Emotional Agility 4 ขั้นตอนในการเท่าทันอารมณ์ตัวเอง | Readery EP.112

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 27 ธ.ค. 2024

ความคิดเห็น • 23

  • @nakinariya7038
    @nakinariya7038 3 ปีที่แล้ว +88

    4 ขั้นตอน
    Emotional Agility
    1. Showing Up เผชิญหน้ากับอารมณ์​ที่เกิดขึ้นอย่างจริงใจซื่อสัตย์กับตนเอง เสร็จแล้วนิยามอารมณ์​ที่เกิดขึ้น(Label it)ทำให้เรารู้จักแยกแยะ​ได้ดีกว่าเพียงแค่ว่ามันเป็นความรู้สึก " +หรือ - "
    2. Stepping Outก้าวออกมา (Zoomout)ถอยออกมามอง ต.ย.เช่นเขียนออกมาให้หมด:Free Writing, Bojo หรือ Free Drawing ระบายออกมาให้หมด การทำสิ่งที่จะทำให้เราแยกตัวเองออกจากอารมณ์​ เพราะมันได้ถูกจารึกไปกองอยู่ในสมุดหมดแล้ว อารมณ์​ไม่ใช่ตัวเราของเรา...
    3. Walking your Why
    ทำในสิ่งที่ตนเชื่อมั่นCore Valueของเราคือ? คุณ​ค่าที่เราถือ ทำอย่างไรที่จะนำพาอารมณ์ที่ได้เกิดขึ้นแล้วให้มาเป็นเชื้อเพลิงแก่ชีวิตของเรา...
    4. Moving On: เดินหน้าต่อไป
    ไม่ยอมให้ตนเองจมปรักอยู่กับอารมณ์ใดๆ
    ดร.ซูซาน เดวิด ระบุว่า
    " การปิดกั้นความคิดหรืออารมณ์เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ เราควรระมัดระวังเกี่ยวกับเรื่องประสบการณ์ภายในใจของเราและอย่าไปติดกับกับมัน แต่จงใช้ทรัพยากรที่เรามีให้เหมาะสมและเป็นในทิศทางเดียวกันกับคุณค่าของเรา "
    อ้างจาก: Siamchamnankit
    "ทักษะการซื่อสัตย์ต่อหัวใจตัวเอง" Emotional Agility โดย Suthasinee Lieopairoj
    Aug 14, 2020

    • @whiteniti6453
      @whiteniti6453 3 ปีที่แล้ว

    • @nc4792
      @nc4792 5 หลายเดือนก่อน

      Qqq qq The q is q and the q is

  • @maleficentsati501
    @maleficentsati501 3 ปีที่แล้ว +7

    ชอบที่เลือกหยิบหนังสือแต่ละเล่มดีๆ มาอ่าน
    แต่ไม่เห็นตรงกับมุมมองหลายๆประการของพิธีกรสองท่าน
    รู้สึกว่า มีมุมมองกว้างไม่มากพอ มีความชี้นำ แต่มั่นใจ ว่า ถูกแล้ว โดยเฉพาะด้านสังคม จิตใจ
    จริงๆ เปิดโอกาสให้ผู้ฟัง มีมุมมองที่หลากหลายได้มากกว่านี้
    Podcast นี้คือ ตัวอย่างของปัญญาจากการอ่าน มิใช่ปัญญาของการลงมือทำด้วยตนเอง

  • @Minibomjames
    @Minibomjames 3 ปีที่แล้ว +5

    mindfulness หลักการมันคล้ายๆสถานปฎิบัติธรรมที่เคยไปเลย เขาบอกว่า เรารู้ตัวไหมว่าเรามีสติ ระหว่างแปรงฟันเรารู้ตัวไหมว่าเราแปรงฟันยังไง ถึงซี่ไหน มันใช่หลักการเดียวกันเลย

  • @RH_YUUHARINN1964
    @RH_YUUHARINN1964 3 ปีที่แล้ว +3

    "ความคล่องแคล่งทางอารมณ์" 🤔 ชอบประโยคนี้ !......

  • @roseta6682
    @roseta6682 3 ปีที่แล้ว +4

    ยังมี value 10 ข้อ น่าสนใจ 40:44

  • @suphamitphawaphutanon6769
    @suphamitphawaphutanon6769 3 ปีที่แล้ว +5

    🤔ทริคนี้ใช้ได้เมื่อทบทวนอยู่คนเดียว
    แต่พอจะเอาไปใช้ข้างนอกกลับรู้สึกไม่ปลอดภัยที่จะคิด🤯

  • @nachapair
    @nachapair 3 ปีที่แล้ว +10

    คลาส Hero’s Journey หาข้อมูลได้จากไหนคะ

  • @idear1892
    @idear1892 3 ปีที่แล้ว

    เพิ่งเคยมาฟัง ขอบมากค่ะ อธิบายเห็นภาพ

  • @kkeng
    @kkeng 3 ปีที่แล้ว +4

    รอมา 2 อาทิตย์ ในที่สุด ep ใหม่ก็มา เย้

  • @kanladab.6397
    @kanladab.6397 3 ปีที่แล้ว +17

    จะบอกว่า เริ่มอ่านหนังสือประเภท วรรณกรรม ช่วงโควิดมานี้เองค่ะ
    มันทำให้เราเข้าใจอารมณ์คนอื่นๆ รวมถึงอารมณ์ตัวเองมากขึ้นจริงๆ
    ปล.เริ่มอ่าน ปาฏิหาริย์ ร้านขายของชํานามิยะ ค่ะ

  • @nichareejan
    @nichareejan 3 ปีที่แล้ว +6

    ฟังแล้วรู้สึกอยากลองนำไปใช้จริงเลยค่ะ มีแววจะได้หนังสือใหม่อีกแล้ว :D

  • @someruayhuaypingpong2771
    @someruayhuaypingpong2771 3 ปีที่แล้ว +3

    แนวคิดและวิธีการจัดการเรื่องอารมณ์ มันเหมือนกับในศาสพุทธที่เคยสอนไว้แล้วเลยครับ แต่ศาสนาพุทธจะลงเชิงลึกมากกว่านี้เยอะ ถ้าได้ลองศึกษาและปฎิบัติ

  • @orathaisohta7889
    @orathaisohta7889 3 ปีที่แล้ว

    อยากให้เห็นหน้าคนพูดด้วยค่ะ อยากฟังแบบเห็นหน้าค่ะ

  • @venus2695
    @venus2695 3 ปีที่แล้ว

    รู้สึกอยากซื้อมาอ่านมากกก (อารมณ์อยากอ่าน)

  • @Arr_Montt
    @Arr_Montt 3 ปีที่แล้ว

    4:58

  • @noomsurinbandcover9501
    @noomsurinbandcover9501 3 ปีที่แล้ว +3

    การรู้ทันอารมณ์ รู้ระงับอารมณ์ บุคคลที่คนพบกฏเกณนี้คือพระพุทธเจ้า แต่คนไทยส่วนไม่สนใจ สนใจเรื่องโงๆหลอกๆ ในพุทธศาสนามากกว่าสิ่งที่เป็นจริง

  • @nadchanokpisansathienwong8311
    @nadchanokpisansathienwong8311 3 ปีที่แล้ว +1

    แล้วถ้าการแก้ไขอารมนั้นมันทำร้ายคนอื่นละคะ สุดท้ายก็ไม่กล้าทำตามสิ่งที่ตัวเองให้ความสำคัญอยู่ดี แงงงงง

    • @nakinariya7038
      @nakinariya7038 3 ปีที่แล้ว

      ถ้าสื่อสารกันถึงที่สุด คงต้องว่าเราจะละทิ้งคนอื่นหรือละทิ้งตนเอง ตามแต่สถานการณ์...

  • @arissamc8330
    @arissamc8330 3 ปีที่แล้ว +2

    ที่สุดการจัดการอารมณ์ ก็วนกลับไปที่อดทน และไม่ยอมรับการแสดงอารมณ์อยู่ดี

  • @Ponhubz
    @Ponhubz 2 ปีที่แล้ว

    ยังมีข้อดีอยู่บ้างงงว