- 543
- 21 945
นิติเมธี
Thailand
เข้าร่วมเมื่อ 1 ม.ค. 2011
นตฺถิ โลเก รโห นาม
สนทนาธรรม : ทั่วไป (ในชั่วโมงของถามตอบอริยสัจจ์) - วันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๘
ถาม : สัจฉิกาตัพพธรรม คืออะไร ? ต่างจากนิโรธอริยสัจอย่างไร ?
ตอบ : สัจฉิกาตัพพธรรม คือธรรมที่ควรกระทำให้แจ้งประจักษ์ ว่าโดยสภาวธรรมได้แก่ขันธ์ในอดีต โลกิยสมาบัติ ผลจิต นิโรธสมาบัติและพระนิพพาน ดังความที่กล่าวไว้ในบาฬีและอรรถกถาทั้งหลาย ดังมีอุทาหรณ์เป็นต้นว่า
จตฺตาโร สจฺฉิกรณียา ธมฺมา: ปุพฺเพนิวาโส สติยา สจฺฉิกรณีโย, สตฺตานํ จุตูปปาโต จกฺขุนา สจฺฉิกรณีโย, อฏฺฐวิโมกฺขา กาเยน สจฺฉิกรณียา, อาสวานํ ขโย ปญฺญาย สจฺฉิกรณีโย.๑-(๑- ที.ปา. ๑๑/๓๑๒/๒๐๕.)
สัจฉิกรณียธรรม (ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง) ๔ อย่าง คือ
๑. ปุพเพนิวาส ควรทำให้แจ้งด้วยสติ (อนุสสติ)
๒. การจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งด้วยจักษุ (ทิพพจักขุ)
๓. วิโมกข์ ๘ ควรทำให้แจ้งด้วยกาย (นามกาย) (รูป 28, นาม จิต เจตสิก นิพพาน)
๔. ความสิ้นอาสวะทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งด้วยปัญญา
สจฺฉิกรณียาติ ปจฺจกฺขกรเณน เจว ปฏิลาเภน จ สจฺฉิกาตพฺพา. จกฺขุนาติ ทิพฺพจกฺขุนา. กาเยนาติ สหชาตนามกาเยน. ปญฺญายาติ
อรหตฺตผลญาเณน.๒-(๒- ที.อฏฺ. ๓/๓๑๒/๒๑๐.)
ข้อว่า สจฺฉิกรณียานิ ความว่า พึงทำให้แจ้ง โดยทำให้ประจักษ์และโดยการได้เฉพาะ,
บทว่า จกฺขุนา ได้แก่ ทิพยจักษุ,
ข้อว่า กาเยน ได้แก่ สหชาตนามกาย,
ข้อว่า ปญฺญาย ได้แก่ ญาณในอรหัตผล
ปุพฺเพนิวาโส สตฺตานํ จุตูปปาโต จ ปจฺจกฺขกรเณน สจฺฉิกาตพฺพา, อิตเร ปฏิลาเภน, อสมฺโมหปฏิเวธวเสน ปจฺจกฺขกรเณน จ สจฺฉิกาตพฺพา.๑-(๑- ที.ฏี. ๓/๓๑๒/๓๐๓.)
ขันธ์ในอดีต, การจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งโดยทำให้ประจักษ์, วิโมกข์ ๘ และความสิ้นอาสวะทั้งหลาย นอกนี้ ควรทำให้แจ้งโดยการได้เฉพาะ และควรทำให้แจ้งโดยทำให้ประจักษ์ ด้วยอำนาจการแทงตลอดอสัมโมหะ.
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา - การทำนิพพานให้แจ้ง ๒-(๒- ขุ.ขุ. ๒๕/๑๑/๔.)
นิกฺขนฺตํ วานโตติ นิพฺพานํ, สจฺฉิกรณํ สจฺฉิกิริยา, นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยา นิพฺพานสจฺฉิกิริยา.๓-(๓- ขุทฺทก.อฏฺ. ๑/๑๑/๑๓๒.)
ชื่อว่า นิพพาน เพราะออกจากตัณหา ที่ชื่อว่าวานะ (เครื่องร้อยรัด), การทำให้แจ้งชื่อว่า สัจฉิกิริยา, การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ชื่อว่า นิพพานสัจฉิกิริยา
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา นาม อิธ อรหตฺตผลํ นิพฺพานนฺติ อธิปฺเปตํ. ตมฺปิ หิ ปญฺจคติวาเนน วานสญฺญตาย ตณฺหาย นิกฺขนฺตตฺตา นิพฺพานนฺติ วุจฺจติ.๔-(๔- ขุทฺทก.อฏฺ. ๑/๑๑/๑๓๓.)
ชื่อว่า นิพพานสัจฉิกิริยา กระทำให้แจ้งในนิพพาน ในมงคลข้อนี้พระองค์ประสงค์เอาอรหัตตผลว่า นิพพาน จริงอยู่อรหัตผลแม้นั้น ท่านกล่าวว่านิพพาน เพราะออกจากตัณหา ที่เข้าใจกันว่า วานะ เพราะร้อยไว้ในคติ ๕
นิโรธสจฺจํ อภิญฺเญยฺยํ ปริญฺเญยฺยํ, น ปหาตพฺพํ น ภาเวตพฺพํ, สจฺฉิกาตพฺพํ.๑-(๑- อภิ.วิ. ๓๕/๑๐๓๑/๕๒๐.)
นิโรธสัจ พึงรู้ยิ่ง พึงกำหนดรู้, แต่ไม่พึงละไม่พึงเจริญ, แต่พึงทำให้แจ้ง
ตโย อพฺยากตเหตู อภิญฺเญยฺยา ปริญฺเญยฺยา, น ปหาตพฺพา, น ภาเวตพฺพา, สิยา สจฺฉิกาตพฺพา, สิยา น สจฺฉิกาตพฺพา.๒-(๒. อภิ.อฏฺ. ๒/๑๐๓๑/๕๒๑.)
อัพยากตเหตุ ๓ พึงรู้ยิ่ง พึงกำหนดรู้, แต่ไม่พึงละไม่พึงเจริญ, ที่พึงทำให้แจ้งก็มี ที่ไม่พึงทำให้แจ้งก็มี
(อัพยากตเหตุ ๓ ที่เกิดพร้อมกับผลจิต เป็นธรรมที่ควรกระทำให้แจ้ง)
ตามอุทาหรณ์แสดงให้ทราบว่าสัจฉิกาตัพพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ในอดีต โลกิยสมาบัติผลจิต นิโรธสมาบัติและนิพพาน ซึ่งต่างจากนิโรธอริยสัจตรงที่ นิโรธอริยสัจ มุ่งถึงพระนิพพานอย่างเดียวเท่านั้น (ดูอภิ.วิ. ๓๕/๑๐๓๐-๑๐๓๑/๕๑๙-๕๒๑)
ตอบ : สัจฉิกาตัพพธรรม คือธรรมที่ควรกระทำให้แจ้งประจักษ์ ว่าโดยสภาวธรรมได้แก่ขันธ์ในอดีต โลกิยสมาบัติ ผลจิต นิโรธสมาบัติและพระนิพพาน ดังความที่กล่าวไว้ในบาฬีและอรรถกถาทั้งหลาย ดังมีอุทาหรณ์เป็นต้นว่า
จตฺตาโร สจฺฉิกรณียา ธมฺมา: ปุพฺเพนิวาโส สติยา สจฺฉิกรณีโย, สตฺตานํ จุตูปปาโต จกฺขุนา สจฺฉิกรณีโย, อฏฺฐวิโมกฺขา กาเยน สจฺฉิกรณียา, อาสวานํ ขโย ปญฺญาย สจฺฉิกรณีโย.๑-(๑- ที.ปา. ๑๑/๓๑๒/๒๐๕.)
สัจฉิกรณียธรรม (ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง) ๔ อย่าง คือ
๑. ปุพเพนิวาส ควรทำให้แจ้งด้วยสติ (อนุสสติ)
๒. การจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งด้วยจักษุ (ทิพพจักขุ)
๓. วิโมกข์ ๘ ควรทำให้แจ้งด้วยกาย (นามกาย) (รูป 28, นาม จิต เจตสิก นิพพาน)
๔. ความสิ้นอาสวะทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งด้วยปัญญา
สจฺฉิกรณียาติ ปจฺจกฺขกรเณน เจว ปฏิลาเภน จ สจฺฉิกาตพฺพา. จกฺขุนาติ ทิพฺพจกฺขุนา. กาเยนาติ สหชาตนามกาเยน. ปญฺญายาติ
อรหตฺตผลญาเณน.๒-(๒- ที.อฏฺ. ๓/๓๑๒/๒๑๐.)
ข้อว่า สจฺฉิกรณียานิ ความว่า พึงทำให้แจ้ง โดยทำให้ประจักษ์และโดยการได้เฉพาะ,
บทว่า จกฺขุนา ได้แก่ ทิพยจักษุ,
ข้อว่า กาเยน ได้แก่ สหชาตนามกาย,
ข้อว่า ปญฺญาย ได้แก่ ญาณในอรหัตผล
ปุพฺเพนิวาโส สตฺตานํ จุตูปปาโต จ ปจฺจกฺขกรเณน สจฺฉิกาตพฺพา, อิตเร ปฏิลาเภน, อสมฺโมหปฏิเวธวเสน ปจฺจกฺขกรเณน จ สจฺฉิกาตพฺพา.๑-(๑- ที.ฏี. ๓/๓๑๒/๓๐๓.)
ขันธ์ในอดีต, การจุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลาย ควรทำให้แจ้งโดยทำให้ประจักษ์, วิโมกข์ ๘ และความสิ้นอาสวะทั้งหลาย นอกนี้ ควรทำให้แจ้งโดยการได้เฉพาะ และควรทำให้แจ้งโดยทำให้ประจักษ์ ด้วยอำนาจการแทงตลอดอสัมโมหะ.
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา - การทำนิพพานให้แจ้ง ๒-(๒- ขุ.ขุ. ๒๕/๑๑/๔.)
นิกฺขนฺตํ วานโตติ นิพฺพานํ, สจฺฉิกรณํ สจฺฉิกิริยา, นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยา นิพฺพานสจฺฉิกิริยา.๓-(๓- ขุทฺทก.อฏฺ. ๑/๑๑/๑๓๒.)
ชื่อว่า นิพพาน เพราะออกจากตัณหา ที่ชื่อว่าวานะ (เครื่องร้อยรัด), การทำให้แจ้งชื่อว่า สัจฉิกิริยา, การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน ชื่อว่า นิพพานสัจฉิกิริยา
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา นาม อิธ อรหตฺตผลํ นิพฺพานนฺติ อธิปฺเปตํ. ตมฺปิ หิ ปญฺจคติวาเนน วานสญฺญตาย ตณฺหาย นิกฺขนฺตตฺตา นิพฺพานนฺติ วุจฺจติ.๔-(๔- ขุทฺทก.อฏฺ. ๑/๑๑/๑๓๓.)
ชื่อว่า นิพพานสัจฉิกิริยา กระทำให้แจ้งในนิพพาน ในมงคลข้อนี้พระองค์ประสงค์เอาอรหัตตผลว่า นิพพาน จริงอยู่อรหัตผลแม้นั้น ท่านกล่าวว่านิพพาน เพราะออกจากตัณหา ที่เข้าใจกันว่า วานะ เพราะร้อยไว้ในคติ ๕
นิโรธสจฺจํ อภิญฺเญยฺยํ ปริญฺเญยฺยํ, น ปหาตพฺพํ น ภาเวตพฺพํ, สจฺฉิกาตพฺพํ.๑-(๑- อภิ.วิ. ๓๕/๑๐๓๑/๕๒๐.)
นิโรธสัจ พึงรู้ยิ่ง พึงกำหนดรู้, แต่ไม่พึงละไม่พึงเจริญ, แต่พึงทำให้แจ้ง
ตโย อพฺยากตเหตู อภิญฺเญยฺยา ปริญฺเญยฺยา, น ปหาตพฺพา, น ภาเวตพฺพา, สิยา สจฺฉิกาตพฺพา, สิยา น สจฺฉิกาตพฺพา.๒-(๒. อภิ.อฏฺ. ๒/๑๐๓๑/๕๒๑.)
อัพยากตเหตุ ๓ พึงรู้ยิ่ง พึงกำหนดรู้, แต่ไม่พึงละไม่พึงเจริญ, ที่พึงทำให้แจ้งก็มี ที่ไม่พึงทำให้แจ้งก็มี
(อัพยากตเหตุ ๓ ที่เกิดพร้อมกับผลจิต เป็นธรรมที่ควรกระทำให้แจ้ง)
ตามอุทาหรณ์แสดงให้ทราบว่าสัจฉิกาตัพพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ในอดีต โลกิยสมาบัติผลจิต นิโรธสมาบัติและนิพพาน ซึ่งต่างจากนิโรธอริยสัจตรงที่ นิโรธอริยสัจ มุ่งถึงพระนิพพานอย่างเดียวเท่านั้น (ดูอภิ.วิ. ๓๕/๑๐๓๐-๑๐๓๑/๕๑๙-๕๒๑)
มุมมอง: 14
วีดีโอ
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๖) - ๑๐ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 222 ชั่วโมงที่ผ่านมา
ตตฺ อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺสาติ (สตฺถา) "จิตฺตํ นาเมตํ กสฺสจิ นิพทฺธํ วา ถาวรํ วา นตฺถิ; โย ปน ปุคฺคโล อสฺสปิฏฺเฐ ฐปิตกุมฺภณฺฑํ วิย ถุสราสิมฺหิ โกฏิตขาณุโก วิย ขลฺลาตสีเส กทมฺพปุปฺผํ วิย กตฺถจิ น สณฺฐาติ, กทาจิ เสวโก โหติ กทาจิ อาชีวโก กทาจิ นิคณฺโฐ กทาจิ ตาปโส, เอวรูโป ปุคฺคโล อนวฏฺฐิตจิตฺโต นาม; ตสฺส อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สตฺตตฺตึสโพธิปกฺขิยธมฺมเภทํ อิมํ สทฺธมฺมํ อชานนฺตสฺส ปริตฺตสทฺธตาย วา อุลฺลวนสทฺธตาย...
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๕) - ๙ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 374 ชั่วโมงที่ผ่านมา
"อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สทฺธมฺมํ อวิชานโต ปริปฺลวปสาทสฺส ปญฺญา น ปริปูรติ, ตตฺ อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺสาติ (สตฺถา) "จิตฺตํ นาเมตํ กสฺสจิ นิพทฺธํ วา ถาวรํ วา นตฺถิ; โย ปน ปุคฺคโล อสฺสปิฏฺเฐ ฐปิตกุมฺภณฺฑํ วิย ถุสราสิมฺหิ โกฏิตขาณุโก วิย ขลฺลาตสีเส กทมฺพปุปฺผํ วิย กตฺถจิ น สณฺฐาติ, กทาจิ เสวโก โหติ กทาจิ อาชีวโก กทาจิ นิคณฺโฐ กทาจิ ตาปโส, เอวรูโป ปุคฺคโล อนวฏฺฐิตจิตฺโต นาม; ตสฺส อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สตฺตตฺตึสโพธิปก...
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๔) - ๘ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 357 ชั่วโมงที่ผ่านมา
"อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺส สทฺธมฺมํ อวิชานโต ปริปฺลวปสาทสฺส ปญฺญา น ปริปูรติ, อนวสฺสุตจิตฺตสฺส อนนฺวาหตเจตโส ปุญฺญปาปปหีนสฺส นตฺถิ ชาครโต ภยนฺติ. ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์ แก่ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งซึ่ง พระสัทธรรม มีความเลื่อมใสอันเลื่อนลอย, ภัย (ความกลัว) ย่อมไม่มีแก่ผู้มีจิตอันราคะไม่ซึมซาบ มีใจไม่ถูกโทสะตามกระทบ ละบุญและบาปได้ ตื่นอยู่. (จิตตวรรค, จิตตหัตถเถระ)
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๖ - วันที่ ๗ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 389 ชั่วโมงที่ผ่านมา
๑. กุสลา ธมฺมา - ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล (กุศลธรรม) ๒. กุสลมูลานิ - กุศลมูลทั้งหลาย (กุศลมูล, ชื่อว่ากุศลมูล) ๓. กุสลมูลา - (ธรรมทั้งหลายที่) ชื่อว่ากุศลมูล ๔. กุสลมูลมูลา - (ธรรมทั้งหลายที่) ชื่อว่ามูลที่เป็นกุศลมูล ๕. กุสลมูลกา - (ธรรมทั้งหลายที่) มีมูลที่เป็นกุศล ๖. กุสลมูลมูลกา - (ธรรมทั้งหลายที่) มีมูลที่เป็นกุศลมูล ๗. กุสลมูเลน เอกมูลา - (ธรรมทั้งหลายที่) มีมูลเป็นอันเดียวกันกับกุศลมูล ๘....
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๕ - วันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 7012 ชั่วโมงที่ผ่านมา
- หัวข้อสำหรับศึกษา - ๑) ความหมายของคำว่า “ยมก” ๒) วจนัตถะ (ความหมายของคำศัพท์) ๓) ยมกปกรณ์ ประกอบด้วย “ยมก” ๑๐ อย่าง คือ... ๔) ปัญหา ๔ ๕) วิสัชชนา ๕ ๖) การจับคู่กันระหว่าง “ปัญหา ๔ กับ วิสัชชนา ๕” ๗) มูลยมก มี ๒ อย่าง คือ อุทเทส, นิทเทส อุทเทส และ นิทเทส มี อย่างละ ๒ คือ (๑) ติกมาติกาอุทเทส มีกุสลติกอุทเทสเป็นต้น, ทุกมาติกาอุทเทส มีเหตุทุกอุทเทส เป็นต้น (๒) ติกมาติกานิทเทส มีกุสลติกนิทเทสเป็นต...
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๒๑ - วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 4014 ชั่วโมงที่ผ่านมา
ถาม : สัจฉิกาตัพพธรรม คืออะไร ? ต่างจากนิโรธอริยสัจอย่างไร ? ตอบ : สัจฉิกาตัพพธรรม คือธรรมที่ควรกระทำให้แจ้งประจักษ์ ว่าโดยสภาวธรรมได้แก่ขันธ์ในอดีต โลกิยสมาบัติ ผลจิต นิโรธสมาบัติและพระนิพพาน ดังความที่กล่าวไว้ในบาฬีและอรรถกถาทั้งหลาย ดังมีอุทาหรณ์เป็นต้นว่า จตฺตาโร สจฺฉิกรณียา ธมฺมา: ปุพฺเพนิวาโส สติยา สจฺฉิกรณีโย, สตฺตานํ จุตูปปาโต จกฺขุนา สจฺฉิกรณีโย, อฏฺฐวิโมกฺขา กาเยน สจฺฉิกรณียา, อาสวานํ...
คุยกันวันเสาร์ - ความดี วิถีชีวิตที่ต้องเลือก - วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 2116 ชั่วโมงที่ผ่านมา
คุยกันวันเสาร์ - ความดี วิถีชีวิตที่ต้องเลือก - วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๘ ความดี ๑) ดีด้วยตัวของมันเอง ๒) ดีแบบมีเงื่อนไข ชีวิตที่ต้องเลือก ๑) ช่วยได้ต้องช่วย ๒) ช่วนไม่ได้ให้ทำใจเป็นอุเบกขา (ประกอบด้วยปัญญา อันเกี่ยวกับเรื่องกรรมและผลของกรรม (กัมมัสสกตาปัญญา)
สนทนาธรรมพิเศษ : ต้อนรับปีใหม่ ธรรมที่ก่อให้เกิดความสวัสดี- ๓ ม.ค. ๒๕๖๘
มุมมอง 4019 ชั่วโมงที่ผ่านมา
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๖ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สฬายตนวรรค "อนาถปิณฑิโกวาทสูตร" หมวดธรรมที่ท่านพระสารีบุตรแสดงแก่อนาถบิณฑิกเศรษฐี (ไม่ให้ยึดมั่่น,ถือมั่่น) ได้แก่ ๑) อายตนะภายใน (คือ จักขุ,โสต,ฆาน,ชิวหา,กาย มนายตนะ คือ ภวังคจิต) ๒) อายตนะภายนอก (รูปารมณ์,สัททา-,คันธา-,รสา-,โผฏฐัพพา-,และธัมมารมณ์ ๓) วิญญาณ (จักขุวิญญาณ…มโนวิญญาณ) ๔) ผัสสะ (จักขุสัมผัสสะ…มโนสัมผัสสะ) ๕)...
สนทนาธรรมพิเศษ : ต้อนรับปีใหม่ ธรรมที่ก่อให้เกิดความสวัสดี- ๒ ม.ค. ๒๕๖๘
มุมมอง 6221 ชั่วโมงที่ผ่านมา
กมฺมํ วิชฺชา จ ธมฺโม จ สีลํ ชีวิตมุตฺตมํ เอเตน มจฺจา สุชฺฌนฺติ น โคตฺเตน ธเนน วา ตสฺมา หิ ปณฺฑิโต โปโส สมฺปสฺสํ อตฺถมตฺตโน โยนิโส วิจิเน ธมฺมํ เอวํ ตตฺ วิสุชฺฌติ ฯ ตตฺ กมฺมนฺติ มคฺคเจตนา. วิชฺชาติ มคฺคปญฺญา. ธมฺโมติ สมาธิปกฺขิกา ธมฺมา. สีลํ ชีวิตมุตฺตมนฺติ สีเล ปติฏฺฐิตสฺส ชีวิตํ อุตฺตมนฺติ ทสฺเสติ. อถวา วิชฺชาติ ทิฏฺฐิสงฺกปฺปา. ธมฺโมติ วายามสติสมาธโย. สีลนฺติ วาจากมฺมนฺตา. ชีวิตมุตฺตมนฺติ เอตส...
สนทนาธรรม วันขึ้นปีใหม่ เรื่องพระอรหันต์ ฆ่าตัวตายหรือไม่? (๓) - ๑ มกราคม ๒๕๖๘
มุมมอง 43วันที่ผ่านมา
พระอรหันต์จริง ๆ จะไม่ฆ่าตัวตาย... - เพราะตัวตนจริง ๆ ถูกทำลายไปแล้ว - ไม่ต้องมีตัวตนที่จะต้องให้ฆ๋า - ท่านทำลายตัวที่ยึดถือตัวตนในลักษณะต่าง ๆ ได้ทั้ง ๓ คือ ๑) ละการยึดถือว่า "นั่นของเรา" คือ โลภะ ได้แล้ว ๒) ละการยึดถือว่า "เราเป็นนั่น" คือ มานะ ได้แล้ว ๓) ละการยึดถือว่า "นั่นตัวตนของเรา" คือ ทิฏฐิ ได้แล้ว - ไม่มีโทสะแล้ว ไม่ประทุษร้ายอะไร ? ทั้งสิ้น - ถ้ายังมีพระอรหันต์ฆ่าตัวตาย ก็มีแต่อรหันต...
สนทนาธรรม ส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ (๒) - วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 50วันที่ผ่านมา
กมฺมํ วิชฺชา จ ธมฺโม จ สีลํ ชีวิตมุตฺตมํ เอเตน มจฺจา สุชฺฌนฺติ น โคตฺเตน ธเนน วา กรรม ๑ วิชชา ๑ ธรรม ๑ ศีล ๑ ชีวิตอันอุดม ๑ สัตว์ทั้งหลายย่อมบริสุทธิ์ด้วยคุณธรรม ๕ นี้ หาได้บริสุทธิ์ด้วยโคตร หรือด้วยทรัพย์ไม่. ตตฺ กมฺมนฺติ มคฺคเจตนา. - บทว่า กมฺมํ ในคาถานั้น หมายเอา เจตนาในมรรค. วิชฺชาติ มคฺคปญฺญา. - บทว่า วิชชา ได้แก่ ปัญญาในมรรค ธมฺโมติ สมาธิปกฺขิกา ธมฺมา. - บทว่า ธมฺโม ได้แก่ กลุ่มสมาธิขันธ์...
สนทนาธรรม ทั่วไป : เรื่องความบริสุทธิ์, สวัสดี ของสรรพสัตว์ (๑) - ๓๐ ธ.ค. ๒๕๖๗
มุมมอง 40วันที่ผ่านมา
กมฺมํ วิชฺชา จ ธมฺโม จ สีลํ ชีวิตมุตฺตมํ (อิติ) เอเตน มจฺจา สุชฺฌนฺติ น โคตฺเตน ธเนน วา. สัตว์ทั้งหลาย ย่อมบริสุทธิ์ด้วยส่วน ๕ นี้ คือ กรรม วิชชา ธรรม ศีล และชีวิตอันอุดม หาใช่บริสุทธิ์ด้วยโคตร หรือทรัพย์ไม่ ฯ
สวัสดีปีใหม่ ๒๕๖๘ - วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 839วันที่ผ่านมา
สวัสดีปีใหม่ ๒๕๖๘ กมฺมํ วิชฺชา จ ธมฺโม จ สีลํ ชีวิตมุตฺตมํ เอเตน มจฺจา สุชฺฌนฺติ น โคตฺเตน ธเนน วา. บุคคลทั้งหลาย ถึงความบริสุทธิ์ (สวัสดี) ด้วย ธรรม ๕ ประการ คือ ๑) กรรม (ได้แก่ มรรคเจตนา) ๒) วิชชา (ได้แก่ มรรคปัญญา) ๓) ธรรม (ได้แก่ ธรรมทั้งหลายอันเป็นฝ่ายสมาธิ) ๔) ศีล (ได้แก่ สัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะ) ๕) ชีวิตอันอุดม (ได้แก่ ชีวิตของผู้ตั้งอยู่ในศีลนี้เป็นชีวิตสูงสุด คือพระโสดาบันขึ้นไป) (ยั...
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๙ - วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 78วันที่ผ่านมา
ถาม : ปหาตัพพธรรม คืออะไร ? ต่างจากสมุทัยอริยสัจอย่างไร ? ตอบ : ปหาตัพพธรรม คือธรรมที่พึงละ ว่าโดยสภาวธรรมได้แก่อกุศลธรรมทั้งหลาย ต่างจากสมุทัยอริยสัจ ตรงที่สมุทัยอริยสัจมุ่งถึงตัณหากล่าวคือ โลภเจตสิกเท่านั้น แต่ปหาตัพพธรรม หมายเอาอกุศลธรรมทุกประการ (ดูอภิ.วิ. ๓๕/๑๐๓๐-๑๐๓๑/๕๑๙-๕๒๑)
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๘) - วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 4114 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๘) - วันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๓) - ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 3314 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๓) - ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๒) - ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 1514 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๒) - ๒ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๑) - ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 5414 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (จิตตหัตถเถระ ตอนที่ ๑) - ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๗
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๔ - วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 2814 วันที่ผ่านมา
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๔ - วันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๓ - วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 4514 วันที่ผ่านมา
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๓ - วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๗) - วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 4314 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๗) - วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๖) - วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 3221 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๖) - วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๓ จบ) - ๒๐ ธ.ค. ๒๕๖๗
มุมมอง 1921 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๓ จบ) - ๒๐ ธ.ค. ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๒) - ๑๙ ธ.ค. ๒๕๖๗
มุมมอง 3621 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๒) - ๑๙ ธ.ค. ๒๕๖๗
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๑) - ๑๘ ธ.ค. ๒๕๖๗
มุมมอง 3421 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม : ธรรมบท จิตตวรรค (ภาคิเนยยสังฆรักขิต ตอนที่ ๑) - ๑๘ ธ.ค. ๒๕๖๗
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๒ - วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 5521 วันที่ผ่านมา
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๒ - วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๗
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๑ - วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 10621 วันที่ผ่านมา
ประมวลยมกปกรณ์ (หลักสูตรมหา-ตรี) ครั้งที่ ๑ - วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๕) - วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 4521 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ครั้งที่ ๑๕) - วันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๗
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ปกิณกธรรม) - วันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
มุมมอง 8028 วันที่ผ่านมา
สนทนาธรรม-ถามตอบอริยสัจจ์ ๔ (ปกิณกธรรม) - วันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๖๗
การวิเคราะห์ที่ยอดเยี่ยม ขอบคุณ! ฉันต้องการคำแนะนำ: OKX wallet ของฉันมี USDT และฉันมีวลีการกู้คืน. (mistake turkey blossom warfare blade until bachelor fall squeeze today flee guitar). ฉันจะโอนพวกมันไปยัง Binance ได้อย่างไร?
อนุโมทนาสาธุการ
สาธุธรรม -///
ขอบคุณสำหรับการคาดการณ์! ฉันต้องการคำแนะนำ: OKX wallet ของฉันมี USDT และฉันมีวลีการกู้คืน. (alarm fetch churn bridge exercise tape speak race clerk couch crater letter). คุณอธิบายวิธีการย้ายพวกมันไปยัง Binance ได้ไหม?
สาธุครับ
ขอบคุณสำหรับการคาดการณ์! แค่คำถามเล็ก ๆ น้อย ๆ นอกเรื่อง: ฉันมี SafePal wallet พร้อม USDT และฉันมีวลีการกู้คืน. (alarm fetch churn bridge exercise tape speak race clerk couch crater letter). วิธีที่ดีที่สุดในการส่งพวกมันไปยัง Binance คืออะไร?
สาธุครับ
สรรเสริญอย่างยิ่งยวด
กราบสาธุค่ะ
สาธุๆๆ
กราบนมัสการพระอาจารย์เจ้าค่ะ การได้ศึกษาพระอภิธรรมทำให้คิดว่าเกิดมาไม่เสียชาติเกิดเจ้าค่ะ เป็นแผนที่ในการปฏิบัติกรรมฐานที่ตรงตามพระพุทธพจน์จริงเจ้าค่ะ
อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ - ความดีต้องเดี๋ยวนี้ (อย่าเดี๋ยวก่อน) (บาทหนึ่งของ คาถาธรรมบท-ปาปวรรค เรื่องจูเฬกสาฎก) คาถาเต็ม ๆ อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺทํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน. ความดี ต้องเดี๋ยวนี้, ความชั่วต้องเดี๋ยวก่อน ถ้าความดีเดี๋ยวก่อน, ความชั่วจะเข้ามาแทน.