Single Being EP.159 โรคอ่อนเพลียเรื้อรัง ชวนมาฟังแก้เพลีย

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ค. 2024
  • เพลีย เหนื่อย หมดแรง หมดพลัง ใครกำลังเป็นแบบนี้อยู่ บางที่คุณอาจเข้าข่ายเป็นโรคอ่อนเพลียเรื้อรังก็ได้นะคะ มาทำความรู้จักกับโรคนี้ว่าเกิดจากอะไร มีอาการอย่างไรบ้าง กับหมอผิงที่ Single Being กันค่ะ
    #SingleBeing
    ตอนนี้มีเรื่องอะไรบ้าง
    00:00 Intro
    02:17 อาการของโรคอ่อนเพลียเรื้อรัง
    04:54 พบได้บ่อยในใครบ้าง
    07:00 รู้สึกอ่อนเพลีย แก้ได้อย่างไรบ้าง
    11:03 นอนยังไงไม่ให้ตื่นมาเพลีย
    ถ้าชอบเนื้อหา ฝากกด Like และ กด Subscribe กันนะคะ
    สนใจหนังสือของหมอผิง สำนักพิมพ์ Pleasehealth Books
    กดลิ้งค์นี้ได้เลย 😊😊📚bit.ly/3Dkqx2f
    .
    Facebook: / pleasehealth. .
    Twitter: thidakarn
    Instagram: thidakarn
    Website : www.thidakarn.com
    LINE : @singlebeing
    Spotify : spoti.fi/3oBplDn
    Apple Podcast : ‎apple.co/3leSJgJ
    SoundCloud : bit.ly/2Ympvn0
    Podbean : bit.ly/3a9mKs3
    ได้มากกว่าเรื่องสุขภาพ ด้วยบริการพิเศษจากไทยประกันชีวิต
    Health Care Solutions คลิก: 😊bit.ly/3thfjcy
    #SingleBeing #ดีที่อยู่เดี่ยว #หมอผิง #ลดน้ำหนัก #ชะลอวัย #อาหารคลีน
    #วิตามิน #ผิวพรรณ

ความคิดเห็น • 11

  • @Mrpiz-art
    @Mrpiz-art 7 หลายเดือนก่อน

    ใช่เลย​ผมกำลังเป็นอยู่เลย​ครับ​

  • @kraiwatchatrojchai1530
    @kraiwatchatrojchai1530 ปีที่แล้ว +2

    ผมมีสภาวะอ่อนเพลียเรื้อรังตั้งแต่อายุ 25 เพิ่งมาหายตอนอายุ 42 ซึ่งไม่เคยรู้มาก่อนว่าสภาวะที่เป็น เรียกว่า โรคอ่อนเพลียเรื้อรัง / ที่หายขาดได้ คือ การกินอาหารแบบตัดคาร์บ โดยเน้นโปรตีน และไขมันจากสัตว์ ชัดเจนมากว่าอาหารสำคัญสุดๆครับ

  • @wrl1728
    @wrl1728 ปีที่แล้ว +4

    รักหมอผิง ขอบคุณนะค้า podcast no.1 ในใจ
    ทุกคอนเท้นคือตอบโจทย์ทุก problem list ที่มักจะเป็นเสมอเลย
    💓💕💗💕💓🙏🏻✨

  • @parnsst8864
    @parnsst8864 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากกก ฟังทุกอาทิตย์เลยค่ะ

  • @jusri456ma4
    @jusri456ma4 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากๆค่ะ

  • @nookkulnaree
    @nookkulnaree ปีที่แล้ว

    คุณแม่มีอาการแบบนี้อยู่พอดีขอบคุณสำหรับข้อมูลนะคะ

  • @user-yf1fk9br1k
    @user-yf1fk9br1k 5 หลายเดือนก่อน

    เพลีย

  • @chaz838
    @chaz838 ปีที่แล้ว

    1.ดื่มน้ำเพียงพอ
    2.เลี่ยงแอลกอฮอล์ และคาเฟอีนที่มากเกินไป
    3.เลี่ยงอาหารมื้อใหญ่เกินหรือน้ำตาลสูง กินอาหารต้านการอักเสบ(ผัก ถั่ว ปลา น้ำมันมะกอก)
    4.ออกกำลังกายให้เหมาะสม คาร์ดิโอ 150-300 นาที/สัปดาห์
    5.นอนเพียงพอ 7-8 ชม./วัน ไม่เลื่อนเวลาไปมา หลับลึก สำรวจภาวะนอนกรนหรือหยุดหายใจตอนนอนเสมอ