” ลงทุนแมนไว้ในทุกช่องทาง
    ติดตามลงทุนแมนได้ที่
    Website - www.longtunman.com
    Blockdit - www.blockdit.com/longtunman
    Facebook -​ / longtunman
    Twitter - / longtunman
    Instagram - longtunman...
    Line - page.line.me/ayw2996y
    TH-cam - / longtunman
    Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn...
    Soundcloud - / longtunman​
    Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast
    Clubhouse - @longtunman
    #ลงทุนแมน​​ #longtunman​

ความคิดเห็น • 121

  • @supkornpookapun
    @supkornpookapun 3 หลายเดือนก่อน +35

    ถ้าว่าต้นทุนธนาคารมีเยอะ
    แล้วธนาคารสิงคโปร์ไม่น้อยกว่ากัน?
    เค้าทำได้ยังงัยให้ส่วนต่างดอกเบี้ยเงินกู้น้อยกว่าไทยมาก
    ต้นทุนสูง บริหารไม่ดีเองแต่ก็โยนภาระมาให้เป็นดอกเบี้ยของลูกค้ารึเปล่า
    ตามที่เข้าใจนะครับ

  • @kittitop332
    @kittitop332 3 หลายเดือนก่อน +17

    ทำไมหนี้เสียคนรับภาระต้องเป็นคนที่ผ่อนดีด้วย ถ้าหนี้เสีย 90% คน 10% ที่เป็นหนี้ดีต้องมารับภาระดอกเบี้ยของคนที่หนี้เสียหรอครับ

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน +6

      จัดการไม่ดีเอง พลักเป็นต้นทุนเลย

  • @chawanratchonwattana9282
    @chawanratchonwattana9282 2 หลายเดือนก่อน +29

    เคยคิดว่ารายการนี้ให้ความรู้ดีจัง แต่ฟังคลิปนี้แล้วตาสว่างละ ให้ข้อมูลด้านเดียว หยิบมาพูดแค่บางส่วน เพื่อสร้างภาพไปในแนวทางที่อยากให้เห็น
    อย่างที่บอกว่า สิงคโปร์กับเกาหลีส่วนใหญ่ปล่อยกู้ให้บริษัทใหญ่ ของไทยปล่อยกู้ให้ SME แล้วทำไมไม่ยกญี่ปุ่นมาพูดล่ะคะ? ญี่ปุ่นก็ SME ทั้งนั้น ทุกวันนี้ กู้บ้านจ่ายดอกเบี้ยแค่ 0.4% เองค่ะ (แต่ค่าดำเนินการเริ่มแรกแอบแพง เค้าคิด 2% แต่ก็จ่ายแล้วจบ) ส่วนดอกเบี้ยเงินฝากนี่คือแทบไม่มี แต่คนกู้ซื้อบ้านก็แฮปปี้ค่ะ เพราะรัฐบาลช่วยให้เงินอุดหนุนและหักภาษีได้ด้วย
    สรุปว่า จะบอกว่า ไทยมีความต่างของดอกเบี้ยสูงเพราะต้องแบกรับความเสี่ยง เนื่องจากส่วนใหญ่ปล่อยกู้ SME เนี่ยมันฟังไม่ขึ้นเลยค่ะ

  • @mrwiroj435
    @mrwiroj435 3 หลายเดือนก่อน +6

    อธิบายได้เข้าใจดีมากๆ ฟังแล้วเข้าใจเลยว่าทำไมเศรษฐกิจไทยเป็นแบบนี้ ทำออกมาหลายๆเรื่องเลยครับ รอชม

  • @krtchannel9757
    @krtchannel9757 3 หลายเดือนก่อน +3

    THAILANDBEST​ขอบคุณลูกสาว​คนไทย​ที่​สำคัญ​มากๆต่อความ​รู้การธนาคารประเทศ​ชาติ​ศาสนา​พระมหากษัตริย์​ของเรา​ คนรุ่นใหม่​ต้องมีความรู้​ความเข้าใจ​ตนเอง​บนโลก​นี้​ ประชาธิปไตย​ที่ถูกต้องตามกฎหมาย​อย่าให้เสรีภาพ​ไร้วัฒนธรรม​เกิดความวุ่นวาย​ ไร้กิริยามารยาท​ที่ดีงามบนผืน​แผ่นดิน​ของตนเอง​เพื่อ​ความร่มเย็น​เป็นสุข​ตลอดกาล​

  • @appleiphone3590
    @appleiphone3590 2 หลายเดือนก่อน +6

    อธิบายได้ดีคะ แต่มันจะเป็นด้านเดียว ซึงเหมือน ธนาคาร ให้ออกมาอธิบายแก้ต่าง
    สรุปทำไมดอกเบี้ยเงินฝาก น้อยกว่า ดอกเบี้ยเงินกู้เพราะว่าอะไรจริงๆ ยังไม่เห็นภาพเท่าไรคะ

  • @jinpeng1579
    @jinpeng1579 2 หลายเดือนก่อน +3

    อยากให้ทำคลิปเปรียบเทียบ ต้นทุนทุกอย่าง รวมทั้งกำไรสุทธิ ระหว่างธนาคารไทยกับธนาคารต่างประเทศครับ จะได้เห็นภาพชัดกว่านี้ว่าทำไมส่วนต่างมันถึงสูง คือสงสัยว่าธนาคารประเทศอื่นเค้ามีต้นทุนน้อยกว่าประเทศเราเหรอ น้อยกว่าตรงไหน เพราะอะไรครับ

  • @9Bank1000
    @9Bank1000 3 หลายเดือนก่อน +2

    ปัจจัยสำคัญ เรื่องหนี้เสีย ก็มาจากการบังคับให้ล/นจ่ายหนี้ตามคำพิพากษาในไทย อ่อนแอมาก ต้องให้เจ้าหนี้ดำเนินการ ซึ่งทำให้การยึด/อายัดทรัพย์ทำได้ไม่เต็มที่ รัฐฯควรออกนำ ดำเนินการให้เจ้าหนี้ ถ้าล/นเบี้ยวน้อย ดอกเบี้ยเงินกู้ก็จะถูกลง ตอนนี้คนมีเงินเดือนประจำเสียเปรียบเจ้าของกิจการหรือคนทำกิจการเยอะมาก ได้เวลาต้องแก้ไข ไม่อย่างนั้น ดอกเบี้ยเงินกู้จะแพงขึ้นไปเรื่อยๆๆ

  • @sippt6148
    @sippt6148 3 หลายเดือนก่อน +7

    ส่วนต่างดอกเบี้ย​ 3% บนต้นทุน​ 4% = กำไรต่อต้นทุน​ 75% ถือว่ามากเกินไปสำหรับธุรกิจที่ไม่ได้เปิดให้แข่งขันได้อย่างเสรี
    ROE ก็เอาเงินฝากมาคำนวณ​ ทั้งที่เงินฝากไม่ควรนับเป็น​ equity ทุกกรณีโดยเฉพาะเงินฝากที่ไม่ได้มีจุดประสงค์เพื่อการลงทุน
    ถ้าเอาแค่เงินฝากที่มีจุดประสงค์เพื่อการลงทุนไปคำนวณเป็น​ ROE​ ธนาคารจะมี​ ROE​ เกิน​ 20% ไหม​ ถือว่ามากเกินไปสำหรับธุรกิจกึ่งผูกขาดที่ไม่ควรทำนาบนหลังคนนะ

    • @Fullji0201
      @Fullji0201 3 หลายเดือนก่อน +2

      มีกำไรแฝงอีกคือการบังคับทำประกันดังนั้นอัตราดอกเบี้ยแท้จริงตก7-7.5%

    • @ZOMoMoOZ
      @ZOMoMoOZ 3 หลายเดือนก่อน +1

      เงินฝากอยู่ฝั่ง Liability ของธนาคารรึเปล่านะครับ

  • @supkornpookapun
    @supkornpookapun 3 หลายเดือนก่อน +24

    ไม่เข้าใจ ส่วนต่างดอกเบี้ยในไทยคือ 7% ของสิงคโปร์ 2%
    ต่อมาบอกว่า NIM ของไทยแค่ 3%
    แล้ว NIM ของสิงคโปร์ละครับ ก็ยิ่งต้องต่ำมากเมื่อเทียบกับไทย
    ดูเหมือนคลิปนี้จะพยายามให้เข้าใจฝั่งธนาคารว่าทำไมต้องมีกำไรเยอะ
    ทำไมต้องมีส่าวต่างดอกเบี้ยเงินกู้เยอะ
    ซึ่งฟังแล้วก็ยังไม่เคลียร์
    เหมือนรับงานฝัางธนาคารมารึเปล่า?

    • @pipe2007full
      @pipe2007full 3 หลายเดือนก่อน +2

      ผมลองไปหาดู ของ sigapore เค้าได้แค่ 1.8 แล้วในปี 2021 เค้าเหลือ 1.2 เอง NIM แต่ลงทุนแมนเค้าไม่กล้าเล่าให้ฟัง 😂

    • @avadaily6146
      @avadaily6146 3 หลายเดือนก่อน +2

      ธ.ของสิงกะโป เขาสำรองหนี้เสียเยอะใหมล๊ะ ชาวบ้านสิงกะโปเป็นหนี้เยอะเหมือนชาวบ้านไทยรึเปล่า อย่าเอาไปเทียบกันเลย

    • @pipe2007full
      @pipe2007full 3 หลายเดือนก่อน +2

      @@avadaily6146 คุณงงอะไรเนี่ย ก็ nim ก็คือกำไรสุทธิไงครับ แปลว่าหักพวกสำรองหนี้เสียออกไปหมดแล้ว หักต้นทุนหมดแล้ว
      **แก้ไข เปรียบเทียบเหมือน ทำไมสิงคโปร์กำไร 1.2 บาทอยู่ได้ แต่แบงค์ไทยต้อง กำไร 3 บาทละครับ

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      ปล่อยกู้ MLR นะครับ ปกปิดในคลิปเลย

    • @PertureFriends
      @PertureFriends 2 หลายเดือนก่อน +2

      อวยแหละครับ เห็น 3-4 โพสแล้ว เขียนแต่ว่าธนาคารมีความเสี่ยงเยอะ
      ดูผลประกอบการ + ตั้งสำรองแล้วยังเหลือๆ
      คิดในแง่ดีอย่างน้อยก็ถือว่ามีข้อมูลในอีกด้านมาให้ดู

  • @chokccc915
    @chokccc915 3 หลายเดือนก่อน +56

    แบงค์รัฐตัวดี ต้นทุนต่ำอยู่แล้ว ปล่อยกู้ดอกเบี้ยเกินควร

    • @Neko59472
      @Neko59472 3 หลายเดือนก่อน +4

      กินปลาเยอะๆ ครับ

    • @marketplacegurun4547
      @marketplacegurun4547 2 หลายเดือนก่อน

      คือยังไงจะแย้งก้บอกดีๆ@@Neko59472

    • @chokccc915
      @chokccc915 2 หลายเดือนก่อน

      @@Neko59472 ผมก็ว่าคุณควรกินปลา+น้ำมันตับปลา เยอะๆนะ โครตเข้าใจยาก 555

    • @chokccc915
      @chokccc915 2 หลายเดือนก่อน

      @@Neko59472 เห็นด้วยครับคุณควรกินปลาเยอะๆครับ 555

  • @yutap9217
    @yutap9217 3 หลายเดือนก่อน +15

    ทำไม ...ฟังคลิปนี้แล้วรู้สึกว่าแก้ตัวให้ธุรกิจของธนาคารมากกว่า ใครคิดแบบนี้บ้างครับ😅

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      เอาหนี้เสียเป็นทุน และเอากำไรมากกว่าปกติ ต่างกัน 7 %

    • @copo4678
      @copo4678 2 หลายเดือนก่อน

      ++1😊

    • @mikopp4581
      @mikopp4581 2 หลายเดือนก่อน +1

      Me too

    • @suthunya19
      @suthunya19 2 หลายเดือนก่อน +1

      คิดเหมือนกัน😢 คำแก้ตัว การให้สินเชื่อ บริษัทใหญ่ๆแล้วล้ม

  • @copo4678
    @copo4678 2 หลายเดือนก่อน +4

    เคยชอบช่องนี้นะ แต่ทำไมคลิปนี้ฟังดูเหมือนกระบอกเสียงของ ธุรกิจธนาคาร จังครับ

  • @tedspar6354
    @tedspar6354 หลายเดือนก่อน

    อยากทราบการอ้างอิงครับ ข้อมูลมาจากไหนครับผม

  • @narongdachkunanun9
    @narongdachkunanun9 3 หลายเดือนก่อน +5

    ลองถามเด็ก
    เด็กยังรู้เลยว่าถูกเอาเปรียบ

  • @Sukit09
    @Sukit09 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ 😊😊😊

  • @9chortravelgames90
    @9chortravelgames90 2 หลายเดือนก่อน +2

    แล้วรายได้จากค่าธรรมเนียมต่างๆล่ะ ไม่เห็นพูดถึง

  • @keacha6457
    @keacha6457 3 หลายเดือนก่อน +3

    ธนาคารมีกำไรรวมแค่สี่หมื่นล้านใช่เหรอครับ หรือหมายถึง NIM
    แล้วถ้าตันทุนรวมต้นทุนความเสี่ยงด้วย เราจะใช้ ROE มาเป็นเหตุผลอ้างอิงมันจะถูกหรอ

  • @panchanatbueraung258
    @panchanatbueraung258 3 หลายเดือนก่อน +15

    อยากรู้เหมือนกันว่าทำไม หนี้เสีย มันมากขนาดนี้ smeมีความเสี่ยงมาก เป็นเพราะการที่ธรุกิจใหญ่ผูกขาดหรือไม่ ไม่ต้องมองอุสากรรมอื่น ธนาคารมีอยู่ไม่กี่เจ้า แล้วมาตั้งความเสี่ยงผลัก ภาระให้ผู้ฝาก คุณคิดว่าผู้ฝากที่เป็นประชาชนไม่มีความเสี่ยง? ฝากเงินทุกวันนี้ก็เหมือนไม่ได้อะไรอยู่แล้ว ดูการคุมครองเงินฝากก็รู้แล้วว่าเสี่ยงกับผู้ฝากมั้ย ฟังเค้ามา😅

    • @pku1594
      @pku1594 3 หลายเดือนก่อน +8

      ส่วนมากเกิดจากการขาดวินัยการใช้เงินของคนกู้ครับ กับมีพวกเจตนาโกง เหมือนมิจฉาชีพ กู้เสร็จได้เงินปล่อยเสียเลย

    • @panchanatbueraung258
      @panchanatbueraung258 3 หลายเดือนก่อน +4

      ผมว่าก็เป็นเพราะธนาคารอีกนั้นละ นี้ยังไม่รวมการรู้เห็นเป็นใจของเจ้าหน้าธนาคารที่อีกนะ ชอบทำคลิปมาให้มาอ้างนู้นนี้ กำไรน้อยบ้างความเสี่ยงบ้าง ขอให้เห็นใจหน่อย ต้มยำกุ้งเห็นว่าก็เป็นเพราะธนาคารอีกเนี่ยละ เอาเงินนอกมาในไทยยิ่งฟังยิ่งเห็น คนเก่งเยอะแยะแต่ปล่อยในมันเกิด คุณจะซอฟแลนดิ่งก็ได้ ไม่ต้องไปโทษจอดโซลอน หรอก คนเก่งทำงานตั้งเยอะในประเทศนี้ จะไม่เห็นเชียว? แล้วให้ประชาชนใช้หนี้ นี้ก็ฟังเค้ามาอีก😅

    • @joesj.462
      @joesj.462 3 หลายเดือนก่อน +2

      @@panchanatbueraung258 มันเป็นขบวนการใหญ่ ผู้มีอำนาจเป็นเจ้าของธนาคารเองด้วยควบคุมได้หมด55

    • @rewtsaraphon3973
      @rewtsaraphon3973 3 หลายเดือนก่อน +1

      เงินไหลออกนอกประเทศจำนวนมหาศาล ทั้งการพนันออนไลน์ หวยได้ดิน แก๊งคอลเซนเตอร์ หลอกหลวงให้ลงทุน พี่สิงคโปร์จีน รับกินหมด จะไม่รวยได้ไง

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      คนฝากตายด้วย

  • @user-dk3yp7pe3f
    @user-dk3yp7pe3f หลายเดือนก่อน +1

    คงไทยชอบเบี้ยว..ไม่ไม่หนีบ่จ่าย..แต่บังหนีไม่ได้บังมาทุกวันนะนาย....

  • @Redragon13154sdfaw
    @Redragon13154sdfaw 3 หลายเดือนก่อน +3

    โอกาสดีๆแบบนี้ อยากให้คนมาทำธุรกิจธนาคารเยอะๆ 55555555555555+

  • @yutrawee
    @yutrawee 3 หลายเดือนก่อน +8

    จำไม่ผิด FIDF ประชาชนจ่าย ไม่ใช่ธนาคารจ่าย จะเป็นต้นทุนเงินกู้ธนาคารได้ด้วยเหรอ

  • @daddydoooo
    @daddydoooo 2 หลายเดือนก่อน +1

    ธนาคารมีเงินฝากเยอะเกินพออยู่แล้ว เอาแค่ของที่คนรวยมาฝากก็มากพอจะปล่อยกู้ ดำเนินกิจการสบายๆ พอเค้าไม่ได้ต้องการเงินฝากเพิ่มสักเท่าไร เค้าก็ไม่จำเป็นต้องให้ดอกเบี้ยเยอะๆเพื่อล่อให้คนมาฝากเงินเพิ่ม สรุปง่ายๆคือปัญหามาจากความเหลื่อมล้ำนี่แหละ คนรวย รวยมากจนเงินฝากของคนรวยก็เกินพอแล้วสำหรับการดำเนินกิจการของธนาคาร

  • @mobigolfclub3928
    @mobigolfclub3928 3 หลายเดือนก่อน +4

    ลงทุนแมนอวยธนาคารจัง ประเทศอื่นยังต่ำกว่านี้ได้เลย

    • @appleiphone3590
      @appleiphone3590 2 หลายเดือนก่อน

      ไม่ได้อวยนะคะ ธนาคารน่าจะ จ้างให้ออกมาอธิบายให้ 555 (คาดเดานะคะ)​

  • @suwinaithailawan8112
    @suwinaithailawan8112 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณความรู้ดี ๆๆๆๆครับท่าน

  • @NoppachaiTungsinpulchai
    @NoppachaiTungsinpulchai 2 หลายเดือนก่อน +1

    เป็นอุตสาหกรรมผูกขาด

  • @Cattalog
    @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

    ปล่อยแบบ MLR ไม่ใช่ MT นะครับ ฟันคนกู้แบบมัดมิอชก แต่มันโป๊ะได้ คนส่วนมากโป๊ะหรือ

  • @chaiyanan_10
    @chaiyanan_10 3 หลายเดือนก่อน +22

    เเบงค์ กู้เงินในต้นทุนที่ต่ำเเต่ปล่อยกู้ในต้นทุนที่สูง

    • @rionia2st
      @rionia2st 3 หลายเดือนก่อน +1

      เพื่อกำไรสูงสุด

    • @narongphurahong7071
      @narongphurahong7071 3 หลายเดือนก่อน +2

      ผู้คุมกฎ ก้อข่างเอื้อประโยชน์ ให้ ซะเหลือเกิน รวยหยิบมือ จนกระจาย จะไปไหว หรอ ประเทศไทย

    • @ozuzuki9776
      @ozuzuki9776 2 หลายเดือนก่อน +1

      Bank nplพรุ้ง 5%ก็ขาดทุนเเล้ว

    • @satoshinakamoto7004
      @satoshinakamoto7004 2 หลายเดือนก่อน +1

      รู้แล้วก็ไม่ต้องกู้ครับ แก้ง่ายๆด้วยตนเอง มาโวยวายทำไม ผมอยู่แบบพอเพียงเลยไม่เดือดร้อนเรื่องเงินกู้555

    • @chaiyanan_10
      @chaiyanan_10 2 หลายเดือนก่อน

      @@satoshinakamoto7004 btc จะถึง 100000 USD มั้ยครับ

  • @user-vj4sn1hk3n
    @user-vj4sn1hk3n หลายเดือนก่อน

    นโยบายส่งเสริมการใช้เงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ส่งเสริมการลงทุนมากกว่าการออมเงิน ทำให้ ดอกเบี้ยฝากต่ำมานานเกือบยี่สิบปี ตราบใดที่ไปแบบนี้ เศรษฐกิจจะอ่อนตัวผันผวนไปเรื่อย เพราะขาดความมั่นคงทางนโยบายการเงินที่ควร ส่งเสริมการออม ลดการใช้จ่าย เพื่อแก้ปัญหาการใช้เงินเกินตัวของทั้งภาคเอกชนและรัฐค่ะ

  • @ippomakunouji5483
    @ippomakunouji5483 3 หลายเดือนก่อน +3

    โห ตัวเลขใหญ่ขนาดนี้ ยังได้กำไร 3%ผมว่าไม่น้อยนะครับ หากเทียบยอดขายกับกำไรเยอะกว่าแทบทุกธุรกิจละครับ😂😂

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      พี่ปล่อยดอกเบี้ย 1 ล้าน จ่ายครบเกือบ 2.8 ล้าน เพราะดอกเบี้ยทบต้น ทางคลิปไม่ยอมบอกเลย ป้องกันนายธนาคารหรือ ต้นทุนเป็นเงินฝากลูกค้าครับ เอาเปรียบแบบสุดโต้ง

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      ไม่ใช่มากกว่านั่น ดอกเบี้ย MLR ทบต้นทบดอก กำไรเกือบ 2.8 เท่าตัว คือ 280% คลิปไม่เอามาบอกหรือ

  • @tourallaround
    @tourallaround 2 หลายเดือนก่อน

    อธิบายได้เข้าใจมากครับ แต่ผมไม่อยากจ่ายแพงครับ😅😅😅

  • @riverkwai9
    @riverkwai9 2 หลายเดือนก่อน +4

    ปัจจุบันธุรกิจธนาคารได้กำไรมาก จากผลประกอบการปีที่แล้ว 2023 ได้กำไรและในตลาดหลักทรัพย์ค่าหุ้นก็เพิ่มขึ้นเพราะเจริญเติบโตดีมาก คนข้างบ้านทำงาน ธ.ไทยพาณิชย์ได้โบนัสมากกว่าทุกปี 😊

  • @ponislanta845
    @ponislanta845 3 หลายเดือนก่อน

    ภาระต้นทุน นอกเหนือ จากดอกเบี้ยเงินฝาก นั้น เป็นความรับผืดชอบ การบริหารจัดการ ของธนาคาร น่ะ .. ฤา ว่า เป็นอัตสาหกรรมผูกขาด / แข่งขันน้อย

  • @paulvic55
    @paulvic55 2 หลายเดือนก่อน

    แบ็งค์ชาติที่คุมแบ็งค์พานิชย์ ทำอะไรบ้าง หรือว่ายิ่งแบ็งค์พานิชย์กำไรมาก คือผลงานของแบ็งค์ชาติ

  • @Boonyarit_Seangwang
    @Boonyarit_Seangwang 3 หลายเดือนก่อน +1

    ดอกเบี้ยเงินฝากออมทัพย์แค่เศษผง 30สตางค์😂😂

  • @anancute9276
    @anancute9276 3 หลายเดือนก่อน

    แบบนี้ ก็นะบุถึงวินัยของคนในชาติดีนะ เพราะคนไม่มีวินัยทางการเงินมีมาก ก็มีหนี้เสียมาก ทำให้แบงค์ต้องเก็บดอกสูงไปชดเชยหนี้เสีย ซึ่งคาดว่า สิงคโปร์น่าจะมีวินัยดีกว่า อัตราชดเชยเลยต่ำกว่า.....มั้ย????

  • @codevanguard
    @codevanguard 3 หลายเดือนก่อน

    Put risk from lending to deposit money
    Profit to themselves
    But channel do not dare to say it

  • @theexp6321
    @theexp6321 3 หลายเดือนก่อน +3

    คนทำข้อมูลทำได้ไม่ดี เพราะธนาคารไม่ควรดู ROE เทียบ หลายๆข้อมูลก็นำเสนอออกมามันไม่ได้มีการเปรียบเทียบจริงๆ

    • @potAP_K
      @potAP_K 3 หลายเดือนก่อน

      ต้องดูที่อะไรครับ

    • @theexp6321
      @theexp6321 3 หลายเดือนก่อน

      ​@@potAP_K ธุรกิจธนาคารจะดู ROA เป็นหลักครับ

  • @erosser6755
    @erosser6755 2 หลายเดือนก่อน

    3:45 จาก1.4ล้านล้าน 27ปีผ่านไปยังเหลือ6แสนล้าน😮

  • @rionia2st
    @rionia2st 3 หลายเดือนก่อน +4

    ดอกเบี้ยออมทรัพย์หลายแบงค์แค่ 0.3 % ไม่ใช่ 0.5 เพิ่มจากเดิมที่ 0.25 %

    • @adunwattanaaponchai8160
      @adunwattanaaponchai8160 3 หลายเดือนก่อน

      มีทั้งถูกและแพงถ้าไม่เข้าใจค่าถั่วเฉลี่ยก็อย่าเม้นต์เลยอายเค้า

    • @rionia2st
      @rionia2st 3 หลายเดือนก่อน

      @@adunwattanaaponchai8160 จะแย้งในคลิปที่ว่าดอกต่ำสุด 0.5 % จริงๆ แล้ว แบงค์ยังไม่ให้ 0.5 % เลย ทั้งที่ดอกนโยบายสูง ให้แค่ 0.3 % จากเดิมช่วงก่อนดอกสูง ได้ 0.25 % เพิ่มขึ้น 0.05 % แต่ดอกกู้ ไปไกลแล้ว

  • @TigerBenz
    @TigerBenz 3 หลายเดือนก่อน +1

    ถ้าดอกเบี้ยเงินกู้ซื้อบ้านเหลือ 2% คนจะแห่กู้กันเยอะ .. NPL จะเยอะขึ้นเป็นเท่าตัว ..
    ถึงเวลานั้นธนาคาร คงเจ๊งกันหมด เพราะเงินตั้งสำรองไม่พอ

    • @aewmobile1391
      @aewmobile1391 หลายเดือนก่อน

      ดอกถูก คนกู้ก็จ่ายดอกลดสิไม่ดีตรงไหนเช่นกู้1ล้านเคยจ่าย7หมื่นต่อปี ลดเหลือ2หมื่น หนี้มันจะเสียเพิ่มได้ไง คนยิ่งมีเงินใช้จ่ายเพิ่ม หนี้เสีย เกิดจ่ายแบงค์ไม่ระวังในการปล่อยเอง ควรปล่อยเท่าไรของรายได้
      ไม่ดูรายรับรายจ่ายจริง ไม่ดูเงินคงเหลือสุทธิจริง เช่นหนี้สหกรณ์ที่ไม่อยู่ในระบบ เป็นต้น ไม่มีการจัดการเรื่องระบบเครดิตบูโรที่ดี
      ประเทศอื่น ดอกถูก ยังไม่เห็นเจ๊ง มีแต่ดอกแพงแล้วกำไรพุ่ง

  • @nateewichianpong3320
    @nateewichianpong3320 3 หลายเดือนก่อน

    ยิ่งสหรัส เพิ่มอัตราดอกเบี้ยยิ่งดี เงินบาทไทยจะอ่อนค่าเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจ เอาให้ 50 บาทต่อ 1ดอลล่าร์ยิ่งดี และให้ให้ไทยลดอัตราดอกเบี้ยด้วย ตลาดหุ้นจะลดมามีของถูกในตลาดเยอะ ผู้ประกอบการส่งออกเป็นผลดี แต่นำเข้านำเข้าจะได้นำเข้าน้อยลง ประเรามีหนี้ต่างประเทศน้อยมาก เอกชนโดยส่วนใหญ่ก็กู้หนี้ภายในประเทศ เงินทุนไหลเข้าสักวันก็ต้องไหลออก แต่ถ้าเราค้าขายเอาเงินไหลเข้ามานี้ซิประโยชน์แท้จริง

  • @pku1594
    @pku1594 3 หลายเดือนก่อน +2

    ผ่านไป 20 กว่าปี ผ่อนไปได้ 8 แสนล้านบาทเอง

    • @Cattalog
      @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

      ดอกเบี้ย MLR 7.5% ผ่อนจริงระยะยาว จ่ายเกือบ 3 เท่าตัว กู้ 1 ล้าน จ่ายเกือบ 2.8 ล้าน เพราะดอกเบี้ยทบต้น เข้าใจว่าโป๊ะได้ แบบนี้แฟร์แล้วหรือ

  • @user-tb1ki8fu1l
    @user-tb1ki8fu1l 3 หลายเดือนก่อน

    ตอนนี้ผมไม่ฝากแล้วครับ เก็บเองทำกำไรเองดีกว่า😁😁😁😁😁😁

  • @forzajuve3199
    @forzajuve3199 3 หลายเดือนก่อน

    ธนาคารกำไรไม่ได้เยอะจริงๆ แต่กำไรรวมกันกว่า 2 แสนล้าน หึๆ

  • @songsakjiewkok7228
    @songsakjiewkok7228 2 หลายเดือนก่อน

    สำหรับประเทศ คนไทยธรรมดาไม่ใช่กลุ่มนายทุน... ก็ต้องรับกรรมแล้วแต่ว่านายทุน(นายทุนในเครื่องแบบ)กำหนด ว่าจะหาวิธีรีดไถคนอย่างไร?

  • @user-js8bc7oz8f
    @user-js8bc7oz8f 2 หลายเดือนก่อน

    ลูกค้าชั้นดีของธนาคารคือข้าราชการ

  • @user-rg2fp9hh5l
    @user-rg2fp9hh5l 3 หลายเดือนก่อน +1

    ความเสี่ยงเอ็นพีแอลในไทยสูงกว่าถ้าคิดดอกเบี้ยน้อยก็จะมีโอกาสขาดทุนถ้าไม่มีเอ็นพีแอลเลยใครๆก็ปล่อยกู้ได้ไม่ต้อวธนาคารหรอกนอนรออยู่บ้านลูกหนี้ก็โอนเงินใช้หนี้ทุกงวดตรงเวลาคิดดอกแค่๓เปอรเซนต่อปีก็เหลือๆล่ะ

  • @kioneventure1668
    @kioneventure1668 2 หลายเดือนก่อน

    คุณภาพลูกหนี้ หนี้เสีย ส่วนต่างอัตราดอกเบี้ย ผลกำไรของธนาคาร

  • @thanwayodsaen5672
    @thanwayodsaen5672 3 หลายเดือนก่อน +1

    ก็ แบงชาติ ok นิ ก็ต้องตามนั้นล่ะ

  • @user-vs9ej4xo7o
    @user-vs9ej4xo7o 2 หลายเดือนก่อน +1

    หนี้ตั้งแต่ยุคฟองสบู่แตกปี 40 ดอกน้อยเพราะต้องหักดอกใช้หนี้ที่รัฐอุ้มใช้หนี้แทนพวกนักลงทุนที่กู้มาแล้วไม่มีปัญญาจ่ายคืน 😑😑😑

  • @Cattalog
    @Cattalog 2 หลายเดือนก่อน

    รัฐบาลไม่มีวิชาการเงินในแบบเรียน เพราะกลัวธนาคารเจ๊ง เพราะรัฐบาลกู้เงินภายในประเทศ จัดการง่ายกว่า เป็นแบบนี้มานานล่ะ _ เอาใจเศรษฐี เพราะต้องให้เศรษฐี 50 คน รวยเท่ากับคนที่เหลือในประเทศ มาควบคุมการหมุนเวียนเงินเฟ้อ เรื่องนี้มีนานล่ะ ประเทศนี้ใครรวยจะรวยแบบอัตราเร่งเร็วขึ้น

  • @user-dx9ft7cv5n
    @user-dx9ft7cv5n 2 หลายเดือนก่อน

    ปี 2566 ธนาคารทำกำไรกว่าแสนล้านบาท

  • @SY-nz9dh
    @SY-nz9dh 2 หลายเดือนก่อน

    เสือนอนกิน

  • @suksitphokhontong542
    @suksitphokhontong542 3 หลายเดือนก่อน

    ไม่มีตัวกลางก้จะไม่ต้นทุนหรือต้นทุนก้จะน้อยลง

  • @winvee290
    @winvee290 2 หลายเดือนก่อน

    Too big to fail😂😂

  • @metahiso
    @metahiso 3 หลายเดือนก่อน

    ไม่เกี่ยวกับรัฐบาล นะจ๊ะ
    ไปถามธนาคารกลาง ดิ
    ว่าทำไม ?
    ... ใครไม่พอใจ ก็ไปแก้กฎหมาย พรบ. การเงิน จร้าาา

  • @taneskhambanonda4179
    @taneskhambanonda4179 3 หลายเดือนก่อน +1

    ปัญหาธนาคารอีกอย่างหนึ่งคือการแทรกแซงจากภาครัฐเช่นการพักการชำระหนี้, ถูกบีบให้ปล่อยกู้กับลูกหนี้ที่ปรกติจะกู้ไม่ผ่าน ทำให้รายได้ส่วนหนึ่งเป็นเพียงตัวเลขทางบัญชี จัดเก็บไม่ได้และต่อไปจะกลายเป็นNPL

  • @tanapuntamoar458
    @tanapuntamoar458 2 หลายเดือนก่อน

    เอาไปใช้หนี้ไง ไม่รู้หรอ

  • @Herojava-to4cu
    @Herojava-to4cu 3 หลายเดือนก่อน +1

    ธนาคารดู ROE ได้หรอครับในการประเมินศักยภาพของกำไร?

  • @RaveDevil100
    @RaveDevil100 3 หลายเดือนก่อน +4

    ใช่เลยครับ FIDF มันมีหลายคนไม่รู้เรื่องนี้มากๆๆๆๆๆ ประชาชนทั่วไปเขาไม่เข้าใจว่าเรายังต้องใช้หนี้จากวิกฤตต้มยำกุ้งอยู่

    • @jirau1228
      @jirau1228 3 หลายเดือนก่อน +3

      จ่ายอะชาวบ้านจ่าย หรือแบงค์จ่าย ถึงกลายเป็นต้นทุนของแบงค์

    • @RaveDevil100
      @RaveDevil100 3 หลายเดือนก่อน +3

      @@jirau1228 แบงค์จ่ายสิ อย่างคุณก็แค่คนที่เดือดร้อนแล้วไม่ยอมคิดที่จะทำความเข้าใจอะไรเลย ในคลิปเขาก็ชี้แจงเหตุผลให้ฟังแล้ว ไหนจะหนี้เสียที่ธนาคารต้องแบกรับอีก หนี้เสียก็มาจากประชาชนที่บริหารเงินไม่เป็น ทำให้ธนาคารต้องมาแบกรับแทน ผลมันเลยไปลงกับดอกเบี้ยไงที่ต้องสูงไว้

    • @ippomakunouji5483
      @ippomakunouji5483 3 หลายเดือนก่อน +5

      แบงค์จ่ายแต่ก็เอามาบวกเป็นต้นทุนดอกเบี้ยอยู่ดี ก็เหมือนผลักภาระให้ประชาชนอยู่ดีแหละครับ ถ้าจะบอกแบงค์จ่ายจริงๆต้องไม่เอามาคิดเป็นต้นทุนไปเลยครับแบบนี้ถึงจะจ่ายจริง

    • @RaveDevil100
      @RaveDevil100 3 หลายเดือนก่อน

      @@ippomakunouji5483 เขาทำธุรกิจครับ ไม่ใช่มูลนิธิช่วยเหลือประชาชน ธนาคารเขาก็ต้องมีรายได้เหมือนกัน แล้วหนี้เสียที่เกิดขึ้น จะให้ธนาคารทำอย่างไร หนี้เสียมันก็มาจากประชาชนซะส่วนใหญ่ เขาถึงคำนวณแล้วว่าดอกเบี้ยประมาณนี้จะทำให้ธนาคารยังคงสภาพคล่องทางการเงินไว้อยู่ได้

    • @RaveDevil100
      @RaveDevil100 3 หลายเดือนก่อน

      @@ippomakunouji5483 ความคิดนี้ก็เห็นแก่ตัวเกินไป ทำไมเอามาคิดไม่ได้ เขาทำธุรกิจนะครับ ไม่ได้มูลนิธิช่วยเหลือประชาชน เขาก็ต้องนำส่วนที่เป็นต้นทุนท้้งหมดมาคิด เพื่อให้ธนาคารมีรายได้ มีกำไรในการบริหารธุรกิจ สิ่งที่คนสงสัยคือกำไรเกินควรไปไหม เขาก็คำนวณค่า nim ออกมาให้เห็น แต่คนบางกลุ่มก็กลับไม่ยอมรับอยู่ดี เพราะจิตใจมันแอนตี้ไปแล้ว ไม่เปิดใจรับฟังข้อเท็จจริงใดๆทั้งสิ้นที่มันฟังแล้วไม่เข้าหูพวกเขา

  • @say1rama
    @say1rama 3 หลายเดือนก่อน

    เอาเปรียบกันเกินไป ฟาดกำไรปีนี้เป็นแสนล้าน เพลินซิครับ

  • @thegodofnewwold1743
    @thegodofnewwold1743 2 หลายเดือนก่อน +1

    วิทยาศาสตร์เทียม 😂 มีแต่แก้ต่างไม่สะท้อนความจริง

  • @user-eo7ze3uc9p
    @user-eo7ze3uc9p 2 หลายเดือนก่อน

    พวกแบงค์ไม่ว่าของรัฐไม่ว่าของเอกชนจ้องแต่ฟันแต่จากกำไรอย่างเดียวไม่นึกถึงลูกค้า