วอร์ดทั่วไปกับ ICU ต่างกันอย่างไร กรณีไหนที่ต้องดูแลใน ICU

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 1 ก.พ. 2025

ความคิดเห็น • 165

  • @Euang-Mali
    @Euang-Mali 2 ปีที่แล้ว +6

    😊แวะเข้ามาทักทายค่ะ
    วอร์ดทั่วไปกับ ICU
    ตอนนี้รถบนถนนเกือบทุกสายมุ่งสู่
    กรุงเทพ รถติดมากกกกกกกกกกก
    ขอบคุณมากค่ะ
    🌹❤🌹

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +2

      ใช่ค่ะเอื้องมะลิ 🚘เยอะมาก นี่อยู่แถวชะอำ เข้า กทม เหมือนกันค่ะ

    • @Hoshi1451
      @Hoshi1451 2 ปีที่แล้ว +1

      @เอื้องมะลิ เดินทางปลอดภัยนะคะ

    • @Euang-Mali
      @Euang-Mali 2 ปีที่แล้ว +1

      @@Hoshi1451 😊ขอบคุณค่ะ💖

  • @kunnika
    @kunnika 2 ปีที่แล้ว +2

    รพ.รัฐ บาง รพ.ใน กทม หอผู้ป่วยศัลยกรรม อายุรกรรม ที่คุณพ่อเคยไปพัก เตียงนอน 2 ล็อคแรกก็คือสอดท่อหมดเลยค่ะ บางครั้งเสียชีวิตในวอร์ด ก็คือเข็นผ่านผู้ป่วยที่ไม่ได้เป็นอะไรมาก เล่นเอาใจเสียไปกันทั้งวอร์ดค่ะ

  • @AL86-y2l
    @AL86-y2l 2 ปีที่แล้ว +7

    สวัสดีตอนเช้าค่ะอาจารย์หมอแทน วันนี้พูดเรื่องICU หลายโรคที่ต้องเข้ารับการรักษาในICUหลายคนไม่ทราบแน่นอนค่ะนอกจากแพทย์.และผู้ที่มีหน้าที่อยู่ในร.พนั้นๆดีค่ะที่นำมาพูดให้คนทั่วไปภายนอกทราบไว้เมื่อเข้าไปใช้บริการของร.พและรับการรักษาบางครั้งเป็นญาติ บางครั้งเป็นคนไข้ ที่ไทยมีICUที่ไม่มีใครอยากให้ใครเข้าเลยค่ะ ในแต่ละห้องในICUมีอุปกรณ์มากๆ น่ากลัว มีพยาบาลสองคนแต่บางครั้งเจอคนเดียว คงเป็นช่วงกลางคืน แต่ละตึกก็มีICUคงไม่มากเท่าที่อเมริกานะคะ เค้ามีความพร้อมและทันสมัยมากกว่าไทยเยอะ ค่ะ หมอเฉพาะทางแยกเห็นชัด เวลาผ่าตัดในเศสยากๆจะมีหมอเข้ามาช่วยหลายคนอันนี้ทราบจากการที่ญาติเข้ารับการผ่าตัดค่ะขนาดผ่าเล็กยังต้องใช้ทีมพร้อมจึงจะลงมือค่ะ คุณหมอมาเล่าดีมากเลยได้ทราบของทางอเมริกา ชอบเค้าแยกมีห้องมากเลย คุณหมอคงเห็นความเจริญก้าวหน้าของประเทศเค้ามาเล่าเราจะได้พัฒนาให้ดีขึ้นนะคะ ขอบคุณค่ะเคยเห็นคุณหมอใส่ชุดอวกาศในmemberค่ะดูดีทีเดียวขอบคุณที่มาเล่าเป็นความรู้อีกอย่างค่ะ 👍🙏💥❤😍

  • @krunok8012
    @krunok8012 2 ปีที่แล้ว +7

    คุณหมอเป็นคนที่มีจิตใจอ่อนโยน ละเอียดอ่อน ไม่ได้มองอะไรผิวเผิน ถือเป็นบุญและโชคดีของคนที่เป็นคนไข้ของคุณหมอนะคะ

  • @Lek44888
    @Lek44888 2 ปีที่แล้ว +6

    สวัสดีค่ะอาจารย์
    วันนี้อาจารย์มาเล่าเรื่อง วอร์ดทั่วไปกับ ICU น่าสนใจมากค่ะ เพราะดิฉันก็ยังไม่เคยทราบ การดูแลผู้ป่วยใน ICU มาก่อนเลยค่ะ
    ก่อนอื่นอาจารย์บอกว่าต้องจัดลำดับความเสี่ยงก่อน ว่าจะอยู่ห้องแบบไหน
    เริ่มด้วย วอร์ดสามัญทั่วไป จะเป็นผู้ป่วยที่อาการไม่หนักมาก ผ่าตัดเล็ก ผ่าตัดไส้ติ่ง เป็นต้น
    ผู้ป่วยจะมีความดันปกติ
    ไม่ต้องใช้ออกซิเจนขนาดสูง
    ถ้าผู้ป่วยมีอาการฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้น พยาบาลดูแลบ่อยขึ้น
    ต้องเพิ่มพยาบาล ก็จะมาอยู่ ห้องที่เพิ่มความฉุกเฉินขึ้นมาอีกนิด แต่ยังไม่ถึง ICU จะอยู่ ระหว่างวอร์ดทั่วไป กับ ICU
    ถ้าผู้ป่วยมีความดันโลหิต เปลี่ยนตลอดเวลา บางครั้งมีความจำเป็นต้องปรับยาตลอด
    หรือบางครั้งมีความจำเป็นต้องใช้ยาบางตัว ต้องดูแลเป็นพิเศษ จะต้องมีพยาบาลดูแล 1คนต่อคนไข้ 2 คน ผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องอยู่ห้อง ICU
    ICU มีหลายประเภท
    - ICU อายุรกรรม เป็นกลุ่มที่ไม่ได้รับการผ่าตัด ดูแลเรื่องทั่วไป เช่นการติดเชื้อในกระแสเลือด
    ตับวายรุนแรง กรวยไตเกิดการอักเสบ ปอดอักเสบรุนแรง ตับวายรุนแรงเป็นต้น
    - ICU ระบบประสาท มีการผ่าตัดสมอง สมองขาดเลือดเฉียบพลัน ต้องมีแพทย์เฉพาะ
    ด้านนี้ เป็นคุณหมอทางระบบประสาท และต้องรู้เรื่อง
    อายุรกรรมด้วย เพราะต้องมีการให้ยาด้วย
    - ICU กลุ่มโรคหัวใจ เช่นคนไข้ที่มีเส้นเลืดอุดตันในหัวใจ ลิ้นหัวใจรั่ว ต้องอยู่ในความดูแลใกล้ชิด
    - ICU ศัลยกรรม ต้องดูแลใกล้ชิด เช่นการผ่าตัดมะเร็งใน
    ช่องท้อง ต้องเปิดช่องท้องให้ใหญ่
    อาจมีการแทรกซ้อนได้
    - ตึกพิเศษเฉพาะพิเศษ เป็นตึกสำหรับปลูกถ่ายไขกระดูก คนไข้จะไม่มีภูมิต้านทานเลยคือเป็นศูนย์
    ต้องดูแลเรื่องความสะอาด เต็มร้อย ไม่อย่างนั้นคนไข้อาจเสียชีวิตได้ ผู้ที่เข้า ICU ห้องนี้จะต้องสวมชุดอวกาศเต็มยศ คนไข้ได้รับอะไรนิดหน่อยอาจเสียชีวิตได้
    - ICU ปลูกถ่ายเซลต้นกำเนิด
    - ICU ด้านพันธุกรรม ต้องเป็นหมอทางด้าน พันธุวิทยา
    - ICU ของเด็กก็มี เช่น ICU ศัลยกรรมเด็ก ICUอายุรกรรมเด็ก
    ICU เด็กแรกคลอด บางรายต้องอยู่ในตู้อบ หรือ คลอดก่อนกำหนด ICU คนท้อง
    ห้อง ICU คือห้องที่ดูแลผู้ป่วยหนัก เป็นพื้นที่พิเศษ ที่จัดไว้เพื่อรักษา ดูแล อาการคนที่ป่วยหนัก
    หรือสาหัส เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
    จะมีทีมแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เฝ้าระวังดูอาการ ของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด และคอยบริหารจัดการ ให้อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วยได้ทัน
    ท่วงที่ ICU นอกจากจะเกี่ยวข้อง
    กับขีวิตของผู้ป่วยแล้ว ยังเป็น
    แหล่งรวมความเป็นห่วง ความหวัง ของญาติ ดังนั้น ทั้งแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ จึงได้มีการสื่อสาร ร่วมมือกัน เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนให้ผู้ป่วยพ้นจากภาวะวิกฤตนี้ ให้เร็วที่สุด
    ขอบคุณอาจารย์ค่ะ🙏🏻

  • @วิยดาคุนินทกุล
    @วิยดาคุนินทกุล 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณมากๆค่ะสำหรับความรู้ดีๆค่ะได้ทั้งความรู้และได้ศัพท์ ด้วย
    คุณหมอให้ความรู้ข้อมูลดีๆทุกๆวัน
    ผลบุญในชาตินี้ช่างยิ่งใหญ่ ขอให้ผลบุญส่งผลในชาตินี้และชาติหน้าให้คุณหมอเจริญรุ่งเรือง สุขภาพแข็งแรงปลอดภัยแคล้วคลาดจากภัยอันตรายใดๆทั้งปวงยอด ผู้ติดตามคุณหมอต้องถึงล้านหรือเกินแน่นอนค่ะ🙏🙏🙏🙏🙏

  • @maneeann
    @maneeann 2 ปีที่แล้ว +9

    สวัสดีค่ะ อจ วันนี้ยอดผู้ติดตาม Doctor Tany เพิ่มเป็น 2.48 แสนคนแล้วนะคะ เพิ่มทุกวินาทีเลยทีเดียว ยินดีกับ อจ ด้วยค่ะ 👏👏👏💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐💐

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +6

      ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ 2.48 แสนคนนี่ แค่สนามราชมังคลาไม่พอจริงๆค่ะ

    • @Euang-Mali
      @Euang-Mali 2 ปีที่แล้ว +2

      😊💖👍👍👍👍👍👍👍👍💖

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +2

      👍👏💐🥰

    • @Hoshi1451
      @Hoshi1451 2 ปีที่แล้ว +2

      😊🎉🧑‍⚕️🌟🌟🌟🌟🌟🐶🌹

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +6

      ฮูเร่ๆๆ

  • @chittipornchuatram5703
    @chittipornchuatram5703 2 ปีที่แล้ว +4

    เคยสงสัยเหมือนกันค่ะ อ่อเป็นแบบนี้นี้เอง ขอบคุณหมอมากนะค่ะที่อธิบายข้อมูลในการรักษาเกี่ยวกับ ICU เข้าใจว่าสำหรับคนไข้ที่อยู่ในห้อง ICU ก็คืออาการจะหนักมากอะไรประมาณเนี้ยค่ะ ตอนนี้เข้าใจแล้วค่ะ ว่าICU มีหลายแบบ
    จริงๆอยากให้หมอมาแนะนำวิธีในเรื่องของการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเกี่ยวกับโรคต่างๆ ถ้ามันเกิดขึ้นกับเราและคนในครอบครัว เราควรจะปฐมพยาบาลยังไงได้บ้างระหว่างรอ สำหรับคนที่ห่างไกลจากโรงพยาบาล ถ้าหมอยังพอมีเวลานะค่ะ เชื่อว่าน่าจะเป็นประโยนช์ไม่มากก็น้อยกับทุกๆคนค่ะ
    🤗😘Take care nasa

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +6

      ไว้จะมาพูดให้ฟังครับ

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +2

      +1 ค่ะ

    • @chittipornchuatram5703
      @chittipornchuatram5703 2 ปีที่แล้ว +2

      @@DrTany ขอบคุณหมอมากๆนะค่ะ👍🤗😘❤

  • @somchitpinkaeo2841
    @somchitpinkaeo2841 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณ​สำหรับข้อมูล​ดีๆที่คุณ​หมอ​เล่าให้คนทั่วไป​ได้มีโอกาสรับรู้ ​ และนำประสบการณ์​การทำงานในต่างประเทศ​ถ่ายทอดให้คนทั่วไป​และบุคลากร​ทางการ​แพทย์​ได้รับรู้ขอให้บุญกุศล​นี้ส่งผลให้คุณหมอ​มี​สุขภาพ​แข็งแรง​มีความสุข​ความเจริญ​นะค่ะ

  • @luxanawadeeboonyasirinun6378
    @luxanawadeeboonyasirinun6378 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณค่ะ แค่นี้ก็ได้รายละเอียดความรู้เยอะเลยค่ะ (ตอนปิดเทอมเคยแต่วิ่งเล่นที่ตึก ภปร. ข้ามไปตึกนั้น หอนี้ ห้องโน้น ทราบแต่ละหน้าที่คร่าวๆ ซึ่งเห็นแต่คนมีความทุกข์ หน้าเศร้า บางคนนั่งร้องไห้ มองแล้วรู้สึกหดหู่ใจ) ยังโชคดีที่ผ่านมาชีวิตยังไม่เคยอยู่ห้อง ICU ค่ะ ในครอบครัวก็ยัง...อย่าอยู่เลยนะคะ สาธุ ข้าม เคาะๆๆ โยนทิ้ง เฮ้อ!😅 แต่ตอนนี้ ชอบ I C U วันไหนไม่ได้เห็นหน้าเหมือนชีวิตขาดอะไรไป สมองว่างๆ ยังไงไม่รู้ค่ะ555

  • @khuanchitsaichan4576
    @khuanchitsaichan4576 2 ปีที่แล้ว +6

    บางครั้งไปโรงพยาบาลก็นั่งมองป้ายชื่อห้องไปเรื่อย แล้วก็เก็บความสงสัยไว้ในใจ😁 ฟังอาจารย์หมอได้ความรู้เพิ่มขึ้นมากเลยค่ะ #ขอบคุณอาจารย์หมอมากค่ะ😍

  • @bupphalovenature8265
    @bupphalovenature8265 2 ปีที่แล้ว +7

    เป็นความรู้ และเคยสงสัยในการแยกหวอดของโรงพยาบาล แต่ไม่เคยมีใครมาเล่าหรืออธิบายให้ฟัง ขอบคุณ คุณหมอ ที่นำมาเล่าให้ฟังกันค่ะ...🙇‍♀️🙇‍♀️

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 2 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณค่ะอาจารย์หมอ สำหรับคลิปวันนี้ ได้รับความรู้มากขึ้นทุกวัน ผู้ติดตามก็เพิ่มมากขึ้น ยินดีด้วยค่ะ อาจารย์มาให้ความรู้ จึงเป็นที่รัก และเคารพของคนทั่วไป
    เคยเข้าไปเยี่ยมผู้ป่วย ใน ICU หลังจากเขาเข็นมาจากห้องผ่าตัด ผู้ป่วยเส้นโลหิตในสมองแตก จากICUก็ย้ายไปอยู่วอร์ดทั่วไป เห็นเขาติด ICU ROOM ที่รพ.เอกชนก็เห็นติดไอซียู อย่างเดียวค่ะ ที่ไหนมีแบบอื่นบ้างก็ไม่ทราบ
    ขอให้อาจารย์มีความสุข สุขภาพแข็งแรงค่ะ

  • @kasirapaenpiboonlap2589
    @kasirapaenpiboonlap2589 ปีที่แล้ว +1

    ชอบคุณหมอมาก อธิบายชัดเจน ให้ความรู้ที่ถูกต้อง ทำให้รู้สึกไว้ใจสบายใจเมื่อได้ฟังคุณหมออธิบายค่ะ

  • @jitpakornboonna9565
    @jitpakornboonna9565 2 ปีที่แล้ว +3

    🙏👨‍⚕️😇 ค่ะ ไม่เคยรู้มาก่อน วันนี้ได้รู้จากคลิปคุณหมอนี่แหละค่ะ
    2-3 คลิปก่อนหน้า รวมถึงคลิปนี้ ทำให้นึกนึง tele medicine เลยค่ะคุณหมอ
    ทำให้คนไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์พอนึกภาพออก และเข้าใจระบบวอร์ดมากขึ้น
    ขอบคุณความรู้ที่คุณหมอให้เป็นวิทยาทาน ขอให้คุณหมอสุขภาพจิตแจ่มใส สุขภาพกายแข็งแรงนะคะ 🙏
    และในวันนึงที่เราต้องไป ขอให้เราไปสบายๆ ไม่ต้องเข้าไปอยู่ใน icu 🙏

  • @ptphone8011
    @ptphone8011 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะอาจารย์หมอฟังแล้วได้ความรู้เข้าใจเรื่องวอร์ดทั่วไป ห้อง ICU การรักษา การดูแลคนไข้ค่ะ ขอบคุณอาจารย์หมอเป็นอย่างสูงค่ะ

  • @tarungtiwa2710
    @tarungtiwa2710 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีคะ=ประเทศไทย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ วันนี้คุณหมอมาพูเรื่อง ไอซียู ทำให้ตานึกขึ้นได้เคยดูเรื่องหนึ่งเป็นซีรีย์ฝรั่งในช่อง Fox ไทยเรื่อง ไอซียูคะสนุกๆมากๆติดตามตลอดจนจบแต่ตอนนี้ช่องนี้หายไปไหนก็ไม่รู้คะมีซีรีย์สืบสวนเยอะมากๆคะ CSI ชอบคะดูเกือบทุกเรื่องคะ😊 ตาขอให้คุณหมอมีความสุข สุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยนะคะ.🙏😷🌹

  • @arpornphengtako8345
    @arpornphengtako8345 2 ปีที่แล้ว +3

    อธิบายได้ดีมากเลยคะ เข้าใจง่ายและชัดเจนคะ ขอบคุณที่ให้ความรู้คะ

  • @wisanukongpreechasakul2481
    @wisanukongpreechasakul2481 2 ปีที่แล้ว +2

    ตอนนี้ เพื่อนผม ประมาณ 10กว่าคน ติดโควิด บ้างคนรอบที่1บ้างคนรอบที่2 ตอนนี้ตรวจATK วันที่5ก็ขึ้น1ขีด แล้ว วันที่6จะออกจากบ้านทำงาน สามารถแพร่เชื้อได้ไหมครับอาจารย์หมอ

    • @Chefaey
      @Chefaey 2 ปีที่แล้ว +4

      ตอบส่วนนี้ให้นะคะยังออกไม่ใด้นะคะ ต้องกักตัวให้ครบ10วันถึงจะไม่แพร่เชื้อ
      ปล ถ้ามีอะไรเพิ่มเติมหมอจะมาต่อให้จากเม้นนี้นะคะ

  • @wizardread523
    @wizardread523 2 ปีที่แล้ว +1

    ติดตามคุณหมอทุกคลิปครับ เพราะมีพี่ชายป่วยเป็นปอดอักเสบครับ ตอนนี้อาการกำลังดีขึ้น หย่าเครื่องช่วยหายใจและถอดเครื่องช่วยได้แล้วครับ

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +1

      รีบกายภาพออกกำลังกายเลยครับ ช่วงนี้ต้องรีบแข็งแรงขึ้นมาก่อนจะเกิดภาวะแทรกซ้อนครับ

    • @wizardread523
      @wizardread523 2 ปีที่แล้ว

      @@DrTany ขอบคุณครับ คุณหมอ ❤️

  • @CherryChonny
    @CherryChonny 2 ปีที่แล้ว +3

    คุณหมอคะ🌻🌻 เอาดอกไม้มาฝากค่ะ
    1) คุณหมอเชี่ยวชาญวิกฤตบำบัด หมายความว่ายังไงหรือคะ critical care คล้ายกับ ICU ไหมคะ
    2) คุณหมอเหนื่อยไหมคะ วันนี้เราเหนื่อยมากๆเลย แต่ก็มีความสุขดีค่ะ 😉😉
    ขอบคุณมากๆค่ะ 🧡🌻🧡🌻

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +5

      Critical care ก็ดูคือเชี่ยวชาญการดูแลคนไข้ ICU ต่างๆนี่แหละครับ

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว +1

    กราบสวัสดีค่ะคุณหมอ วันนี้มีเรื่องมาถาม พัวพันพัวพันใน ICU นี่แหละค่ะ คือเกิดเรื่องว่าคุณลุงเราอายุ94ปี ท่านต้องเข้า ICU ปกติท่านแข็งแรง อาชีพก่อนหน้านี้ท่านเป็นศัลยแพทย์ urology ที่ Wisconsin มา6ปี เรียนที่ Wisconsin นั่นแหละ จากนั้นกลับไทยทำงานได้จนเกษียณ วันหนึ่งอาทิตย์ที่แล้ว ลุงอ่านหนังสือพิมพ์รอทานข้าวเที่ยงพร้อมป้าเราที่ไปธุระข้างนอก ป้ากลับมาพบว่าลุงนั่งที่เก้าอี้นิ่งตัวตรงเป๊ะบนเก้าอี้ ไม่พิงไม่เท้าแขน หลับตาไม่รู้สึกตัว ตัวเย็นสนิท แต่ยังหายใจ ป้าเราอายุ93 ช่วยชีวิตเบื้องต้นเอง (ป้าเราเป็นหมอเด็กที่Boston มา6ปีเหมือนกันก่อนกลับไทย) เรียกรถฉุกเฉินไปด้วย เข้า ICU ได้ภายใน30นาที คนไข้หายใจเองได้ แต่ไม่รู้สึกตัว CT พบจุดเลือดเล็กๆที่สมอง4จุด แพทย์ลงความเห็นว่า stroke และไม่รู้หมดสตินานแค่ไหนแล้ว อาจจะอยู่ในสภาพนี้ไปตลอดแล้ว คืนนั้นเองพยาบาลห้องฉุกเฉินเขามาทำหัตถการกะจะใส่สาย feed สายอะไรต่ออะไร ลุงลืมตาขึ้นมา ดุพยาบาลว่าใส่สายfeedแบบนี้ได้ไง สอนๆๆ ห้ามเจาะคอ ฯลฯ หมอวิ่งมาดูพบว่าลุงพูดถูกทุกอย่างสอนถูกด้วย คุยรู้เรื่องทุกอย่าง ดื่มน้ำได้ เช้าเขาเลยย้ายจากICUมาห้องปกติ จากนั้น1วันเราพบว่ากล้ามเนื้อการกลืนเริ่มใช้ไม่ได้ พูดได้แต่อ่อนแรงมากเต็มที ที่สุดกลืนไม่ได้ แย่ลงเรื่อยๆ ลืมตาแทบไม่ไหว หายใจแผ่วนอนไม่หลับทั้งคืน แต่สติยังดี
    1.อาการแบบนี้ต่อจากนี้กล้ามเนื้อระบบหายใจมันจะแผ่วไปด้วยไหมคะ
    2.ไม่กินอะไรด้วย กายภาพกล้ามเนื้อกลืน ก็ทำไปงั้นๆ ไม่กิน คือใช่อาการใกล้วาระสุดท้ายหรือเปล่าคะ ทรุดเร็วฉับพลันยังไม่ทันทำอะไรกับจุดเลือดในสมองเลย
    3.เหมือนรักษาแค่ตามอาการเลย เราควรเอาคนไข้กลับบ้านไหมคะ
    4. ทำไมตอนฟื้นในICU อาการดีมากเกือบเป็นลุงปกติ ถึงตอนนี้เขาไม่ได้เอากลับเข้า ICU นะคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว

      1. มักจะไม่ครับ
      2. ก็มีส่วนครับ
      3. แล้วแต่เลยครับ
      4. ตอบไม่ได้ครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว

      @@DrTany กราบขอบพระคุณค่ะ ไม่รู้จะเตรียมตัวไปทางไหนระหว่างตายกับติดเตียงเป็นผัก งั้นไม่เตรียมปล่อยตามสภาพเลย ถึงเวลาก็วิ่งเอาหน่อย

  • @จิราภรณ์-ง2ฎ
    @จิราภรณ์-ง2ฎ 2 ปีที่แล้ว +1

    ได้รับความรู้มากเลยค่ะ ในฐานะ ประชาชนทั่วไป

  • @SFung-hv2ov
    @SFung-hv2ov 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอแทน
    ขอบคุณคุณหมอที่มาเล่าเกี่ยวกับการแยกประเภทICUต่างๆค่ะ

  • @pichedrojanadit7203
    @pichedrojanadit7203 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับอาจารย์
    ผมเคยไปโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยนอกรอหมอนานมากเลยนึกว่าทำไมหมอถึงมาตรวจคนป่วยช้าจังเพิ่งเข้าใจว่าที่มาช้าเพราะต้องไปดูวอร์ดคนป่วยในicuและดูคนป่วยบนตึกแล้วถึงมาตรวจผู้ป่วยนอก

  • @phuangphensapbanyat2624
    @phuangphensapbanyat2624 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีอาจารยคุณหมอธนีย์ค่ะ ขอบพระคุณทุกคำบรรยายความรู้อันมีค่ายิ่งของท่านค่ะ

  • @Betterworld233
    @Betterworld233 2 ปีที่แล้ว +1

    อาจารย์เปิดโลกอีกแล้วค่ะ
    ต่อไปหมอไทยไม่ต้องไปดูงานต่างประเทศแล้วแค่ตามช่องอาจารย์ไปเรื่อยๆ
    ขอบคุณมากค่ะ😇😍

  • @sasikan9388
    @sasikan9388 2 ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะ ไดัรับความรู้เพิ่มอีกมากมายเลยค่ะ ตอนนี้น้องที่ตับวายอาการดีขึ้นออกจากห้องICUแล้วค่ะ

    • @Chefaey
      @Chefaey 2 ปีที่แล้ว +2

      เป็นเรื่องราวที่ดีมากเลยคะพี่กานต์ ขอฝากกำลังใจ และขอให้พี่เขาหายป่วยเร็วๆนะคะ
      ปล พี่กานต์ ดูแลสุขภาพด้วยนะคะ โควิดมันน่ากลัวมากๆเลยคะ

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +3

      เยี่ยมเลยครับ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +3

      ดีใจด้วยด้วยนะคะ จำได้ค่ะเคสน้องอายุ 18 ปีดื่มเหล้าหนักมาก ขอให้หายเร็วๆนะคะ

  • @Achawan_edu
    @Achawan_edu 2 ปีที่แล้ว +6

    🌈คลิปวันนี้เป็นความรู้ที่น่าสนใจมาก
    หัวข้อ >>วอร์ดทั่วไป, คนไข้แบบไหนต้องอยู่ ICU, การจัดประเภท ICU กับกลุ่มโรค
    ตอนที่ 🩸
    คุณหมอ>>> ในการดูแลคนไข้ โรงพยาบาลจะจัดลำดับคนไข้ตามความเสี่ยง ความฉุกเฉิน ไม่ว่าจะเป็นคนไข้ใหม่ หรือคนไข้ที่นอนอยู่โรงพยาบาล หากมีอันตรายเพิ่มขึ้น ก็จะเพิ่มระดับการดูแล โดยแบ่งเป็น
    🌻1. ตึกสามัญ หรือวอร์ด (Ward) สามัญ ทั่วไป ซึ่งจะดูแลคนไข้อาการกลุ่มที่ไม่หนักมาก แต่จำเป็นต้องรักษาในโรงพยาบาล ได้แก่ คนไข้ที่ไม่มีปัญหาด้านสัญญาณชีพ เช่น ความดันปรกติดีอยู่ (ไม่ถึงขั้นวิกฤติ) ยังไม่ต้องใช้ยาอะไรพิเศษ, เป็นปอดอักเสบที่ยังไม่ต้องใช้ท่อช่วยหายใจ หรือยังไม่ต้องใช้ออกซิเจนขน่าดสูง, คนไข้ที่ได้รับการผ่าตัดเล็กๆ น้อย ๆ ผ่าใส้ติ่ง, ผ่าเนื้องอกที่เป็นไม่มากไม่ต้องทำอะไรพิเศษ
    🌻2. หากคนไข้อาการหนักกว่านี้ ก็จะมีการส่งตัวไปอยู่ในวอร์ดที่ดูแลคนไข้ได้ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น อาจจะต้องมีพยาบาลมาดูบ่อยขึ้น และจำนวนพยาบาลดูแลคนไข้มากขึ้น (ซึ่งไม่เท่ากับกรณี 1) ทางการแพทย์เรียกว่า step down unit * (ยังไม่วิกฤติถึงต้องเข้า ICU)
    (FC >>> *step down unit ไทยใช้ หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤติ)
    ในการจัด step down unit จึงขึ้นอยู่กับขีดความสามารถ และทรัพยากรของโรงพยาบาลในแต่ละแห่ง โรงพยาบาลในต่างจังหวัด อาจจะไม่มีหน่วยนี้ จึงดูแลคนไข้รวมไว้ด้วยกันคือ คนไข้หนักธรรมดา หนักปานกลาง และหากหนักมากจึงส่งเข้าห้อง ICU
    สำหรับหน่วย step down unit โรงพยาบาลจะจัดแยกต่างหากได้ ซึ่งหน่วยนี้จะทำหน้าที่ดูแลคนไข้ใกล้ชิดมากกว่าวอร์ดสามัญ
    🌻3. หน่วย ICU หากคนไข้อาการหนักจริงๆ ต้องใช้ยาพิเศษ ต้องปรับระดับตลอดเวลา จึงมักใช้พยาบาล 1 คน / คนไข้ 2 คนเท่านั้น (บางกรณีพยาบาล 1 คน อาจจะดูคนไข้มากกว่า 2 คน เช่นในสถานการณ์โควิด)
    🌰คนไข้ ICU จะได้รับการดูแล คือ
    🌻1. ต้องตรวจตลอดเวลา เนื่องจากความดันโลหิตเปลี่ยนตลอดเวลา เช่นการใส่สายไปทางเส้นเลือดแดง ที่ข้อมือ เพื่อวัดความดันตลอดเวลา
    🌻2. มีความจำเป็นต้องให้ยาพิเศษบางตัว ผ่านสายตรงบริเวณคอ, ใช้ท่อเครื่องช่วยหายใจ ใช้เครื่องช่วยหายใจ
    🌰ICU (Intensive Care Unit ) มีหลายประเภท คือ
    1. ICU อายุรกรรม คนไข้ไม่ได้รับการผ่าตัด, ดูเรื่องทั่วๆ ไป เช่น คนไข้ปอดอักเสบรุนแรง ซึ่งต้องใช้ท่อช่วยหายใจ, มีภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis /Septic senior) หรือบางครั้งมีความดันต่ำ เช่น Septic shock, มีตับวายรุนแรง, กรวยไตอักเสบรุนแรง เป็นต้น
    2. ICU ระบบประสาท ดูแลคนไข้ที่ได้รับการผ่าตัดทางสมอง จากอุบัติเหต และมีเลือดออกในสมอง/กระเปาะเลือดแตกในสมอง เป็น strok เส้นเลือดสมองอุดตัน อัมพฤกษ์ อัมพาต ในอเมริกาหมอที่ดูแล ICU ระบบประสาท จะต้องเป็นหมอ ICU ที่ดูระบบประสาทได้/ หรือเป็นหมอระบประสาทที่ดู ICU /หรือเรียนทั้ง 2 สาขา ดังกล่าว ถึงจะดู ICU ระบบประสาทได้
    เพราะบางครั้งมีการปนกันระหว่างโรคทางอายุรกรรม (ดูแลโดยการใช้ยาเป็นหลัก) กับโรคทางศัลยกรรม (ดูแลโดยการใช้การผ่าตัดเป็นหลัก) เหล่านี้จะอยู่ในอายุรกรรมระบบประสาท หรือ Neuro-ICU
    3. ICU ระบบหัวใจ จะเรียกว่า CCU (Cardiac Care Unit ) ได้แก่คนไข้ที่เป็นลิ่มเลือดอุดตันที่หัวใจ, หัวใจวายต่างๆ , ลิ้นหัวใจรั่วรุนแรง เป็นต้น

    • @Achawan_edu
      @Achawan_edu 2 ปีที่แล้ว +6

      ตอนที่ 🩸🩸
      🌻4. หากเป็นโรงพยาบาลใหญ่ จะมี Cardio-Thoracic ICU ซึ่งเป็น ICU ที่เกี่ยวข้องกับศัลยกรรม , กลุ่มที่ใช้เครื่องช่วยร่างกาย เช่น เครื่องปอดหัวใจเทียม, เครื่องหัวใจเทียม ซึ่งต้องอยู่ใน ICU คำว่า Cardio-Thoracic (ศัลยกรรมทรวงอกและหลอดเลือด) มีบางโรงพยาบาลเท่านั้นที่มี
      🌻5.ICU โรคตับ บางโรงพยาบาลที่ปลูกถ่ายอวัยวะ เช่น ปลูกถ่ายตับ, ตับวายฉับพลัน , ผ่าตัดตับฉับพลัน
      🌻6. ICU ศัลยกรรม คนไข้ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น คนที่ผ่าตัดมะเร็ง, บางรายต้องเปิดช่องท้องมากๆ ก็จะเป็นปัญหาได้, ความดันไม่คงที่ , อาการเจ็บป่วย , อาการหายใจไม่ได้หลังผ่าตัดเสร็จ และจำเป็นต้องใช้ท่อ/เครื่องช่่วยหายใจ เป็นต้น
      🌻7. ตึกผู้ถ่ายไขกระดูก ซึ่งต้องมีการดูแลเฉพาะเป็นพิเศษ เพราะในช่วงที่ไขกระดูกยังไม่สามารถเข้าไปในร่างกายแล้วก่อเกิดเซลล์ต้นกำเนิดใหม่ได้ ในช่วงนั้นคนไข้ไม่มีภูมิต้านทานเหลือเลยแม้แต่น้อย ฉะนั้นกลุมนี้ต้องไปอยู่ในตึกที่มีการดูแลเรื่องความสะอาด 100% ทุกคนที่เข้าไปในห้องนั้นต้องใส่ชุดอวกาศ เข้าไปในห้อง ICU พราะคนไข้จะไม่มีภูมิต้านทาน ป่วยหนัก และเสียชีวิตได้ บางโรงพยาบาลจึงมี ICU ผู้ปลูกถ่ายไขกระดูก เป็นต้น
      🌻8. ICU เด็ก หากเป็นโรงพยาบาลใหญ่ๆ ก็จะแยกไปอีก ได้แก่ ICU อายุรกรรมเด็ก/ ICU ศัลยกรรมเด็ก เป็นต้น
      บางกรณีแยกย่อย ICU ทารกแรกคลอด โรคที่พบอาจเป็นความผิดปรกติมาตั้งแรกเกิดทำให้ระบบหายใจไม่ดีพอ ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจเด็ก /บางคนคลอดออกมาก่อนกำหนด การหายใจก็ยังไม่ปรกติ/ ความดันไม่ดี มีปอดแตก ปอดรั่ว หัวใจมีปปัญหา เป็นต้น
      นี่คือความหลากหลายของ ICU ซึ่งคุณหมอได้นำมาพูดส่วนหนึ่ง
      🌰สรุป โรงพยาบาลแบ่งการรักษาคนไข้เป็นขั้น ๆ ตามอาการของคนไข้ที่คุณหมอประเมินแล้วว่าจะต้องได้รับการดูแลเร่งด่วน ซึ่งแบ่งเป็น
      1. ระดับดูแลทั่วไป คนไข้ต้องการการดูแลไม่ต้องใกล้ชิดมาก ต้องดูแลไม่ต้องใกล้ชิดมาก จะอยู่ในวอร์ด (Ward) สามัญ /ตึกสามัญ
      2. ระดับดูแลใกล้ชิดเพิ่มขึ้น คือ step down unit ( >> step down unit ไทยใช้ หน่วย/หอ/ตึก ผู้ป่วยกึ่งวิกฤต)
      3. ระดับต้องดูแลใกล้ชิดตลอดเวลา คือ ICU (Intensive care unit) ซึ่งจะแยกไปตามความถนัด ความเฉพาะของโรคที่คนไข้เป็น ได้แก่ ICU อายุรกรรม, ICU ศัลยกรรม, ICU ศัลยกรรมระบบประสาท, ICU ศัลยกรรมทรวงอก และหัวใจหลอดเลือด, ICU ที่ดูแลเครื่องมือเทียม ต่างๆ, ICU ดูแลเด็กแรกคลอด, ICU เด็กโต, ICU คนท้อง , ICU ผู้ปลูกถ่ายอวัยวะ/ปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด/ ปลูกถ่ายไขกระดูก , ซึ่งเป็น ICU เฉพาะเจาะจง
      💦 การแบ่ง ICU เฉพาะทางได้มากน้อยแค่ไหน จึงขึ้นอยู่กับทรัพยากรที่มี กับความเชี่ยวชาญของแต่ละโรงพยาบาล ICU ดังได้กล่าวแล้ว บางโรงพยาบาลอาจไม่มีเลย เป็น ICU รวม 1 เดียวที่ดูแลคนไข้ทั้งเด็ก และผูัใหญ่ คนไข้ศัลยกรรม อายุรกรรม เป็นต้น เมื่อใดมีทรัพยากรเพิ่มขึ้น ก็จะมี ICU เฉพาะทางต่างๆ
      🙏🙏ขอบพระคุณมากค่ะ 👍👍

    • @Chefaey
      @Chefaey 2 ปีที่แล้ว +3

      ใด้เข้ามาอ่านของพี่อัช แล้วคะ วันนี้ยาวนิดนึงแต่ก็อ่านจบจนใด้เลยคะ แวะมาก๊อกแค่นี้นะคะ
      เดียวแวปไปอ่านของตัวเองต่อแล้วคะ

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +3

      👍♥️ อยากเห็นวอร์ดสามัญที่เมกาจังว่าเป็นยังไงค่ะพี่อัช ที่ รพ แอน มันแน่นมากค่ะ ห่างกันแค่โต๊ะข้างเตียง 😒

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +1

      @@Achawan_edu ขอบคุณค่ะพี่อัช🙏🥰

    • @Achawan_edu
      @Achawan_edu 2 ปีที่แล้ว +3

      @@maneeann อรุณสวัสดิ์ค่ะ บ้านเราจำกัดหลายอย่าง บุคลากรทางการแพทย์ ถือว่าอดทนอย่างเยี่ยมค่ะ ขอชื่นชม โดยเฉพาะพยาบาลนี่ 👍👍

  • @leo-jx2mh
    @leo-jx2mh 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณครับพี่หมอ🙏

  • @suriyawong75
    @suriyawong75 2 ปีที่แล้ว +3

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณนะคะ ขอให้คุณหมอมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไปคร๊😊😍😍

  • @EedWatcharapornTubrutn
    @EedWatcharapornTubrutn 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ
    ที่ ขอนแก่น จะมีเครื่องมือ 1 ตัวที่นำมาใช้ พิจารณา ลดปัญหาการคัดผู้ป่วยเข้า ICU ได้ดี คือเอา APACHE II score เข้ามาช่วยด้วยค่ะ
    Have a wonderful time ค่ะ 🥚🥚🍳🍳🐣🐣🐶🐶🐩🐩

    • @Chefaey
      @Chefaey 2 ปีที่แล้ว +1

      พี่อี๊ด แวะมาทักทายนะคะ เดียวไปอ่านหนังสือต่อ แล้วนะคะ ปล พี่อี๊ดว่าไหม ชื่อห้องicuมันดูน่ากลัวนะคะ
      ที่รพ น่าจะมีห้องนี้นะ i miss you คงลดความน่ากลัวลงเยอะเลยคะ
      ปล อยากให้อ่านแล้วพี่อี๊ดขำๆอารมดีนะคะ เพราะช่วงนี้โควิดมันน่ากลัวและทำให้คนรอบข้างเครียดนะคะ
      ไปละก๊อก แก๊ก

    • @boomsong5729
      @boomsong5729 2 ปีที่แล้ว

      @@Chefaey
      I see you (always)
      เชฟมือทอง โกอินเตอร์ใกล้มาแว๊ววว..คุณเอ้

  • @WorapatYommana
    @WorapatYommana 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีครับคุณหมอ

  • @thanawanrajavanith4603
    @thanawanrajavanith4603 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณข้อมูล icu ค่ะ เพิ่งจะเข้าใจค่ะ

  • @nung-noppapat
    @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +8

    เป็นความรู้ให้บุคคลทั่วไปได้ทราบการแยกประเภทคนไข้ในรพ.👍🥰🙏ในรพ.ใหญ่ๆ,รพ.โรงเรียนแพทย์ มหาลัยใหญ่ๆจะมีICUหน่วยเฉพาะทางครบทุกด้าน ,รพ.เล็กๆ จะเป็นอย่างที่อาจารย์บอกเลยค่ะICUเดียวรวมทุกอย่างและรพ.รัฐตามตจว. จำนวนเตียงในICUไม่พอ จะเห็นคนไข้อาการหนักรอคิวย้ายลงICUอยู่ที่ward สามัญ ทำให้คิดว่าคนไข้อาการหนักคนไหนได้ย้ายลงICUได้เร็วคือที่สุด
    เตียงในICUหายากยิ่งกว่าทองค่ะ😊
    ส่วนตัวภูมิใจค่ะครั้งหนึ่งเคยมีประสบการณ์ทำงานในNICUแม้เป็นหน่วยเล็กๆคนไข้ไม่มากเท่ารพ.ใหญ่ๆได้เรียนรู้จากอาจารย์เฉพาะทางทารกแรกเกิดที่มาจากรพ.รามาสอนและส่งไปอบรม,ความรู้และประสบการณ์ที่ได้เป็นพื้นฐานการทำงานในวันนี้ค่ะ😊😍

    • @AL86-y2l
      @AL86-y2l 2 ปีที่แล้ว +3

      เก่งมากเลยชื่นชมคนที่ทำหน้าที่เป็นพยาบาลค่ะต้องเป็นผู้ที่เสียสละและมีความอดทนสูงอีกทั้งต้องเมตตามากด้วย คนที่ดูแลคนอื่นๆได้นั้นมีความรู้สึกว่าคนที่ทำได้จิตต้องประเสริฐ ตอนเลือกเรียน พ่อขอพยาบาล1คนในครอบครัวพวกเราลูกสาวทำไม่ได้ค่ะจิตใจอ่อนแอไม่สามารถเห็นใครป่วยได้ จึงมาเลือกเรียนครูอีกคนที่พ่อหวังก็ไปตามแม่คือชอบทำอาหาร ชื่นชมแพทย์และพยาบาลเจ้าหน้าที่ในร.พที่สุดกว่าอาชีพอื่นๆ โดยเฉพาะคุณหมอคุณพยาบาลที่ช่วยชีวิตคนและดูแลผู้อื่นค่ะน้องหนึ่งขอบคุณที่มาเล่าให้ฟังนะคะ👍

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +1

      👍🏻😍🌹

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +3

      @@AL86-y2l ขอบคุณค่ะพี่แอ๋ว🙏🥰กว่าจะถึงวันนี้อายุเท่านี้หนักหนาสาหัสเอาการค่ะ😁😅ผ่านมาได้ทุกอย่างคือประสบการณ์ที่ทำให้แข็งแกร่งและอดทนค่ะ😊🥰 ชื่นชมทุกอาชีพค่ะมีความชำนาญความสามารถเฉพาะทางในแต่ละอาชีพแตกต่างกัน💖😍
      พี่แอ๋วเคยเป็นอาจารย์👍🥰😍
      ได้สัมผัสอาชีพครู,อาจารย์จากพี่สาวและพี่เขยเหนื่อยและหนักไม่แพ้กันกลับบ้านมืดค่ำทุกวันสมัยที่ยังไม่เกษียณบางวันมีผู้ปกครองมาปรึกษาเรื่องเรียนของลูกที่บ้านพี่สาวสอนคณิต,พี่เขยสอนสังคมที่รร.สามเสนค่ะ

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +2

      @@maneeann 🙏🥰😍

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +3

      จริงอย่างที่หนึ่งพูดค่ะ กว่าจะถึงวันนี้แสนสาหัส บางทียังนึกผ่านมาได้ไง ไม่ธรรมดา

  • @สวยอําไพแจ่มดี
    @สวยอําไพแจ่มดี 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ🙏🏼คุณหมอแทน ป้ามาชมช้าขอโทษค่ะ แต่ก็มาจะไม่พลาดทุกคริปที่คุณหมอมาให้ความรู้ที่ดีมีประโยชน์และมาแนะนำในสิ่งที่ป้าๆๆไม่เคยรู้🙏🏼♥️♥️♥️น่ะค่ะสู้ค่ะ🥰

  • @KOLET199
    @KOLET199 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอฯ

  • @phakdichantarakoon
    @phakdichantarakoon 2 ปีที่แล้ว +3

    เป็นเรื่องเล่าที่มีคุณค่าและน่าติดตามมากๆครับอาจารย์หมอ ขอบพระคุณที่นำประสบการณ์ดีๆมาเล่าให้ฟังครับ

  • @kanoky7076
    @kanoky7076 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณนะคะสำหรับความรู้ ได้เปิดโลกทัศน์ผ่านการฟัง รบกวนถามเพิ่มนะคะว่า รพ ที่คุณหมอทำอยู่มีหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต(Step Down)จำนวนกี่เตียงคะ และเพิ่งอ่านเจอว่าที่รพ จุฬาฯก้มีคะเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ16มค.63จำนวน 4 เตียงคะ ขอบคุณนะคะ🙏

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +3

      มีเป็นร้อยเตียงครับ

    • @kanoky7076
      @kanoky7076 2 ปีที่แล้ว +1

      @@DrTany ดีจังเลยนะคะ มีเยอะมาก ถือว่าเป็นความโชคดีของผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลที่ดีขึ้น ขอบคุณนะคะ 🙏

  • @rinkorinrinrin
    @rinkorinrinrin 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะคุณหมอ

  • @อ้อยอ้อย-ฎ1ฎ
    @อ้อยอ้อย-ฎ1ฎ 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะคุณหมอ🙏🥰

  • @อนุสรอิ่มชื่น
    @อนุสรอิ่มชื่น 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีครับคุณหมอ ผมขอสอบถามหน่อยครับผมติดโควิดกักตัวอยู่ที่บ้านวันนี้เป็นวันที่ 9อาการของผมยังมีอาการไอนิดหน่อยบวกกับปากยังขมอยู่พอเวลาไอยังได้กลิ่นสเลดเหม็นเขียวอยู่นิดนิด ที่สำคัญปากยังมีรสขมอยู่ไม่ทราบว่าเชื้อไข้ยังอยู่ใช่ไหมครับหรือเชื้อโควิคยังอยู่ครับ ผมตรวจเอทีเคแล้วขึ้นขีดเดียว ขอรบกวนคุณหมอให้คำตอบหน่อยนะครับขอบคุณครับ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +2

      เริ่่มหายดีแล้วค่ะ กักตัวให้ครบ 10 วันก่อนนะคะ เชื้ออาจจะมีบ้างแต่เป็นซากเชื้อไม่แพร่แล้วค่ะ อาการขมคอ อาการไอต่างๆเป็นอาการหลงเหลือ ถ้ายังมีอาการหลังกักตัวครบ 10 วันแล้ว แนะนำให้ทานยารักษาตามอาการต่อไป เช่น ยาแก้ไอ ยาแก้เจ็บคอ จิบน้ำอุ่น หลีกเลี่ยงอย่าให้โดนลม โดยเฉพาะลมจากพัดลม อย่าให้เป่าโดนบริเวณหน้าค่ะ

    • @อนุสรอิ่มชื่น
      @อนุสรอิ่มชื่น 2 ปีที่แล้ว +2

      🙏ขอบคุณครับ🙏

  • @จุฑามาศเอนกชาติ-บ7ป

    ขอบคุณค่ะ🙏💝💝

  • @boomsong5729
    @boomsong5729 2 ปีที่แล้ว +2

    สวัสดีค่ะคุณหมอธนีย์
    คุณหมอพาเที่ยวแผนก ICU ทำให้นึกถึงวันที่คุณหมอบังเอิญเดินมาวอร์ดนึง เคสที่ประทับใจค่ะ มาทันวินิจฉัยโรคได้แม่นยำ
    อยู่แผนก ICU คิดว่าคงเครียดมาก อยู่กับความเป็นความตาย อยู่กับการรอดชีวิต หรือการสูญเสีย เหนื่อยมั้ยคะ
    เรียนถามค่ะ คุณหมอต้องดูแลทุกแผนกที่บอกมามั้ยคะ
    ขอบคุณมากค่ะ ขอให้คุณหมอและครอบครัวมีความสุขนะคะ

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +5

      ไม่ต้องเครียดครับ เครียดไปคนไข้ไม่ได้ดีขึ้น ทำตัวตามสบายความคิดโล่งๆ จะได้ผลมากกว่าครับ

    • @boomsong5729
      @boomsong5729 2 ปีที่แล้ว +2

      @@DrTany
      จริงค่ะคุณหมอ จะได้เป็นที่พึ่งคนไข้ค่ะ บางครั้งคนไข้ไม่อยากเล่าเรื่องทุกข์ใจให้ครอบครัวฟัง คุณหมอคงเปิดโอกาสให้คนไข้คุยจนคลายกังวลได้ ...คุณหมอแทนแสนดี
      สุขสันต์วันเกิดล่วงหน้านะคะ ขอให้คุณหมอมีความสุขที่สุดค่ะ อย่าลืมขอพรหม่ามี้นะคะ

    • @Achawan_edu
      @Achawan_edu 2 ปีที่แล้ว +2

      @@boomsong5729 ชื่อใหม่ค่ะคุณหมอ .."คุณหมอแทนแสนดี"..

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว +1

    คุณหมอแทนคะ ขออนุญาตเรียนถามอีกซักประเด็นค่ะ ถ้าเป็นแพทย์ที่ไปเรียนทางวิกฤติบำบัดอย่างเดียวไม่ได้เรียนเฉพาะโรคเช่นปลูกถ่ายปอด หรือโรคทางระบบประสาท แบบนี้สามารถทำงานได้ในทุกประเภท ICU ไหมคะ(เว้นICU เฉพาะทาง) ไปลงตรงไหนก็ได้ ในขณะที่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคเฉพาะ ท่านก็ต้องอยู่ประจำหน่วยที่ท่านเชี่ยวชาญเท่านั้น เข้าใจถูกไหมคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว

      ก็ได้ครับ ถ้าจะทำงาน ICU ที่ไม่คุ้นเคย ก็เข้าไปหัดสัก 1-2 สัปดาห์ก็ทำได้แล้วครับ บางอย่างมันต้องเรียนรู้ไปตอนทำงานเลยครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว

      @@DrTanyกราบขอบพระคุณคุณหมอแทนค่ะสำหรับคำตอบ งานของแพทย์ ICU มีความเครียดสูงมากอยู่แล้ว แล้วถ้าใครต้องไปรับผิดชอบอยู่ตรงนั้นแต่รู้'เรื่อง' ยังไม่ลึกซึ่งพอ หรือยังขาดประสบการณ์ น่าจะยิ่งเครียดเข้าไปเป็นสองเท่าเลยนะคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว

      @@paraneeplanantakuntorn ก็ต้องไปหัดเอาครับ ไม่มีใครรู้หรือเชี่ยวชาญทุกอย่างตอนจบไปหรอกครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว +1

      @@DrTany กราบคุณหมอค่ะ คุณหมอแทนใจดี

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว

      กราบสวัสดีค่ะคุณหมอ วันนี้มีเรื่องมาถาม พัวพันพัวพันใน ICU นี่แหละค่ะ คือเกิดเรื่องว่าคุณลุงเราที่อายุ94ปี ท่านต้องเข้า ICU ปกติท่านแข็งแรงนะเป็นเซียนหุ้น อาชีพก่อนหน้านี้ท่านเป็นศัลยแพทย์ urology ที่ Wisconsin มา6ปี ก่อนหน้านี้ เรียนresidence กับ fellow ที่ Wisconsin นั่นแหละ ถูกผู้ใหญ่เรียกตัวกับไทยหลังทำงานได้จนเกษียณ เมื่ออาทิตย์นึงที่ผ่านมา ลุงอ่านหนังสือพิมพ์รอทานข้าวเที่ยงพร้อมป้าเราที่ไปธุระข้างนอก ป้ากลับมาพบว่าลุงนั่งที่เก้าอี้นิ่งตัวตรงเป๊ะบนเก้าอี้ ไม่พิงไม่เท้าแขน หลับตาไม่รู้สึกตัว ตัวเย็นสนิท แต่ยังหายใจ ป้าเราอายุ93 ช่วยชีวิตเบื้องต้นเอง (ป้าเราเป็นหมอเด็กที่Boston มา6ปีเหมือนกันก่อนกลับไทย แต่ป้าเรียนresident fellow ที่ Philadelphia) เรียกรถฉุกเฉินไปด้วย เข้า ICU ได้ภายใน30นาที คนไข้หายใจเองได้ แต่ไม่รู้สึกตัว CT พบจุดเลือดเล็กๆที่สมอง4จุด แพทย์ลงความเห็นว่า stroke และไม่รู้หมดสตินานแค่ไหนแล้ว อาจจะอยู่ในสภาพนี้ไปตลอดแล้ว คืนนั้นเองพยาบาลห้องฉุกเฉินเขามาทำหัตถการกะจะใส่สาย feed สายอะไรต่ออะไร ลุงลืมตาขึ้นมา ดุพยาบาลว่าใส่สายfeedแบบนี้ได้ไง สอนๆๆ ห้ามเจาะคอ ฯลฯ หมอวิ่งมาดูพบว่าลุงพูดถูกทุกอย่างสอนถูกด้วย ลองถามเรื่องตอนเรียนที่US พูดถูก คุยรู้เรื่องทุกอย่าง ดื่มน้ำได้ เช้าเขาเลยย้ายจากICUมาห้องปกติ จากนั้น1วันเราพบว่ากล้ามเนื้อการกลืนเริ่มใช้ไม่ได้ พูดได้แต่อ่อนแรงมากเต็มที ที่สุดกลืนไม่ได้ แย่ลงเรื่อยๆ ลืมตาแทบไม่ไหว หายใจแผ่วนอนไม่หลับทั้งคืน แต่สติยังดี
      1.อาการแบบนี้ต่อจากนี้กล้ามเนื้อระบบหายใจมันจะแผ่วไปด้วยไหมคะ
      2.ไม่กินอะไรด้วย กายภาพกล้ามเนื้อกลืน ก็ทำไปงั้นๆ ไม่กิน คือใช่อาการใกล้วาระสุดท้ายหรือเปล่าคะ ทรุดเร็วฉับพลันยังไม่ทันทำอะไรกับจุดเลือดในสมองเลย
      3.เหมือนรักษาแค่ตามอาการเลย เราควรเอาคนไข้กลับบ้านไหมคะ
      4. ทำไมตอนฟื้นในICU อาการดีมากเกือบเป็นลุงปกติได้ล่ะ ถึงตอนนี้เขาไม่ได้เอากลับเข้า ICU นะคะ

  • @ภัทราอินทรมหาชัย-ฆ5ษ

    สวัสดีค่ะอาจารย์ขอบคุณค่ะที่นำความรู้ดีๆมาให้ฟังอีกแล้วค่ะ

  • @superkidssuperkids1129
    @superkidssuperkids1129 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอรบกวนสอบถามคุณหมอนะคะ
    ถ้าไปรับวัคซีนเข็ม 3 โดยไม่ทราบว่าตัวเองติดโควิดแล้วในวันนั้น จะมีผลเสียอะไรมั้ยคะ
    ขอบคุณมากค่ะ 🙏

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +2

      ไม่เป็นไรค่ะ เหมือนการฉีดวัคซีนปกติทั่วไปค่ะ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +2

      แนะนำดูคลิปคุณหมอเคยอธิบายไว้นะคะ เรื่อง "เป็นโควิดโดยไม่รู้ตัว ไปฉีดวัคซีนเป็นอะไรหรือไม่"
      th-cam.com/video/RLRJnNi2oZY/w-d-xo.html

    • @superkidssuperkids1129
      @superkidssuperkids1129 2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณมากนะคะ 🙏

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว

    เรียนอาจารย์หมอแทน... ขออนุญาตฝากคำถามไว้ เกี่ยวกับขอบข่ายงานของห้องฉุกเฉิน ERและห้อง ICU:
    1.ฝ่ายแรกแผนกฉุกเฉิน หลังจากรักษาอะไรไปเรียบร้อยแล้ว แผนกนี้เขาจะหมดหน้าที่ ปล่อยมือจากเคสได้เมื่อไรคะ? เช่นเมื่อรู้แน่แล้ว+ทำนัดให้แล้ว ว่าจะส่งต่อถึงแพทย์เฉพาะทางท่านใด เราสงสัยเพราะครั้งนึงเราเคยพาคนลื่นล้มหัวแตกเลือดอาบ ไปส่งห้องฉุกเฉินรพ. หลังเย็บแผลเสร็จ หมอที่นั้นฉีดวัคซีนบาดทะยักให้คนไข้ (มันต้องฉีด 3 เข็มนะ) จากนั้นทำใบนัดให้มาฉีดวัคซีนเข็ม2 และ3 อ้าวเขานัดให้กลับมาที่ห้องฉุกเฉิน?? ก็ไม่ใช่เคสฉุกเฉินแล้วนะ นึกว่าให้เราไปติดต่ออายุรกรรม หรือแผนกศัลยกรรม เสียอีก
    2.แล้วแผนก ICU ล่ะคะเขาจะปล่อยมือหมดหน้าที่จากเคสได้เมื่อไร หลังคนไข้พ้นขีดอันตราย ยกตัวอย่างเช่นเมื่อไปอยู่ห้องปกติได้แล้วให้แพทย์ปกติไปดูแลต่อ แล้ว ICU ก็รอรับเคสใหม่ ทำนองนี้ไหมคะ แต่ละรพ.จะพิจารณาเหมือนกันหรือเปล่าไม่รู้
    3.แพทย์ในห้องฉุกเฉิน เป็นแพทย์ที่เรียนเฉพาะทางเหมือนกับหมอแทนที่เรียนเฉพาะทางวิกฤติบำบัดไหมคะ
    4.ER กับ ICU ทำงานแยกขาดจากกัน หรือเป็นหน่วยที่ต้องใกล้ชิดกัน ชนิดแทบเป็นหน่วยเดียวกันคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +1

      1) เมื่อคนไข้อาการคงที่ก็ส่งต่อครับ ส่วนการได้วัคซีนบาดทะยัก หรือพิษสุนัขบ้า ฉีดที่หน่วยฉุกเฉินได้ครับ
      2) เมื่ออาการเบาพอที่จะไปห้องปกติ หรือบางคนกลับบ้านได้เมื่อเรียนรู้การใช้เครื่องช่วยหายใจแบบใช้ที่บ้านเสร็จครับ
      3) ไม่จำเป็นเสมอไปครับ แต่ถ้าเรียนก็จะเชี่ยวชาญขึ้นครับ
      4) คนละหน่วย ทำงานใกล้ชิดกันถ้ามีเคสหนักครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn ปีที่แล้ว +1

      @@DrTany อ๋อเข้าใจแล้วค่ะ กราบขอบพระคุณคุณหมอแทนค่ะ

  • @kornveeka
    @kornveeka 2 ปีที่แล้ว +1

    🙋‍♀️🙏👍❤🙂
    ขึ้นชื่อว่า ร.พ.ก็หวาดหวั่นไปหมด ไม่ว่าวอร์ดไหน ก็กลัวหมดเลยค่ะ😓

  • @FragranzaTrippa
    @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +5

    ขออนุญาตเรียนถามนะคะว่า อาจารย์ได้เห็นทุกตึก ทุกวอร์ด ทุกชั้นของโรงพยาบาลที่ทำงานหรือยังคะ มีวอร์ดไหนที่อาจารย์สนใจอยากลองเข้าไปทำงานไหมคะ

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +4

      ป.ล. อาจารย์คะ แล้ววอร์ดไหน (ที่ รพ.อาจารย์) คนน่ารักเยอะที่สุดค่ะ😘

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +4

      @@FragranzaTrippa มารอดูคำตอบค่ะ 555

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +3

      มารอคำตอบอาจารย์เหมือนกันค่ะ😊🥰

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +5

      ผมเดินไปมาเกือบทุกที่แหละครับ

    • @maneeann
      @maneeann 2 ปีที่แล้ว +3

      @@DrTany อจ ยังตอบคำถามไม่ครบค่า

  • @CherryChonny
    @CherryChonny ปีที่แล้ว +1

    คุณหมอคะ รบกวนถามค่ะ
    1) คุณหมอบอกว่าเชี่ยวชาญด้านวิกฤติบำบัด
    ความเชี่ยวชาญนี้คือการเป็นหมอเฉพาะทางด้าน ICU สำหรับคนไข้ทุกโรคใน ICU เลยหรือเปล่าคะ
    ตอนญาติเราเข้า ICU มีหมอหลายท่านมากๆเพราะแต่ละท่าน ก็เชี่ยวชาญเฉพาะด้านของตนเอง เช่น หัวใจ ปอด สมอง ทางเดินอาหาร การติดเชื้อ การนอนหลับ ก็ต้องใช้หมอ 6 ท่านแล้วค่ะ ไม่มี ท่านไหนที่เชี่ยวชาญทั้งหมดในคนเดียวเลยค่ะ รู้สึกว่าไม่สะดวกเลย
    2) หมอที่เฉพาะทางโรค 1 ด้าน แต่ไม่ได้เชี่ยวชาญด้าน ICU จะสามารถ รักษาคนไข้ใน ICU ได้ไหมคะ

    • @DrTany
      @DrTany  ปีที่แล้ว +1

      1. ส่วนมากครับ แต่ถ้า ICU บางอย่างที่ผมไม่ค่อยได้ทำ เช่น ระบบประสาท หรือหัวใจ เวลาไปทำก็ต้องฝึกสักพักถึงชินครับ
      2. ได้แค่บางอย่างครับ

  • @sarakowin2009
    @sarakowin2009 2 ปีที่แล้ว +2

    คุณหมอคะ กักตัวแค่8วัน โควิดจะหายไปมั้ยคะ (ผู้ป่วยมีอาการเล็กน้อย)🤨🤨

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +1

      ถึงจะมีอาการเล็กน้อย แต่ก็ต้องกักตัวให้ครบ 10 วันค่ะ จะถือว่าปลอดภัย ไม่แพร่เชื้อค่ะ

    • @sarakowin2009
      @sarakowin2009 2 ปีที่แล้ว +1

      คือว่าต้องนับตั้งแต่มีอาการใช่มั้ยคะ ไม่ใช่นับวันที่กักตัวใช่มั้ยคะ ถ้ามีอาการวันที่ 9 แต่ยังไม่ได้เริ่มกักตัวอันนี้คือ วันที่19ถึงออกมาได้หรอคะ แต่ถ้ากักตัววันที่12 ออกมาได้คือวันที่22 หรอคะ เราไม่แน่ใจเลยค่ะ (ช่วยตอบหน่อยนะคะ)🥺🥺

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +2

      @@sarakowin2009 ถ้าในกรณ๊ที่เราไปใกล้ชิดสัมผัสผู้ติดเชื้อ มีความเสี่ยง ให้เริ่มกักตัวนับจากวันที่เจอผู้ติดเชื้อให้ครบ 10 วัน // ในกรณีที่ไม่ทราบว่าติดเชื้อ แต่เริ่มมีอาการเจ็บคอ ให้นับจากวันที่มีอาการ เช่น ถ้ามีอาการวันที่ 9 เม.ย. กักตัว รักษาตัว ให้ครบ 10 วันถึง 18 เม.ย.ค่ะ

  • @piyat54
    @piyat54 2 ปีที่แล้ว +2

    ดร ค่า รบกวนถามค่า ถ้าจะสอบถามและขอคำแนะนำเรื่องเกี่ยวกับโควิด สามารถส่งเข้าทางเมล ดร หรือพิมพ์ทิ้งไว้ใน comment ค้า

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +4

      รบกวนถามคำถามไว้ใน comment ได้เลยค่ะ คุณหมอจะเข้ามาตอบคำถามใน TH-cam ก่อนเสมอ ส่วนช่องทางอื่นๆไม่ได้เปิดรับบุคคลทั่วไปค่ะ

  • @paraneeplanantakuntorn
    @paraneeplanantakuntorn 2 ปีที่แล้ว

    หมอแทนคะ เพิ่งฟังข่าวเรื่องเด็กลูกเสือชายอายุ14 ถูกไฟครอกตอนจุดกองไฟเข้าค่าย แล้วเกิดไม่เข้าใจสิ่งต่อไปนี้ เลยขอทิ้งคำถามไว้ดังนี้:
    1.คำว่า ไฟครอก **% คนนี้โดนไฟครอก50% คนนั้น 90% เปอร์เซ็นตรงนี้เขาพิจารณาจากอะไรคะ
    2.เกณฑ์เป็นสากลจะเหมือนกันทุก ICU ทั่วโลกหรือเปล่าคะ
    3.ขึ้นกี่ % ถึงจะเรียกว่าวิกฤติมากแล้ว

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว

      1) ก็นับเทียบกับบริเวณที่ผิวทั้งหมดครับ
      2) คล้ายครับ
      3) ถ้าเป็นบริเวณสำคัญ เช่น หน้า ก็วิกฤติเลยครับ แต่นอกนั้น เกิน 20% ก็ถือว่าหนักละครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn 2 ปีที่แล้ว

      @@DrTany ขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอ ข้อแรกดูยาก ขึ้นอยู่กับการประมาณด้วยตาและประสบการณ์ เช่นแยกระหว่างช่วงที่ใกล้ๆกัน 40 กับ 50% หรือ 60กับ70% เนี่ย ถ้าไม่ใช่แพทย์ก็ประเมินแทบไม่ออก

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว

      @@paraneeplanantakuntorn มันมีหลักง่ายๆครับ คือ 1 ฝ่ามือ = 1% หรือจะจำเป็นส่วนก็ได้ คือ หัว 9%, แขนข้างละ 9%, อกและท้อง 18%, หลัง 18%, ขาข้างละ 18%, อวัยวะเพศ 1% ครับ

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn 2 ปีที่แล้ว

      @@DrTany กราบขอบพระคุณคุณหมอที่สุดค่ะ กรุณาให้ความกระจ่าง เป็นสิ่งที่เราไม่รู้มาก่อนว่าการประเมินนี่คิดอย่างนี้นี่เอง ขอบพระคุณอย่างสูงนะคะหมอแทน

    • @paraneeplanantakuntorn
      @paraneeplanantakuntorn 2 ปีที่แล้ว

      @@DrTany จากคลิปคืนเกิดเหตุก็เป็นกิจกรรมรอบกองไฟ ช่วง’ขอไฟ’ (ซูลู ซัมบาลู..) มีกระบองไฟมาเกี่ยว ทันทีที่เกิดอุบัติเหตุ น้องออกวิ่งตื๋อเพราะตกใจ เท่านั้นแหละเหมือนเอาลมเป่าไฟ ลุกพรึ่บจากชุดลูกเสือครึ่งล่างขึ้นช่วงบนรวดเร็ว ไม่มีใครหาอะไรคลุมดับไฟทันทีหรอก แรงสุด90% จากนั้นได้ยินว่าคนอื่น 50 .... 20% ตามกันมา ราว5คนได้มั้ง (นึกถึงที่คุณหมอเล่าเรื่องควงกระบองไฟงานอินเดียนไนท์ )

  • @phongpitaksuksantilap3780
    @phongpitaksuksantilap3780 2 ปีที่แล้ว +5

    ตอนป่วยเป็นโควิดจำเป็นต้องทาน วิตามิน C หรือวิตามินอื่นๆเพื่อสร้างภูมิไหมครับในช่วงที่ติด

    • @FragranzaTrippa
      @FragranzaTrippa 2 ปีที่แล้ว +2

      สามารถทานได้ค่ะ เพื่อความสบายใจ แต่ต้องย้ำว่า ไม่ได้ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันในช่วงที่ติดโควิดนะคะ

    • @armnakornthab6867
      @armnakornthab6867 2 ปีที่แล้ว +2

      c. กะ d. ครับ บางแหล่งบอก a. ด้วย สังกะสี ด้วย สารสกัดหอมแดงด้วย แต่ทั้งหมดไม่มีการยืนยัน ว่าช่วยรักษานะครับ

    • @DrTany
      @DrTany  2 ปีที่แล้ว +3

      ไม่มีความจำเป็นเลยครับ แต่ถ้าอยากทานเพื่อความสบายใจก็ได้ครับ

  • @ทรีเรือนแก้ว
    @ทรีเรือนแก้ว 2 หลายเดือนก่อน

    และระบบทางเดินอาหารละ

  • @sanpdinocat
    @sanpdinocat 2 ปีที่แล้ว +1

    🦁

  • @patcharawadee
    @patcharawadee 2 ปีที่แล้ว +1

    คนจนคนต้อยตำ่ได้ฟังเหตุผลถือว่าประเสริฐแล้วขอบคุณนะคะ หูจะได้ไม่หนาตาจะไม่เล่อ ชีวิตทวนกระแสนำ้เหนื่อย แพ้และยอมฟังเพื่อเวลาต่อไปจะไม่แพ้อีก

    • @Chefaey
      @Chefaey 2 ปีที่แล้ว +3

      เอ ทำไหมคิดอะไรแบบนั้นอะคะ มันไม่เกี่ยวกับคนจนคนต้อยต่ำอะไรนะคะ เราคิดแบบนั้น ทุกคนเป็นคนเหมือนกันหมดเวลาเราฟังอะไรก้เพื่อให้เรามีความรู้ดีๆเพิ่มขึ้น ก็เท่านั้นเองนะคะ
      ปล ขออนุญาติมาเม้นทักทายเม้นคุณนะคะ

    • @patcharawadee
      @patcharawadee 2 ปีที่แล้ว +2

      @@Chefaey บางครั้งการได้พูดความจริงก็ไม่เห็นจะต้องคิดมากประมาณว่า กูจน ทำไมหมอรวยและสูงธรรมชาติของคำพูดคะ ไม่คิดมาก

    • @Euang-Mali
      @Euang-Mali 2 ปีที่แล้ว

      @@Chefaey
      😊💖🌺

  • @narlaw1342
    @narlaw1342 2 ปีที่แล้ว +1

  • @yingpatcharawadee297
    @yingpatcharawadee297 2 ปีที่แล้ว +1

    วอร์ดปลากัด พี่ความรู้สมแล้วที่เป็น ดร.

  • @piyanutsatravaha548
    @piyanutsatravaha548 2 ปีที่แล้ว +1

    🙏🙏🙏🙏🙏🙏💥💥

  • @Euang-Mali
    @Euang-Mali 2 ปีที่แล้ว +5

    😊วอร์ดทั่วไปกับ ICU ต่างกันอย่างไร เห็นหัวข้อแล้วพอจะเข้าใจได้คร่าวๆนะคะ วอร์ดทั่วไปกับ ICU แต่หลังจากฟังคุณหมอแทนอธิบาย ที่ได้มากกว่านั้นคือ Step Down Unit (หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต😊) เป็นคำใหม่และความรู้ใหม่เพิ่งเคยได้ยินค่ะ โน้ตบางส่วนไว้แล้วค่ะ มาหลังเวลาเรียน😁แต่ขอส่งคอมเม้นท์นะคะ
    🍟🐜โรงพยาบาลจะจัดลำดับความเสี่ยง ความเร่งด่วน ความฉุกเฉินของตัวคนไข้ก่อน ไม่ว่าคนไข้ที่รับใหม่ หรือคนไข้ที่นอนโรงพยาบาลอยู่แล้วว่ามีอันตรายเพิ่มขึ้นต้องเพิ่มระดับการดูแลหรือเปล่าโดยจะมีวอร์ดสามัญทั่วไปซึ่งจะดูแลคนไข้กลุ่มที่ไม่ได้หนักมากแต่ต้องรักษาในโรงพยาบาล ตรงนี้ก็มีความสำคัญถ้าคนไข้มีอาการหนักกว่านี้ ก็จะต้องส่งตัวคนไข้ไปวอร์ดซึ่งจะดูแลคนไข้ได้ใกล้ชิดเพิ่มขึ้น
    🔘วอร์ดทั่วๆไปจะดูแลคนไข้ในเรื่อง
    - คนไข้ไม่มีปัญหาในด้านสัญญาณชีพ เช่น ความดันยังปกติไม่ถึงขั้นวิกฤตต้องใช้ยา
    - ปอดอักเสบที่ยังไม่ใส่ท่อหายใจหรืออ๊อกซิเจนขนาดสูง
    - การผ่าตัดเล็กๆน้อยๆเช่น ผ่าไส้ติ่ง ผ่าเนื้องอกที่เป็นไม่มากไม่ต้องทำอะไรพิเศษ
    🔘Step Down Unit
    หอผู้ป่วยกึ่งวิกฤต สำหรับคนไข้ที่ต้องได้รับการดูแลเพิ่มขึ้นจากวอร์ดสามัญทั่วๆไปแต่ไม่ถึงขั้นเข้า ICU
    🔘 ICU (Intensive Care Unit)
    หอดูแลผู้ป่วยหนัก ต้องใช้ยาพิเศษปรับระดับตลอดเวลา ต้องมีพยาบาลดูแลทุกนาทีเลยหนึ่งคน และพยาบาลใน ICU ดูแลคนไข้ 2 คนไม่เกินไปกว่านี้ อาจจะมีมากกว่าในกรณีพิเศษช่วงโควิด คือคนไข้ล้น คนไข้ใน ICU จะต้องได้รับการดูแลและตรวจตลอดเวลาเนื่องจาก
    - ความดันโลหิตจะเปลี่ยนตลอดเวลาต้องวัดความดัน โดยใส่สายไปที่เส้นเลือดแดงที่ข้อมือเพื่อที่จะวัดความดันตลอดเวลา
    - มีความจำเป็นต้องให้ยาบางตัว ในสายที่เข้าไปในเส้นเลือดดำใหญ่บริเวณคอเพื่อที่จะให้ยาพิเศษ
    - ใช้ท่อหายใจ เครื่องช่วยหายใจ
    🔷️ประเภทของ ICU
    - Medical ICU ไอซียูอายุรกรรม
    - Neuro ICU ไอซียูระบบประสาท
    - Cardiac Care Unit หน่วยที่ดูแลด้านหัวใจ
    เป็นต้น
    ฟังคุณหมอแทนพูดแล้ว อยากให้โรงพยาบาลใหญ่ๆของทุกจังหวัดมีไอซียูทุกแผนกเลยนะคะคนไข้จะได้รับการดูแลรักษาโดยเฉพาะเจาะจงแต่ก็ติดตรงข้อจำกัดด้าน ทรัพยากรและบุคลากรที่ยังไม่เพียงพอ ไปโรงพยาบาลทีไร
    ก็เห็นคนเยอะมากเหมือนกับว่า มีโรงพยาบาลเท่าไหร่ก็ไม่พอกับคนป่วยที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะโรงพยาบาลในกรุงเทพที่มีทุกอย่างครบกว่าคนก็จะมารวมกันตรงนี้
    ขอบคุณมากนะคะ ได้เรียนรู้อะไรเพิ่มขึ้นเยอะเลยค่ะ เช่น ตอนแรกเข้าใจว่าผู้ป่วยใน ICU คือผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจเท่านั้น😁อยากเล่าบรรยากาศการกลับกรุงเทพหลังสงกรานต์ให้ฟังค่ะ หลังจากไม่ได้ไปช่วงนี้นานหลายปี รถยังติดเหมือนเดิมแต่ก็ดีกว่าแต่ก่อน มีการเปิดใช้
    มอเตอร์เวย์ช่วงเขื่อนลำตะคอง วิวสวยค่ะ ถ้าคุณหมอแทนกลับไทยแล้วอยากไปเที่ยวแถบภาคอีสานบ้างลองดูนะคะ😊เมื่อวานเจอครบเลยค่ะ รถติดมาก รถเสียเข้าอู่ระหว่างทาง จากที่ต้องถึงบ้าน 6 โมงเย็น กลายเป็น ตีหนึ่ง แบตมือถือหมด (ว่าจะนั่งฟังคุณหมอแทนกับพิมพ์อะไรเงียบๆ อดเลยค่ะ ต้องนั่งฟังน้องชายช่างพูด พูดมาตลอดทางแทน 555😁) อ้อ ตรวจ ATK เมื่อกี้ยังรอดอยู่ค่ะ 😊
    รักษาสุขภาพพักผ่อนเยอะๆนะคะ
    🌹❤🌹

    • @Hoshi1451
      @Hoshi1451 2 ปีที่แล้ว

      @เอื้องมะลิ 🌹กลับบ้านเที่ยวสนุกมั๊ยคะ😄

  • @kanyamuay3748
    @kanyamuay3748 2 ปีที่แล้ว +7

    สถานการณ์ โควิด สายพันธุ์ยังอยู่ในความสนใจของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงสงกรานต์ที่มีการเคลื่อนที่เดินทาง และรวมกลุ่มของผู้คนจำนวนมาก หากไม่มีการป้องกันที่ดี อาจทำให้เกิดการแพร่เชื้อโควิด-19ได้ ซึ่งจากข้อมูลผลการสำรวจอนามัยโพล พบว่าประชาชนร้อยละ 75 มีความกังวลต่อเชื้อโควิดสายพันธุ์ใหม่ เนื่องจากไม่รู้ว่าสายพันธุ์ใหม่จะรุนแรงเพียงใด กลัวว่าจะติดเชื้อได้ง่าย และกังวลว่าวัคซีนที่ฉีดไปแล้วจะสามารถป้องกันสายพันธุ์ใหม่ได้หรือไม่ ขณะที่ร้อยละ 25 ไม่รู้สึกกังวลเนื่องจากมั่นใจว่าตนเองแล้วคนในครอบครัว สามารถป้องกันโรคได้เป็นอย่างดี และเชื่อมั่นต่อวัคซีนที่ได้รับมากกว่า 2 เข็ม สำหรับข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติมเพื่อรับมือกับโควิดสายพันธุ์ใหม่ได้อย่างมั่นใจมากขึ้น พบว่าร้อยละ64 ต้องการรายละเอียดเกี่ยวกับเชื้อโควิดแต่ละสายพันธุ์ เช่น โอไมครอนBA.1 BA.2 หรือพันธุ์ผสม XE XJ เป็นต้น ร้อยละ 49 ต้องการทราบวิธีดูแลเพิ่มเติมในกลุ่มเปราะบาง ทั้งเด็กเล็ก และผู้สูงอายุ รวมถึงรู้วิธียกระดับการป้องกันตนเองต่อโควิดสายพันธุ์ใหม่ นอกจากนี้ บางส่วนต้องการทราบข้อมูลประสิทธิภาพของวัคซีน ต่อเชื้อโควิดสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงวิธีการทำความสะอาด ต้องมีความแตกต่างจากวิธีการเดิมๆหรือไม่และข้อมูลของสถานประกอบการที่ผ่านมาตราการป้องกันโรคของกระทรวงสาธารณสุข
    เมื่อนำข้อมูลเท่าที่มีในปัจจุบัน ของแต่ละสายพันธุ์ที่น่ากังวลมาเปรียบเทียบในแต่ละด้านพบว่า
    1.ด้านความรุนแรงของเชื้อพบว่า สายพันธุ์เดลตา มีความรุนแรงมากที่สุด ขณะที่โอไมครอน BA.2 มีความรุนแรงน้อยที่สุด
    2.ด้านการแพร่กระจายของเชื้อ จากข้อมูลในปัจจุบันพบว่า โอไมครอน BA.2 แพร่ง่ายกว่า BA.1 และเดลตา ลำดับ
    3.ด้านความสามารถในการหลบภูมิคุ้มกัน โอไมครอน BA.2 มีความสามารถหลบหนีภูมิมากกว่า BA.1 และเดลตา ตามลำดับ ซึ่งเป็นทำนองเดียวกับโอกาสติดเชื้อโควิดซ้ำได้
    4.ด้านความคงทนของเชื้อโรคบนพื้นผิวสัมผัส ยังไม่มีข้อมูลในสายพันธุ์ย่อย แต่พบว่าโอไมครอน อยู่บนพื้นผิวหนังและผิวพลาสติกที่นานกว่าเดลตา ซึ่งสายพันธุ์ลูกผสม XE หรือ XJ ยังคงมีข้อมูลที่จำกัด โดยข้อมูลเท่าที่มี พบว่าสามารถแพร่ติดเชื้อได้ เร็วกว่าสายพันธุ์ย่อย BA.2 มีความสามารถในการหลบเลี่ยงภูมิคุ้มกันเทียบเท่ากับสายพันธุ์
    BA.2 มีอาการเช่นเดียวกับสายพันธุ์โอไมครอนสายพันธุ์ดั้งเดิม ATK ยังใช้งานได้ตามปกติ
    เนื่องจากโควิดทุกสายพันธุ์เป็นไวรัสเช่นเดียวกัน มาตรการป้องกันส่วนบุคคลเช่นที่ผ่านมา หากดำเนินการอย่างเคร่งครัด ยังคงมีประสิทธิภาพสูงเช่นเดิม โดยมาตรการวัคซีน ยังคงแนะนำการฉีดครบตามเกณฑ์ และควรได้รับเข็มกระตุ้น เพื่อลดความรุนแรงของโรคและการเสียชีวิต จากการศึกษาในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่พบว่า วัคซีน 3 เข็ม ป้องกันการเสียชีวิตได้ร้อยละ 98-99 ส่วนมาตรการDMH ยังคงต้องเน้นย้ำเป็นพื้นฐานสุขอนามัยส่วนบุคคล โดยเฉพาะการสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าคุณภาพให้ถูกต้อง ปิดจมูกปากและกระชับกับใบหน้า และสำหรับมาตรการสิ่งแวดล้อม เน้นมาตรการเดิม โดยการทำความสะอาด ให้ใช้แอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์หรือสารทำความสะอาดทั่วไปเช่นเดิม ส่วนการระบายอากาศใช้หลักการเช่นเดิม โดยเปิดช่องลม ประตู หน้าต่าง ให้ระบายอากาศเข้าและออกได้ ซึ่งยังคงลดอัตราการติดเชื้อได้
    ดังนั้นเทศกาลสงกรานต์ปีนี้คาดว่าจะพบจำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นมาก โดยจะเห็นตัวเลขติดเชื้ออยู่ที่ 50,000 ถึง 100,000ราย ต่อวัน ทั้งจากการตรวจ PCR และATK ขึ้นอยู่กับความร่วมมือของทุกฝ่าย ที่จะช่วยกัน ป้องกันให้ตัวเลขอยู่ในระดับใดและที่สำคัญคือ ต้องดูแลเรื่องการเสียชีวิตไม่ควรให้เกินวันละ200ราย เพื่อลดความสูญเสีย และเรื่องผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง ให้อยู่ในระดับที่ระบบสาธารณสุขรองรับได้ ประชาชน สถานประกอบกิจการกิจกรรม ทุกภาคส่วนจึงต้อง ถือปฏิบัติตามมาตรการVUCA เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกันกับโควิด สอดคล้องกับแนวทางการปรับลด โควิดจาก โรคติดต่ออันตราย ให้เป็น โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังของประเทศไทยต่อไป ข้อมูลจากกรมอนามัย

    • @nung-noppapat
      @nung-noppapat 2 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณค่ะ🙏🥰

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 2 ปีที่แล้ว +3

      @@nung-noppapat ยินดีค่ะ🥰😍

    • @Achawan_edu
      @Achawan_edu 2 ปีที่แล้ว +2

      เป็นข้อมูลทีดีมาก ๆ ค่ะ @ Kanya Muay

    • @kanyamuay3748
      @kanyamuay3748 2 ปีที่แล้ว +2

      @@Achawan_edu ขอบคุณค่ะ ดีใจ ที่ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น

    • @boomsong5729
      @boomsong5729 2 ปีที่แล้ว +1

      @@kanyamuay3748
      ขอบคุณมากนะคะ 💙

  • @AvecBella
    @AvecBella 2 ปีที่แล้ว +2

    Have a nice, relaxing, unremarkable Saturday at work ka Doctor Tany 🌤🌸🌱…🙃

  • @ศรินยาหกพี่น้อง-ฑ8ซ

    คุณหมออธิบายได้ละเอียดเลยค่ะเข้าใจได้ง่ายขอบคุณความรู้ในทุกๆคลิปเลยค่ะ

  • @yingpatcharawadee297
    @yingpatcharawadee297 2 ปีที่แล้ว +1

    ความรู้แน่นจริงๆใหญ่จริงๆผ่าตัดปอดก็เก่งนึกว่าปอดปลา🤏ชื่อเสียงหอมกรุ่นไม่ต้องฟอกต้องขัด👌ชีวิตนุ่มละมุนเหมือนเส้นไหมวันนี้ยกย่องกันล้วน ๆชีวิตมีขึ้นมีลงเท่าที่เห็นขึ้นตลอดงานการไม่ว่างไม่เว้นดีจริงๆขยันมองเห็นแล้วชัวร์ที่สุดตามคนแบบนี้ชีวิตเราจะประสบผลดี

  • @jidapachaiyaprom9379
    @jidapachaiyaprom9379 2 ปีที่แล้ว +1

    ไม่ไปดีที่สุดกลัวการไปหาคุนหมอมากๆๆคะ

  • @WANWAnnzz
    @WANWAnnzz ปีที่แล้ว +1

    คุณหมอมีความรู้ที่ยอดเยี่ยมที่สุดค่ะ🙏🥰🥰🥰🥰

  • @kjdkjd5520
    @kjdkjd5520 4 หลายเดือนก่อน +1

    คุณหมอลูกของหนูป่วยหนักอยู่ICUมาเดือนครึ่งไส่ท่อเครื่องช่วยหายใจปอดอักเสบรุนแรงจนปอดเน่าและติดเชื้อในกระแสเลือดและดื้อยาหมอเรียกญาติคุยบอกว่าน้องหายใจไม่ได้มีสองทางให้เลือกเจาะคอกับประคบประคองแม่เลือกประคบประคองเพราะร่างกายน้องไม่ใหวน้องมีโรคประจำตัวลมชักและหอบหืดน้องพิการแต่กำเนิดแม่เห้นน้องทรมานในการเจาะเส้นเลือดดำที่คอ4รอบเจาะตามตัวอีกมาวันนี้หมอแจ้งย้ายน้องออกจากICUมาอยู่ห้องรวมแม่ไม่เข้าใจว่าทำไมย้ายลูกแม่ออกจากICUทั้งที่น้องอาการไม่ดี

    • @DrTany
      @DrTany  4 หลายเดือนก่อน +1

      เป็นกำลังใจให้นะครับ พวกนั้นที่ย้ายส่วนมากเพราะมันไม่มีอะไรที่จำเป็นต้องดูอาการตลอดเหมือนใน ICU พูดง่ายๆคือป่วย แต่มะนดีขึ้นกว่าตอนอยู่ ICU ครับ หมอเขาถึงกล้าให้ออกมาได้ บางทีสายตาที่หมอประเมินจะต่างจากที่ครอบครัวมองได้ ตรงนี้เราสามารถคุยแล้วสอบถามหมอได้ครับ

    • @kjdkjd5520
      @kjdkjd5520 4 หลายเดือนก่อน +1

      @@DrTany ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ