ep.144 : พระเจ้าท้ายสระ-พระเจ้าบรมโกศ ในเอกสารจีน (ชิงสือลู่)
ฝัง
- เผยแพร่เมื่อ 9 ก.พ. 2025
- รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
รายการประวัติศาสตร์ย่อยง่าย
เพื่อเสริมสร้างความรู้ทางเลือก
โดย หอย อภิศักดิ์
TH-cam : HOY APISAK - OFFICIAL
/ @hoyapisak
Fanpage : Hoy Apisak Fanspace
/ hoyapisak
Podcast : รุ่นเก๋า...เล่าเกร็ด
pod.co/hoyapisak
Tik Tok : Hoy Apisak - Official
/ hoyapisak
--
ขอขอบพระคุณ :
คุณอัศวิน อัศวพิทยานนท์
เอื้อเฟื้อภาพ A.I. และ Computer Graphic
--
::: อ้างอิง :::
หมิงสือลู่ - ชิงสือลู่ บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์แหมิงและราชวงศ์ชิงฯ / วินัย พงศ์ศรีเพียร บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, ๒๕๕๙.
ประชุมพงศาวดารภาค 37 เรื่องจดหมายเหตุของคณะบาดหลวงฝรั่งเศสซึ่งเข้ามาตั้งครั้งกรุงศรีอยุธยา ตอนแผ่นดินพระเจ้าเสือแลแผ่นดินพระเจ้าท้ายสระ ภาค 4 : พิมพ์ในงารศพ คุณหญิงผลากรรุรักษ (สงวน เกาไศยนันท์) เมื่อปีขาล พ.ศ.2469 โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร
บทความ “เส้นทางชีวิต “โกษาธิบดีจีน” ขุนนางใหญ่ยุคพระเจ้าท้ายสระ ท้ายสุดพบจุดจบแสนอนาถ” โดย ปดิวลดา บวรศักดิ์ เว็บไซต์นิตยสารศิลปวัฒนธรรม
www.silpa-mag....
-
::: Credits :::
โมชั่นกราฟิกไตเติ้ลรายการ :
จารุวัตร โภไคธเนศ
Motion Graphic :
Jaruwatr Bhokhaidhanes
เพลงไตเติ้ลรายการและดนตรีประกอบ :
บันทึกเสียง มิกซ์ และมาสเตอร์ โดย นฤชิต เฮงวัฒนอาภา
Title Music and Scores :
Recorded / Mixed and Mastered by Naruechit Hengwattanaarpaa
ภาพนิ่ง :
รุ่งทิพย์ เฟื่องฟุ้ง
Photography :
Roongthip Fuengfung
สคริปต์ บรรยาย และเพลงประกอบรายการ :
หอย อภิศักดิ์
Written, performed and all music by Hoy Apisak
--
รุ่นเก๋า…เล่าเกร็ด
เรียงตาม Timeline ในประวัติศาสตร์
จัดลำดับโดยคุณ Noppadol Mukyu Sathusen
• รุ่นเก่า เล่าตาม Timeline
#ep144 #พรหมลิขิต #พระเจ้าท้ายสระ #บรมโกศ #ชิงสือลู่ #เอกสารจีน #เจ้าฟ้าเพชร #เจ้าฟ้าพร #ออเจ้า #ขุนหลวง #ท้ายสระ #ราชวงศ์ชิง #จีน #เฉียนหลงฮ่องเต้ #ทองแดง #คังซี #จิ้มก้อง #บรรณาการ #การทูต #เฉียนหลงฮ่องเต้ #กรุงศรี #Ayutthaya #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #Siam #สยาม #เกร็ด #ความรู้ #เกร็ดความรู้ #ประวัติศาสตร์ #History #เสียงหอย #HoyApisak #Announcer #โฆษก
16:53 ดูสยามเป็นลูกรักจีนมากมาย
เค้าเรียกอยู่เป็นมาแต่นานนม😂😂
จริงครับ เหมือนคนพิเศษ
ทองแดงคงใช้เป็นส่วนผสมในการทำโลหะสำริดครับ ซึ่งใช้ในการหล่อพระพุทธรูป ปืนใหญ่ และเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ขอบคุณครับ
สยามอยู่เป็น โอนอ่อนดุจ ต้นหญ้า.. มองหาโอกาส ใหม่ๆอยู่เสมอ
ปัจจุบันเรือดีที่มีคุณภาพ ก็ยังเป็นช่างฝีมือไทยครับ ที่พัทยา และแถวภาคใต้นี่ แหล่งใหญ่ของการต่อเรือและส่งขายทั้วโลกครับ
ขอบคุณครับ
ภาพประกอบเข้ากับการเล่าเรื่องทำได้ดีมาก ขอชื่นชมคนเขียนภาพด้วยครับ
ขอบคุณครับ เดี๋ยวแจ้งให้น้องวินทราบนะครับ
實錄สือลู่ ประมาณบันทึกประจำวัน อาลักษณ์จะบันทึกอย่างละเอียด ขนาดฮ่องเต้เข้าห้องกับสนมคนไหน ที่ไหน เวลาเท่าไหร่ยังบันทึกเลย เป็นชาติที่ชอบจดบันทึกมากๆ
ปัญหาก็คือ清實錄 มันมีหลายเวอร์ชั่นฉบับพิมพ์ยุคใหม่แรกสุดเป็นของญี่ปุ่น พ.ศ.2479 ไต้หวันพิมพ์ล่าสุดเมื่อพ.ศ.2507 และจีนแผ่นดินใหญ่ล่าสุดเมื่อ พ.ศ.2528 ดังนั้นที่เอามาแปลไทยเอามาจากเล่มไหน? เนื้อหามันไม่ตรงกันเลยทีเดียว
ดีใจที่ได้พบหอยในงานมรดกโลกอยุธยา อยากให้ค้นคว้าเรื่องช้างมากๆ โดยเฉพาะความรุ่งเรื่องและล่มสลายของวัฒธรรมช้างแต่ละยุค มันต้องมีความเกี่ยวข้องกับการแสวงหาอำนาจของประเทศและโลกของแต่ละยุคแน่นอน เพราะเกี่ยวข้องกับอำนาจการล่าเมืองขึ้น การจัดการอำนาจการเมืองแต่ละยุค ทำให้มีผลกับวัฒนธรรมการเลี้ยงช้าง
ขอบพระคุณมากครับพี่ออม เป็นเกียรติอย่างสูงครับ 🙏🏽😊
ว้าววว..ให้กับภาพประกอบในepนี้ค่ะ ชอบโทนสี ทำให้ดูสวยแปลกตาไปเลย ส่วนเรื่องการบรรยายของคุณหอย ยังน่าฟังเหมือนเดิมค่ะ
ขอบคุณครับ ภาพสวย ๆ ต้องยกเครดิตให้น้องวินครับ
อยากให้น้าทำคลิป
เล่าถึงประวัติ. แม่ทัพ,ขุนศึก
เช่น( พระมหาเทพ) ที่เก่งกาจในสมัยอยุธยาให้ฟังหน่อยครับ กษัตริย์แต่ละพระองค์ฟังมาเยอะแล้ว
เหล่าแม่ทัพ,ขุนศึก น้อยคนจะพูดถึง
ที่ไม่ค่อยมีคนพูดถึง เพราะไม่มีข้อมูลครับ พงศาวดารเขียนเฉพาะเรื่องกษัตริย์ จดหมายเหตุฝรั่งก็ค่อยไม่พูดเรื่องสงคราม (ถ้าไม่ใช่ฝรั่งที่ออกรบ)
@@hoyapisak ขอบคุณครับ🙏🙏🙏
ช่วงนี้ สงกรานต์ เพิ่งขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลก อยากให้พี่หอย หาข้อมูล เกี่ยวกับ สงกรานต์ในพงศาวดารพม่า กฎหมายตราสามดวง พงศาวดาร เขมร และชิงสือลู่ ว่ามีระบุไว้หรือไม่อย่างไรครับ หรือแม้แต่ในจดหมายเหตุ ลาลูแบร์ อ่ะครับ ผมเคยเห็นหนังสือลาลูแบร์ ฉบับจริง ที่มีอายุ 300 กว่าปี เห็นแล้วขนลุกเลย
ตามความเข้าใจผมนะครับจิ้มก้อง เป็นระบบการค้าแบบหนึ่ง แต่ทำไปทำมาแล้วพระจักรพรรดิจีนคิดว่าคนที่จะมาทำการค้าด้วยคือประเทศที่เล็กกว่า เลยพระราชทานตราอนุญาต และแต่งตั้งเป็นระบบ
มันก็คือหลักจักรพรรดิราช ละครับ
ขอบคุณครับ
ภาพสวยมากครับ
ต้องขอบคุณน้องวินครับ 😊
By the way ภาพหน้าปก กับภาพประกอบ สวยมากครับ
ต้องขอบคุณน้องวินครับ น้องตั้งใจทำมาก 😊
จีนมักจะหยวนๆกับไทยมากกว่าประเทศอื่นทั้งยังขายสินค้าพิเศษเช่นเครื่องถ้วยลายน้ำทอง ให้แก่สยามซึ่งไม่มีขายให้แก่ใครเลย
ในราชสำนักสยามให้คนจีนเป็นเสนาบดี ซึ่งไม่มีที่ไหนให้เป็น เลยทำให้ราชสำนักจีนเองไว้ใจ
เพราะเขารู้ว่าไทยอุดมสมบูรณ์ มีผลประโยชน์กับเขาแล้วเขาจะทุบหม้อข่าวตัวเองทำไม ทุกอย่างล้วนไปกันได้ด้วยผลประโยชน์ร่วมกัน จนเดี๋ยวนี้ยิ่งอยากได้ไทยมาเป็นเมืองขึ้นโดยจะให้กู้เงินแบบไม่มีเพดานเพราะหวังครอบครองเหมือนลาวกับเขมร แต่ไทยเราระแวดระวังภัยนี้กันอยู่แล้วเลยไม่สนใจจะกู้จีน
น่าจะเพราะเรากับราชวงศ์จีเป็นพันธใมิตรกัน เมืองพี่เมืองน้อง
สวัสดีค่ะ
ชอบภาพวาดที่สุดเลยค่ะ
เป็นหัวข้อที่ผมรอเลยครับน้า 😊😊😊
ขอบคุณค่ะ
ขอบคุณครับ
รูปภาพประกอบสวยงามมากๆครับ
ขอบคุณครับ ต้องยกเครดิตให้น้องวินครับ
ชอบภาพประกอบมากเลยครับ สวย
ต้องให้เครดิตน้องวินเลยครับ 😊
ขอบคุณครับ❤️❤️❤️❤️❤️
ขอบพระคุณสำหรับความรู้ครับพี่หอย
ภาพสวยและเนื้อหาเพลินได้ความรู้มากๆครับ❤🙏
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ต้องขอบคุณนัองวิน generate ภาพสวย ๆ แถมยังทำกราฟิกมาให้ครับ
😍 ขอบคุณมากครับ❤
ขอบคุณครับ
รออยู่ค่ะ
รอติดตามครับ
ภาพสวย😊
ต้องยกเครดิตให้น้องวินครับ 😊
ชอบ ทีมี ภาพ A.I. สวยๆๆครับ❤❤❤❤🎉🎉🎉❤❤❤
ขอบคุณมากครับ ต้องยกเครดิตให้น้องวินเลยครับ
ภาพประกอบสวยงามมากครับ โทนสีสวยจังครับ อาจารย์ ❤
ขอบคุณครับ ต้องยกความชอบให้น้องวินครับ 😊
ภาพสวยค่ะ
ต้องขอบคุณน้องวินครับ 😊
ทองแดงมาทำสำริดครับ เอามาทำพระ เครื่องใช้ ส่วนอาวุธต้องเป็นเหล็ก เพราะแข็งและเหนียวกว่า
ขอบคุณครับ
❤❤สวัสดีครับ❤❤ช
ฟังออนแอร์สดไม่ทัน มาฟังย้อนหลังแล้วนะค้าาาา😁😁😁
ขอบคุณครับ 🙏🏽
ชอบฟังมากมากค่ะ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากครับอาจารย์ ติดตามตลอดครับ
🙏🏽
สุดยอดกุศโลบาย การยกเหตุผล การฑูต
ยอดเยี่ยมมากครับ ผมอยากได้หมิงสือลู่จัง มีข้อมูลน่าสนใจมากมายที่เราไม่เคยรู้
วันก่อนผมเห็นเพจ กรุงเก่าของชาวสยาม โพสต์ว่ายังมีจำหน่ายอยู่นะครับ
@@hoyapisak โอ ขอบคุณครับ
ผมมาแล้วครับน้าหอย #รุ่นเก๋าเล่าเกร็ด #ep144 #พระเจ้าท้ายสระพระเจ้าบรมโกศในเอกสารชิงสือลู่
จังหวะซิคคอม
ขอซื้อ ไม่ให้ซื้อ
หน้าคงเศร้า คอคงตก
ข้ามอบให้
ฟรี
😮😮😮
ได้ปนะโยชน์ใากค่ะ
ขอบคุณครับ
🙏🏽
แสดงว่าไทยเรามี
ความชำนาญเรื่อง
การต่อเรือตั้งแต่
โบราณมาแล้ว
หากมีการส่งเสริม
ไทยเราคงสร้าง
เรือได้ดีกว่าพวก
ฝรั่ง...
ภาพปกสวยมากครับ
ขอบคุณครับ ต้องยกเครดิตให้น้องวินครับ
ผมยากฟังเรื่องเกี่ยวกับปลาตะเพียน
เรียนเชิญครับ th-cam.com/video/SPY4wVx0HQg/w-d-xo.htmlsi=29IyGCZo2NvqYrg2
การค้าไทยจีนเป็นแบบประเทศเล็กกับประเทศใหญ่ หยวนได้ก็หยวนๆ😊😊😊
EP.นี้ มีภาพประกอบทำให้น่าติดตามมากๆเลยครับ😊
ต้องยกเครดิตให้น้องวินเลยครับ 😊
ชื่ออาจารย์ปดิวลดา น่าจะมีออกเสียงพยางค์ วะ นะครับ
ขอบคุณมากครับ 🙏🏽😊
ไม่ทราบเอกสาร หมิง ชิง สือลู่ ได้มาจากจีนหรือ ไต้หวันครับ ตอนที่เจียงไคเช็ค จะแพ้จากปักกิ่ง เขาขนของรวมทั้งบันทึกหลายอย่างจาก กู้กง(พระราชวังต้องห้าม) ประมาณ 10 กว่าโบกี้รถไฟ ไปที่ไต้หวัน ถ้าไปที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ ไต้หวัน จะมีห้อง calligraphy เก็บเอกสารบันทึกต่างๆไว้ 1 ห้อง และจัดแสดงแค่ 1 ใน 10 ครับ ถ้าเอกสารหมิง ชิงสือลู่ ได้มาจากจีนแผ่นดินใหญ่ น่าจะขาดอยู่เยอะ ถ้าได้มาจากไต้หวัน น่าจะสมบูรณ์กว่าเยอะครับ
มันมีข้อมูลอยู่ในคำนำของหนังสือ แต่ผมไม่ได้พกติดตัวมาครับ วันนี้มาอยุธยา
ราชวงศ์หมิงมีหมิงสือกับหมิงสื่อลู่ ฉบับภาษาจีนมีต้นฉบับตีพิมพ์ในจีนแผ่นดินใหญ่ สำนักพิมพ์หลักคือ จงหัวชู้จู่ที่ปักกิ่ง พงศาวดารจีนตีพิมพ์ในหลายสำนักพิมพ์ทั้งในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวัน ถ้าคุณใช้ตัวอักษรจีนเสิร์ชในอินเตอร์เน็ตอาจจะเจอว่าสำนักพิมพ์ไหนพิมพ์บ้างพงศาวดารจีนหลายฉบับปัจจุบันเอาขึ้นอินเตอร์เน็ต ส่วนหมิงสือลู่มีแปลเป็นภาษาอังกฤษขึ้นในเว็ปของมหาวิทยาลัยฮ่องกง
@@keatkhamjornmeekanon7616 ขอบคุณครับ 🙏🏽
เรื่องเจียงไคเช็คขนพงศาวดารจากปักกิ่งไปไทเปไม่ใช่ปัญหาครับ ปัญหาก็คือ清實錄 มันมีหลายเวอร์ชั่นฉบับพิมพ์ยุคใหม่แรกสุดเป็นของญี่ปุ่น พ.ศ.2479 ไต้หวันพิมพ์ล่าสุดเมื่อพ.ศ.2507 และจีนแผ่นดินใหญ่ล่าสุดเมื่อ พ.ศ.2528 ดังนั้นที่เอามาแปลไทยเอามาจากเล่มไหน? เนื้อหามันไม่ตรงกันเลยทีเดียว
นั่นซิครับ ผมคิดว่าเอกสารที่ว่าตอนแรกน่าจะอยู่ที่กู้กง(พระราชวังต้องห้าม) ปักกิ่งเพราะเป็นศูนย์กลางอำนาจ มาตั้งแต่จูตี้ ราชวงศ์หมิง ประมาณคศ 1500 ถึงสิ้นราชวงศ์ชิง ประมาณปี 1900 นะครับ ที่สำคัญวังไม่ได้โดนเผาเพราะสงครามเลยและ ฮ่องเต้คงไม่ปล่อยให้เมืองอื่นๆของจีนมี copy เก็บไว้ละเอียด
ของญี่ปุ่นดูน่าเชื่อถือดีเหมือนกันนะครับ เพราะช่วงนั้น 2479 คศ 1936 ญี่ปุ่นเพิ่งขยายอำนาจมาแมนจูเรีย อาจจะเพิ่งเริ่มยึดปักกิ่งได้หมาดๆ
ของไต้หวัน 2507 คศ 1964 สงครามกลางเมืองของจีนจบไปตั้ง 15 ปีแล้ว แต่น่าจะได้เอกสารส่วนใหญ่ของกู้กงไป
ของจีน2528 คศ 1985 ถ้าไม่มีส่วนของไต้หวันมาประกอบ ความเชื่อถือ น่าจะน้อยกว่า 2 ฉบับต้นครับ
อยากทราบว่าออกญาโกษาจีนที่โดนฆ่าคือคนเดียวกับสมัยพระเจ้าท้ายสระไหมคะ เพราะถ้าเปลี่ยนสมัยท่านน่าจะชรามากแล้ว เหมือนเคยอ่านผ่านๆว่าออกญาจีนยังหนุ่มอยู่หรือจะเป็นคนละคน
คนละคนครับ เข้าใจถูกแล้ว โกษาจีนที่ช่วยเจ้าฟ้าอภัยเป็นคนหนุ่ม โดยคนนี้จะเริ่มมีบทบาทช่วงหลังพ.ศ. 2270 ลงไปครับ
ที่มีคำถามว่า สยาม มีความต้องการใช้ทองแดง เพื่อประโยชน์ใดโดยเฉพาะใน ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อถึงกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์นั้น ทองแดง ส่วนผสมสำคัญของ สำริด ซึ่งประกอบด้วย ทองแดงและดีบุก โลหะผสมสำคัญ ที่มีคุณสมบัติ ที่ไม่แข็งเกินไปและอ่อนเกินไป สามารถนำมา พระพุทธรูป อาวุธ เครื่องใช้โลหะต่างๆ อย่างเหมาะสมมีคุณภาพดีหลากหลาย ที่สำคัญคือไม่ขึ้นสนิม
จริงๆรายการมีข้อมูลที่ดีคับ
แต่
นำเสนอได้ง่วงมากคับ
ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นครับ
❤❤❤❤😊
ตริงๆเรามีแหล่งทองแดงของเราเอง แต่คงไม่พอ หรือไม่ทราบด้วยสาเหตุใด จึงต้องนำเข้า
1. เราจะบอกได้ไหมว่า การปลูกข้าวเพื่อส่งออก เริ่มตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าท้ายสระ แต่มาทำเป็นระบบมากขึ้นตอนสนธิสัญาเบาว์ริ่ง
- สมัยบรมโกศ บูรณะวัดเยอะมาก คงต้องการทองแดงมาผสมในการหล่อพระแน่ๆ ครับ
ขอบคุณมากครับคุณอ๊อด สมัยพระเจ้าท้ายสระผมว่าเป็นไปได้เช่นกันครับ ที่อยุธยาจะเน้นส่งออกข้าว
ก็ถูกคัดกรองจาก ฮ่องเต้องค์ใหม่
ดารา เขมร เอาชุดไทยไปใส่แล้วเครม ที่รายการจีน รบกวนผู้เกี่ยวข้อง จัดการหน่อยครับ
อย่าไปให้ค่าตัวครึ่งบกครึ่งน้ำข้างบ้านเลย พวกมันเรียกร้องความสนใจ 😂😂😂😂😂😂
เรื่องงสั่งต่อเรือนี่ความรู้ใหม่เลยขอรับ
เช่นกันครับ
แบบนี้ จะมี หมิงสือลู่ ฮั่นสือลู่ มั้ยน้าาา
หมิงสือลู่ ฉบับแปลไทย อยู่ในเล่มเดียวกับชิงสือลู่ครับ เล่มสีม่วงที่เห็นในคลิป
ยังคงติดต่าม ขอรับ "รวมทุกฉบับ"
ในยุคของ"พระเจ้าเสือ" พระองค์ทรงถูกพูดถึงหรือกล่าวถึงอย่างไรในชิงสือหลู่ครับ
มีข้อสงสัยอยู่เรื่องหนึ่งครับ เรื่องแผนที่เกาะเมืองอยุธยาในประวัติศาสตร์ ที่ชาวต่างชาติวาดไว้จะเห็นว่าหลังเกาะเมืองจะมีภูเขาเป็นฉากหลัง น่าสงสัยว่าชาวต่างชาติเค้าเห็นอะไรจึงใช้ถูเขาเป็นฉากหลังของเกาะเมืองอยุธยาครับ
ผมเข้าใจว่าเป็นจินตนาการของศิลปินครับ ถ้าได้อ่านหนังสือของคุณธวัชชัย (อยุธยาในแผนที่ฝรั่ง) จะเจอแผนที่แนวนี้บ่อยครับ
คงใช้ทองแดงหล่อพระบ้างทำภาชนะบ้าง
ขอบคุณครับ
GToG ค้าข้าวมาตั้งแต่ไหนแต่ไรแล้ว
เอามาทำสายไฟครับ
ในสมัยนั้น ภาพคนจีนที่อยู่ในเมืองจีน หรือในราชสำนัก น่าจะแต่งตัวแบบแมนจูเป็นส่วนใหญ่นะครับ
ถ้าเป็นคนจีนโพ้นทะเล จะแต่งแบบหมิงเดิมอยู่ ยังเป็นไปได้ (เช่น แบบที่โกษาจีนในละครแต่ง)
ขอบคุณครับ ข้อนี้ทราบดีครับ แต่การสร้างภาพ A.I. มันมีข้อจำกัดของมันอยู่ครับ
รอเหมือนซีรียเลยวุ้ย 555 ไม่ติดตามก็ไม่เห็น
ขอบคุณอ.หอยมากๆครับ 🙏❤️
ขอบคุณครับ
การค้าขายแบบจิ้มกล้อง แปลว่าราชการไทยรับมฝสินบนตั้งแต่สมัยอยุธยา
ทองเเดงผสมกับดีบุก กลายเป็นสำริด เรามีดีบุกเยอะเเต่ไม่มีทองเเดง เลยต้องจิ้มก้องกับจีน😂😂😂😂
จีน รัสเซีย ฝรั่งเศส เจริญก้าวหน้ากว่าไทย อย่างเทียบกันไม่ติด
ประเทศจะเจริญได้คุณภาพประชากรก็สำคัญไม่น้อยกว่าโครงสร้างพื้นฐานนะครับ ต้องย้อนดูตัวเองด้วย
คุณแอ๊ดครับช่วยทำตอนที่เขมรชอบเคลมไทยอย่างเช่นโขน มวยไทย สงกรายลอยกระทง ชุดไทยที่ครับช่วยตีแผ่ประวัติศาสตร์ช่างนี้ให้เด็กยุคใหม่รู้ด้วยครับ☺️☺️☺️
ปกติฟังก็สนุกและกระชับอยู่แล้วพอมีภาพจากai ประกอบการเล่าด้วยยิ่งเพิ่มอรรถรสมากยิ่งขึ้นเลยค่ะ😊
ขอบคุณครับ ต้องยกเครดิตให้น้องวินครับ 😊
ผมเรียนวิชาโทประวัติศาสตร์ชอบรายการนี้มาก
ขอบคุณครับ 🙏
จีนจ่ายเป็นเงินอะไรหรอคับถ้าจ่ายงินจีนแล้วสยามไปแลกเป็นเงินสยามที่ไหนหรอ
เท่าที่รู้มา การค้าแลกเปลี่ยน ไม่จำเป็นต้องใช้เงินแลกสิ่งของเสมอไปครับ แต่อาจเป็น "ของ" แลก "ของ" ที่มีมูลค่าทัดเทียมกันหรือในปริมาณที่เหมาะสม
แต่คิดว่าตามเมืองหน้าด่านทางการค้ามันคงมีสถานที่ที่ราชการหรือที่ไว้แลกเงินต่างชาติกับเงินท้องถิ่นอยู่ ทั้งนี้เงินในสมัยก่อนมักเป็นโลหะมีค่า อย่างแร่เงิน ทองคำ หรือโลหะหนักที่สามารถนำไปหลอมทำสิ่งของอย่างอื่นต่อได้ จึงน่าจะวัดค่ากันที่องค์ประกอบในก้อนเงินโลหะที่นำมาแลก สำนวน "เอาเงินฟาดหัว" ก็มาจากเงินโลหะพวกนี้แหละ
ผมทราบว่าประเทศไทยมีนักปราชญ์เหมือนขงเบ้งมั้ยครับ
นับถือการบันทึกข้อเท็จจริงของชาวจีนเลย
น่าเชื่อกว่าพงศาวดารไทยอีก
คำว่าใต้ของจีนไม่ถึงแม่น้ำแยงซีเกียง
ถ้าราชธานีของราชวงศ์ของจีนถ้าอยู่ทางทิศเหนือทางภาคใต้คือที่ราบลุ่มภาคกลางหรือตงง้วน/จงหยวน ไม่ใช่อาณาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ (บริเวณแม่น้ำแยงซีเกียง) แต่อย่างใดครับ