รู้ลมระลึกพุทโธข้อปฏิบัติผิด ใครทำสมาธิอยู่ต้องฟังไม่งั้นทำผิด

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 20 พ.ค. 2024
  • 00:00 เนื้อหาสาระ
    00:56 ถ้าไม่รู้จักมิจฉาสมาธิ ที่ทำสมาธิผิดหมด
    03:05 สมาธิกับความสงบไม่เหมือนกัน ตามคำพระพุทธเจ้าอย่างไร
    04:05 รู้ลมระลึกพุทโธ ไม่สงบจากกิเลส เป็นมิจฉาสมาธิ ข้อปฏิบัติผิด
    05:16 ทำสมาธิแต่ไม่มีปัญญารู้อะไรเป็นมิจฉาสมาธิเป็นบาปเพราะพุทธคือปัญญา
    06:19 หายใจเข้าพุทธหายใจออกโธ ไม่ใช่พุทธานุสสติ ไม่ใช่การระลึกคุณพระพุทธเจ้า
    10:27 พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่าสงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
    12:26 ทำสมาธิยุคปัจจุบันทำกันผิดเกือบทั่วโลกเพราะไม่รู้จักมิจฉาสมาธิ
    12:58 เหตุเกิดปัญญาและการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา
    13:35 ให้ทิ้งตำราทิ้งปริยัติคำของมหาโจรปล้นพระพุทธศาสนาอย่างไร
    17:48 ยึดเอาพระสอนผิด นั่นคือ การปรามาสพระพุทธเจ้า ปรามาสพระธรรมและปรามาสพระอริยสงฆ์ มีท่านพระสารีบุตร เป็นต้น
    20:28 หายใจเข้าก็รู้ว่าหายใจเข้า หายใจออกก็รู้ว่าหายใจออก ไม่มีปัญญารู้ความจริง ปฏิบัติผิด
    22:46 ทำสมาธิเพื่อได้สิ่งดีชีวิตได้กิเลสเพิ่มบาป ไม่ใช่อานิสงส์สมาธิที่ถูกต้อง
    23:56 ต้องมีศีล สมาธิ ปัญญา ที่ถูกต้องนั้นคืออย่างไร
    25:09 สมาธินั่งได้นานแต่ไม่รู้อะไร ยิ่งนานยิ่งเพิ่มบาปไม่ได้บุญ
    29:08 หนทางดับกิเลส สติปัฏฐาน อริยมรรค อบรมเจริญอย่างไร
    34:20 การดูจิตข้อปฏิบัติผิดในพระพุทธศาสนาอย่างไร
    42:58 อานาปานสติที่ถูกและไม่ใช่อานาปานสติคืออย่างไร
    ขออนุโมทนา

ความคิดเห็น • 1.1K

  • @paderm
    @paderm  7 หลายเดือนก่อน +54

    พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
    กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
    การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @user-ny8zv2uu8w
      @user-ny8zv2uu8w 5 หลายเดือนก่อน +5

      ขออนุโมทนาบุญกับอาจารย์ด้วยค่ะ🙏🙏🙏🥰

    • @anman0145
      @anman0145 5 หลายเดือนก่อน +4

      ขอบคุณที่ทำให้รู้สัมมาสมาธิได้อย่างถูกต้องแท้จริงครับ❤😇

    • @user-fo5st7yt8h
      @user-fo5st7yt8h 5 หลายเดือนก่อน +2

      สาธุ​ ผมพบสัตบุรุษ​ 🙏

    • @user-lx9uo8rj3v
      @user-lx9uo8rj3v 5 หลายเดือนก่อน +1

      คุณเผดิม สิ่งที่คุณสอนหรือบอกกล่าวไม่ถูกต้องนะ กลับตัวได้ก็กลับ ขอขมาพระรัตนตรัยแล้วหยุดการกระทำเสีย ผลที่คุณกระทำตอนนี้อาจยังไม่เห็นผล แต่เมื่อตายไปแล้วไม่ใช่อเวจีนะ โลกันตมหานรกรอคุณอยู่ ถึงแม้ว่าพระพุทธเจ้าจะอุบัติขึ้นมาอีกสัก 10 พระองค์ คุณก็ยังไม่โผล่มาเลย เราเตือนด้วยความหวังดี

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 5 หลายเดือนก่อน

      @@zeno3388 เพราะไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมไว้เป็นหลัก เพื่อเป็นเหตุปัจจัยแก่ความเจริญขึ้นของปัญญา ก็ติเตียนผู้อื่นที่กล่าวตามพุทธพจน์ว่ามัวเมา เพราะไม่รู้ว่าพระพุทธเจ้าท่านสอนอะไร หลงกราบไหว้ด้วยความไม่รู้ ก็เป็นคนนอกศาสนาแอบอ้างคำพระศาสดามาสนับสนุนความเห็นผิดตน

  • @user-sj9xd2vu4k
    @user-sj9xd2vu4k 5 หลายเดือนก่อน +16

    จริงค่ะพอท่องคำว่าพุทโธ กำหนดลมหายใจเข้าออก รู้สึกเครียดมากกว่า เพราะคิดถึงคำ ไม่เกิดปัญญาจริงค่ะ ขอบคุณมากค่ะ เข้าใจมากขึ้นค่ะ

    • @user-qy6jm1vg7b
      @user-qy6jm1vg7b 5 วันที่ผ่านมา +1

      ศึกษาดีๆครับอย่าแค่ผิวเผิน

    • @it8642
      @it8642 4 วันที่ผ่านมา +2

      คุณสมาธิพุทโธไม่นิ่งคุณเป็นอะไรรึเป่าต้องค้นให้ละเอียดว่านั่งไม่ได้เพราะอะไรคนเราเกิดมาไม่เท่ากันนะดอกบัวสี่เหล่ามาเกิดในโลกมนุษย์คุณเป็นดอกบัวประเภทใหนจงพิจารณาดู จ้า

  • @sangayuenyongsirikul7473
    @sangayuenyongsirikul7473 6 หลายเดือนก่อน +11

    ผมไม่รู้ว่าคุณพูดอะไรผมรู้ว่าแต่ว่าทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค พระพุทธเจ้าตรัสรู้ แค่นั้น

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +3

      ไม่รู้จักว่า ธรรมคืออะไร ไม่ฟังให้เข้าใจ ก็บ่นเพ้อ กับคำว่า ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เพราะไม่รู้จักทุกขอริยสัจ ไม่รู้จักสิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ที่ไม่ต่างจากหลักสูตรประถม ที่เรียนอริยสัจสี่ แต่ถามว่า ความสุข เป็นทุกข์ไหม และเป็นทุกข์อย่างไรก็ไม่รู้ ครับ

    • @Udom456-vl7fo
      @Udom456-vl7fo 8 วันที่ผ่านมา +1

      นายพูดไม่ถูกเลยพูดสิ่งทีนายมันมีความผิดไม่ถูกนั่นเอง

  • @LikeBxds
    @LikeBxds 9 วันที่ผ่านมา +2

    ขอบ พระคุณ มาก ๆ ค่ะ
    สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ
    จะเข้าสมาธิ ให้เข้าถึง แก่นสาร ของ พระพุทธเจ้า จะได้ระลึกรู้ ว่า เป็นตัวเรา ค่ะ

  • @user-lm5zx1sk2s
    @user-lm5zx1sk2s 6 หลายเดือนก่อน +22

    สาธุ สาธุ ครับท่าน อาจารย์ ที่ นำเอา พุทธธรรม มาวิเคราะห์และแบ่งปัน..ขอบคุณความเจตนาดี ของท่านครับ

  • @SongsakChantraphat
    @SongsakChantraphat 6 หลายเดือนก่อน +13

    ยึดมั่นถือมั่นไปหรือเข้าใจผิดไหมครับ การภาวนาพุทโธเป็นอุบายภาวนาให้ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า ให้เกิดสมาธิ สมาธิสามารถเกิดขึ้นได้หลายทาง จะต้องมีการฝึกฝน มีหลายระดับ ภาวะขึ้นถึงระดับหนึ่งจิตก็จะละวิตก วิจาร มีปิติ มีสุข อุเบกขา เอกัคคคตา มีความสุขก็คือสุข สมาธิใช้ในระดับวิปัสสนาระดับนั้นจะมีวิตกวิจาร ไหมครับ
    ผมว่าการจะบรรลุธรรมได้นั้นจะต้องมีการฝึกฝนและสะสมบารมี การปฏิบัติมีหลายทาง บรรลุธรรมได้เหตุการณ์ต่าง ๆ กัน
    ท่านได้ธรรมชั้นใดแล้วครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      ยังเข้าใจผิดเรื่องสมาธิอยู่นะครับ อ่านดังนี้
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      ท่องระลึกพุทโธไม่ใช่พุทธานุสสติ
      การระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พุทธานุสสติ ในกัมมฐาน๔๐ ไม่ใช่การท่องพุทโธ แต่การระลึกคุณถึงพระพุทธเจ้าคืออะไร คือ การระลึกถึงคุณของพระองค์ มีพระปัญญาอย่างไร มีพระมหากรุณาธิคุณอย่างไร ประกอบด้วยคุณทศพลญาณ อย่างไร แล้วพุทธานุสสติ จะระลึกคุณตามที่กล่าวมาได้อย่างไร ถ้าพุทธบริษัท ไม่ศึกษาธรรมให้เข้าใจว่าพระองค์แสดงธรรมอะไรบ้าง ธรรมคืออะไร ก็ไม่รู้ ขณะนี้มีธรรมไหม ปัญญาพระองค์รู้ความจริงอะไร ก็ไม่รู้ ให้นกแก้ว นกขุนทอง มาท่องพุทโธ นั่นคือ สัญญา ความจำ ที่เกิดกับอกุศลก็ได้ กุศลก็ได้ ไม่ได้ระลึกถึงพระคุณ ไม่เป็นกุศล เป็นความจำ เอาคนนนอกศาสนาไม่เข้าใจธรรมเลย มาท่องพุทโธ บอกระลึกคุณพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่รู้อะไรเลย จะเป็นพระพุทธศาสนา เป็นการระลึกถึงพระคุณได้อย่างไร ต่างจากคนที่ศึกษาธรรม เริ่มเข้าใจ ใจน้อมไปถึงพระคุณได้ ไม่ต้องท่องพุทโธเลย เป็นพุทธานุสสติแล้วครับ นี่คือ ปัญญาที่เกิดพร้อมสัญญา แต่ไม่ใช่ สัญญา จำแต่ไม่รู้อะไร นั่นคือ สัญญาเกิดพร้อมความไม่รู้ โมหะ แล้วก็มีความอยากที่จะจดจ้องลมหายใจ อยากสงบ อยากที่จะจดจ้องพุทโธ นั่นก็คือความอยากคือกิเลส คือโลภะโดยไม่รู้ตัวครับ นี่คือความละเอียดของพระธรรม ค่อยๆให้อ่านพิจารณาหลายๆรอบ จะเริ่มเข้าใจครับ

    • @user-yp6ni6bh3x
      @user-yp6ni6bh3x 2 วันที่ผ่านมา

      ก่อนจะนิ่งต้องกลิ้งมาก่อน😊

  • @napatlim5138
    @napatlim5138 7 หลายเดือนก่อน +16

    ตีความตามสบายครับ ปัญญาใครปัญญามัน

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่ใช่ตีความตามความคิดตนเองครับ นั่นไม่ใช่ปัญญา แต่เป็นความไม่รู้ที่ตีความเอง ไม่เช่นนั้นเราก็มีตัวเราเป็นที่พึ่ง ไม่ได้มีพระพุทธเเจ้าเป็นที่พึ่ง ต้องศึกษาคำสอนเป็นสำคัญเป็นเครื่องตัดสินครับ ขออนุโมทนา

    • @nobody2022
      @nobody2022 7 หลายเดือนก่อน +2

      ใครจะตีความผิดหรือถูกต้องอาศัยธรรมวินัยไม่ใช่การยึดที่ตัวบุคคล เพราะอาจารย์ใดใดก็สอนผิดได้ทั้งนั้น

  • @sushi7021
    @sushi7021 6 หลายเดือนก่อน +11

    ท่าน อ.ผเดิมผู้บรรยาย ท่านมีความใส่ใจลงคลิป อธิบายเนื้อหาเปรียบเทียบให้เข้าใจง่าย ทั้งยังระบุแยกหัวข้อด้วยกำกับตามนาทีต่างๆกันไว้ด้วยในกรณีที่คลิปยาว
    แถมเมื่อมีคนพิมพ์ถามก็กรุณาใส่ใจตามตอบคำถามต่างๆ ซึ่งเป็นประโยชน์มาก
    .
    ขอให้อ. และทีมงานรักษาการเผยแพร่เช่นนี้ไว้นะครับ ในยุคที่พระพุทธธรรมบิดเพี้ยนมีคนตีความออกมามากมาย ยังมีคลิปแบบนี้เป็นที่พึ่งได้ ผมได้เห็นถึงความตั้งใจอย่างที่สัมผัสได้
    จึงขออนุโมทนาในกุศล ความวิริยะด้วยใจครับ

  • @Tawan228
    @Tawan228 5 หลายเดือนก่อน +3

    ด้วยความเคารพ ท่านที่พร้อมกำหนดลมหายใจเข้าออกบางท่านไม่เข้าใจวิธีการว่าต้องพิจารณาอย่างไรจึงถูกต้องไม่ใช่เพราะครูบาอาจารย์ท่านสอนผิด การกล่าวว่าภาวนาพุทโธกำหนดลมหายใจเป็นบาปทั้งหมดอันตรายอย่างยิ่ง

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      การตัดสินถูกผิดไม่ใช่เพราะคำหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ แต่ต้องตัดสินตามคำพระพุทธเจ้า ปัญหาของชาวพุทธ คือ ไม่ศึกษาพระธรรม ไม่เทียบเคียง ไม่พิจารณาว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร แต่จะไปเชื่อว่าหลวงพ่อ หลวงปู่พูดว่ายังไง ก็นับถือภิกษุมากกว่าพระพุทธเจ้า
      พระพุทธเจ้าให้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ และให้เทียบเคียงกับพระธรรมไม่ว่าใครพูด(มหาปเทส ๔) ก็ให้เทียบเคียงกับพระธรรมก็จะรู้ว่าถูกหรือผิด คำว่า พุทโธ บริกรรมพุทโธ ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า ภิกษุที่เข้าใจผิด จึงแต่งใหม่ และอธิบายผิด และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ยูทูป เป็นระบบสำหรับฟังไม่ใช่เฉพาะแค่แสดงความคิดเห็นโดยไม่ฟัง แต่ปัญหาคือ ผู้แสดงความคิดเห็น ไม่ฟัง แสดงความคิดเห็นเลย นั่นก็คือไม่เปิดใจที่จะรับฟังคำอธิบาย ก็ไม่ได้ประโยชน์ ดังนั้น การจะได้ปัญญานั้น ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธทันที แต่ต้องฟังในคำอธิบายในคลิปเรื่องนี้ก่อน ว่าอธิบายตามคำรพะพุทะเจ้าอย่างไร จะเป็นชาวพุทธ ได้ปัญญาก็คือฟังก่อนครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 5 หลายเดือนก่อน +3

      ไม่มีอันตรายอย่างไรเพราะเป็นการกล่าวแสดงโดยมีพระธรรมวินัยเทียบเคียง อกุศลเกิดกับตนเพราะไม่เทียบเคียง ไม่ฟังด้วยดี ไปโทษผู้อื่นไม่ได้ จริงอยู่ว่าปัญญาไม่เลือกว่าอารมณ์ใดกำลังเกิดขึ้น แม้จะท่องพุทโธปัญญาก็เกิดขึ้นได้ตามเหตุปัจจัย แต่การสอนอย่างเผิน ๆ ในความบริสุทธิ์ของศีล ก็ไม่รู้ว่าต้องเกิดจากปัญญาในเบื้องต้น ก็เป็นคำสอนที่ขาด เป็นอันตรายอย่างยิ่ง เพราะทำให้ผู้คนมากมายหลงผิด ติดอยู่ในสีลัพพตปรามาส แล้วจะกล่าวว่าสอนถูกสอนตรงตามพระธรรมวินัยได้อย่างไร เมื่อการสอนนั้นไม่ได้ชี้โทษของมิจฉามรรค แม้ควรจะรู้เห็นตามความจริงอยู่ว่า ผู้ประพฤติตามจะตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิ ฟังคำพระพุทธเจ้า และพระอรหันตสาวกที่ทรงพยากรณ์เถิด อย่าได้ยึดถือคำใครเพราะเป็นอาจารย์ จนกว่าจะได้รู้ตามจริงว่านั่นตรงกับคำสั่งสอนของพระพุทธองค์ด้วยปัญญาตน

  • @user-jv8xp2xy4q
    @user-jv8xp2xy4q 7 หลายเดือนก่อน +19

    สาธุขอบคุณค่ะที่แนะนำ สับสนมาตลอดว่าเราควรทำอย่างไรในการทำสมาธิ วันนี้ได้เข้าใจบ้างแล้วค่ะ

  • @paderm
    @paderm  7 หลายเดือนก่อน +60

    คนทำสมาธิและสอนทำสมาธิยุคปัจจุบันอันตรายและได้บาปโดยไม่รู้ตัวเพราะไม่เริ่มจากการศึกษาให้เข้าใจว่า สมาธิคืออะไร และ สมาธิมีมิจฉาสมาธิด้วย เลยสำคัญว่านิ่งเป็นความสงบ และคิดว่าทำแล้วสบายใจมีความสุขเป็นสิ่งที่ดี ไม่มีปัญญาความเข้าใจถูกอะไรเลย นั่นคือการทำสมาธิผิด จึงเป็นบาป และการดูจิตและการกำหนดลมหายใจ ลืมความเป็นอนัตตา ที่จะทำ จดจ้องลม ดูจิต จึงไม่ใช่สติในพระพุทธศาสนา หากผู้ทำสมาธิและผู้สอนสมาธิทั้งหลายเปิดใจรับฟังก็จะรู้ว่าสิ่งที่ทำถูกหรือผิด เพราะกล่าวด้วยความหวังดี ผู้ใดเข้าใจและได้รับฟังเห็นประโยชน์ของพระธรรม ก็จงช่วยกันเผยแพร่คำจริง สงสารคนที่ยังเห็นผิดที่ยังทำผิด การช่วยเผยแพร่คำจริงก็เป็นบุญที่ประเสริฐที่ช่วยกันดำรงพระพุทธศาสนาให้ดำรงสืบต่อไป ท่ามกลางความเห็นผิดมากมายของผู้สอนทำสมาธิในปัจจุบัน ขออนุโมทนาครับ

    • @sraththachanel4796
      @sraththachanel4796 7 หลายเดือนก่อน +5

      เห็นด้วยค่ะ

    • @sraththachanel4796
      @sraththachanel4796 7 หลายเดือนก่อน +5

      พระพุทธเจ้าสอนให้เราเห็นอริยสัจ๔เห็นตามความเป็นจริงด้วยการอบรมมรรค พิจารณากายเช่นอสุภะ จะได้เห็นว่าเราไม่มีไม่ตัวตนไม่อะไรดีเลยให้เอาจิตไว้พิจารณาภายในกายไม่ส่งจิตออกข้างนอก เรียกว่าเดินปัญญาก็จะเกิดสมาธิขึ้นเองเรียกว่า สมาธิโลกุตะระ

    • @kullawansuadsong2291
      @kullawansuadsong2291 7 หลายเดือนก่อน +2

      ิอนุโมทนาสาธุๆๆค่ะ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +5

      @@tuyytuyy4962 หนทางที่ถูกต้องคืออย่างไร
      การฟังพระธรรมให้เข้าใจ เริ่มตั้งแต่ธรรมคือะไร ปัญญาจะทำหน้าที่ปฏิบัติเอง ไม่มีเรา ครับ
      ทุติยสาริปุตตสูตร
      ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
      [๑๔๒๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านพระสารีบุตรว่า ดูก่อนสารีบุตร ที่เรียกว่า โสตาปัตติยังคะ (๑) ๆ ดังนี้ โสตาปัตติยังคะเป็นไฉน.
      [๑๔๒๘] ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ ๑ สัทธรรมสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่าน ๑ โยนิโสมนสิการ กระทำไว้ในใจโดยอุบายที่ชอบ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑.
      [๑๔๒๙] พ. ถูกละๆ สารีบุตร โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ ๑ สัทธรรมสวนะ ๑ โยนิโสมนสิการ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑.
      การบอกคำพระพุทธเจ้า แล้วอธิบายถูก ตรงตามธรรม โดยมีความเข้าใจถูกเป็นพื้นฐานที่ถูกต้อง คือ ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ เกิดจากเหตุปัจจัย ไม่ใช่เรา แต่ถ้าไม่เข้าใจตรงนี้ ยกพุทธวจนมา แล้วก็บอกว่าเห็นไหม พระพุทธเจ้าบอกให้ทำ ใครทำ ไม่มีความเข้าใจตั้งแต่ต้น ธรรมคืออะไร ขณะนี้มีธรรไหม ก็ทำผิด ลืมว่าธรรมทำหน้าที่ ไม่ใช่เราทำ ดังนั้นก็มีบุคคลทั้งสองแบบ คือ กล่าวคำพระพุทธเจ้า อธิบายถูก และ กล่าวคำพระพุทธเจ้าแล้วอธิบายผิด ก็เป็นไปตามปัจจัย ตามธรรม ตามการสะสม ไม่มีเรา มีแต่ความเห็นถูกและความเห็นผิด ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      @@tuyytuyy4962 การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิทีเ่กิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา

  • @user-bd3sn2yx4h
    @user-bd3sn2yx4h 6 หลายเดือนก่อน +1

    สาธุ สาธุ สาธุ ขอบคุณค่ะ

  • @ampaik8758
    @ampaik8758 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณค่ะ ที่แนะนำความรู้ที่มีประโยชน์

  • @njmobile1709
    @njmobile1709 7 หลายเดือนก่อน +7

    ขอบพระคุณมากค่ะสาธุ

  • @user-bx5ec8sp9k
    @user-bx5ec8sp9k 5 หลายเดือนก่อน +2

    อาจารย์พูดถึงปัญญาไถ่ถอนกิเลสเลย ผมเข้าใจว่าเราให้เกิดปัญญาเองไม่ได้เพราะปัญญาเป็นสภาพธรรมที่บังคับบัญชาไม่ได้ ได้แต่สร้างเหตุปัจจัยให้ปัญญาปรากฎไม่ไช่เหรอครับ

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      ฟังพระธรรมที่ถูกต้องเหตุเกิดปัญญาครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 5 หลายเดือนก่อน +1

      เหตุปัจจัยผิด เช่น มิจฉาสมาธิ เพราะไม่ได้เกิดปัญญาเข้าใจในเบื้องต้น คือกับการฟังคือสุตมยญาณ หรือกับการคิดไตร่ตรองคือจินตามยญาณอย่างพระโพธิสัตว์ ก็ไม่สามารถอาศัยมนสิการปัญญาสองอย่างแรกนั้นอบรมเจริญปัญญาเพื่อปัญญาที่ยิ่งขึ้นคือภาวนามยญาณ แล้วสุตมยญาณปัญญาแรกเริ่มมาจากไหน ก็มาจากความเข้าใจของตนเอง มีตนเป็นที่พึ่ง อาศัยตนเข้าใจว่าตนไม่ใช่ตน นั่นเพราะตนคือปัญญาตนไม่ใช่ปัญญาของผู้อื่น การสร้างเหตุปัจจัยจึงไม่ได้อาศัยตนไปสร้าง แต่เป็นปัญญาเข้าใจความไม่ใช่ตนที่เกิดขึ้นที่ละเล็กละน้อย ที่สร้างเหตุปัจจัยให้ปัญญาที่ยิ่งกว่าเจริญขึ้นได้ เมื่อสำคัญว่าเป็นตนไปสร้าง ก็หลงทาง เพราะมิจฉาสมาธิเกิดกับมิจฉาทิฏฐิ ก็คือการฝึกฝนตั้งมั่นในความเห็นผิด กลับยิ่งทำให้ห่างปัญญาออกไป

  • @nornginch7902
    @nornginch7902 6 หลายเดือนก่อน +1

    นองขอบคุณค่ะ

  • @user-rw4hn1zf3j
    @user-rw4hn1zf3j 7 หลายเดือนก่อน +1

    สาธุ สาธุ สาธุ คะ

  • @worasitsupattanarnon6475
    @worasitsupattanarnon6475 7 หลายเดือนก่อน +4

    ผมคิดว่าถ้าพูดความจริงออกไป คนบางคนก็จะทำอะไรแบบไม่กลัวบาปกรรม ฉนั้นช่วยกันดีกว่าครับ ไม่มีใครผิดใครถูกหรอกครับ มายาไงครับ!ว่างเปล่า!

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      มายาไม่ใช่ความว่างเปล่าครับ มายาคือกิเลส จึงมีกิเลสมีธรรมที่ไม่ดี ว่างจริงๆ หมายถึง การว่างจากความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตน หรือ สูญจากการมีสัตว์ บุคคล ตัวตน เพราะมีแต่ธรรม ไม่มีเราไม่มีสัตว์ บุคคลเลย ครับ แต่ไม่ใช่หมายถึง ว่างไม่มีอะไร เพราะมีธรรม ครับ และเป็นอนัตตาด้วย คือไม่ใช่สัตว์ บุคคล ไม่ใช่เรา
      ดังนั้นมีผิดมีถูก มีอกุศลธรรม บาป ไม่ดี มีกุศลธรรม ธรรมที่ดี ฆ่าพ่อฆ่าแม่ ก็ไม่ดี ใจไม่ดี เมตตา ดี จึงมีถูกและผิด คือ ธรรมที่ดีและไม่ดีครับ ยินดีที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นช่องนี้ครับ

    • @nobody2022
      @nobody2022 7 หลายเดือนก่อน +2

      ถ้าไม่มีผิด ไม่มีถูก พระพุทธองค์จะแสดง มิจฉามรรค สัมมามรรค ทำไม?

  • @user-qf7xv8tg6j
    @user-qf7xv8tg6j 7 หลายเดือนก่อน +7

    พระพุทธเจ้าตรัสว่าธรรมใดเป็นไปเพื่อละสงบจากกิเลสธรรมนั้นเป็นคําสอนของตถาคตอันธรรมใดเป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสธรรมนั้นไม่ใช่คําสั่งสอนของตถาคต

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ท่องระลึกพุทโธไม่ใช่พุทธานุสสติ
      การระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พุทธานุสสติ ในกัมมฐาน๔๐ ไม่ใช่การท่องพุทโธ แต่การระลึกคุณถึงพระพุทธเจ้าคืออะไร คือ การระลึกถึงคุณของพระองค์ มีพระปัญญาอย่างไร มีพระมหากรุณาธิคุณอย่างไร ประกอบด้วยคุณทศพลญาณ อย่างไร แล้วพุทธานุสสติ จะระลึกคุณตามที่กล่าวมาได้อย่างไร ถ้าพุทธบริษัท ไม่ศึกษาธรรมให้เข้าใจว่าพระองค์แสดงธรรมอะไรบ้าง ธรรมคืออะไร ก็ไม่รู้ ขณะนี้มีธรรมไหม ปัญญาพระองค์รู้ความจริงอะไร ก็ไม่รู้ ให้นกแก้ว นกขุนทอง มาท่องพุทโธ นั่นคือ สัญญา ความจำ ที่เกิดกับอกุศลก็ได้ กุศลก็ได้ ไม่ได้ระลึกถึงพระคุณ ไม่เป็นกุศล เป็นความจำ เอาคนนนอกศาสนาไม่เข้าใจธรรมเลย มาท่องพุทโธ บอกระลึกคุณพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่รู้อะไรเลย จะเป็นพระพุทธศาสนา เป็นการระลึกถึงพระคุณได้อย่างไร ต่างจากคนที่ศึกษาธรรม เริ่มเข้าใจ ใจน้อมไปถึงพระคุณได้ ไม่ต้องท่องพุทโธเลย เป็นพุทธานุสสติแล้วครับ นี่คือ ปัญญาที่เกิดพร้อมสัญญา แต่ไม่ใช่ สัญญา จำแต่ไม่รู้อะไร นั่นคือ สัญญาเกิดพร้อมความไม่รู้ โมหะ แล้วก็มีความอยากที่จะจดจ้องลมหายใจ อยากสงบ อยากที่จะจดจ้องพุทโธ นั่นก็คือความอยากคือกิเลส คือโลภะโดยไม่รู้ตัวครับ นี่คือความละเอียดของพระธรรม ค่อยๆให้อ่านพิจารณาหลายๆรอบ จะเริ่มเข้าใจครับ

    • @nobody2022
      @nobody2022 7 หลายเดือนก่อน

      ท่องแล้วหยุดท่อง กิเลสสงบไหม ก็มีกิเลสเหมือนเดิม เพระาไม่ได้เกิดความเข้าใจอะไรเลย แค่ท่องๆๆๆเท่านั้น บางทีคนที่ท่องก็ไม่ได้สงบจากอกุศลด้วย

  • @aod6760
    @aod6760 4 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุขอรับ

  • @nitchaphankittiphonphanuwo7781
    @nitchaphankittiphonphanuwo7781 5 หลายเดือนก่อน +6

    แนวทางพุทธวจนะ แต่การปฏิบัติใดๆควรเข้าใจสิ่งนั้นก่อนอย่างที่อาจารย์เตือน สมัยการแค่ฟังธรรมะก็บบรลุ สาธุ

  • @paderm
    @paderm  7 หลายเดือนก่อน +7

    ท่องระลึกพุทโธไม่ใช่พุทธานุสสติ ไม่ใช่กรรมฐาน ๔๐
    การระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พุทธานุสสติ ในกัมมฐาน๔๐ ไม่ใช่การท่องพุทโธ แต่การระลึกคุณถึงพระพุทธเจ้าคืออะไร คือ การระลึกถึงคุณของพระองค์ มีพระปัญญาอย่างไร มีพระมหากรุณาธิคุณอย่างไร ประกอบด้วยคุณทศพลญาณ อย่างไร แล้วพุทธานุสสติ จะระลึกคุณตามที่กล่าวมาได้อย่างไร ถ้าพุทธบริษัท ไม่ศึกษาธรรมให้เข้าใจว่าพระองค์แสดงธรรมอะไรบ้าง ธรรมคืออะไร ก็ไม่รู้ ขณะนี้มีธรรมไหม ปัญญาพระองค์รู้ความจริงอะไร ก็ไม่รู้ ให้นกแก้ว นกขุนทอง มาท่องพุทโธ นั่นคือ สัญญา ความจำ ที่เกิดกับอกุศลก็ได้ กุศลก็ได้ ไม่ได้ระลึกถึงพระคุณ ไม่เป็นกุศล เป็นความจำ เอาคนนนอกศาสนาไม่เข้าใจธรรมเลย มาท่องพุทโธ บอกระลึกคุณพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่รู้อะไรเลย จะเป็นพระพุทธศาสนา เป็นการระลึกถึงพระคุณได้อย่างไร ต่างจากคนที่ศึกษาธรรม เริ่มเข้าใจ ใจน้อมไปถึงพระคุณได้ ไม่ต้องท่องพุทโธเลย เป็นพุทธานุสสติแล้วครับ นี่คือ ปัญญาที่เกิดพร้อมสัญญา แต่ไม่ใช่ สัญญา จำแต่ไม่รู้อะไร นั่นคือ สัญญาเกิดพร้อมความไม่รู้ โมหะ แล้วก็มีความอยากที่จะจดจ้องลมหายใจ อยากสงบ อยากที่จะจดจ้องพุทโธ นั่นก็คือความอยากคือกิเลส คือโลภะโดยไม่รู้ตัวครับ นี่คือความละเอียดของพระธรรม ค่อยๆให้อ่านพิจารณาหลายๆรอบ จะเริ่มเข้าใจครับ

    • @dfggfgh7563
      @dfggfgh7563 5 หลายเดือนก่อน +1

      อยากทราบว่าการระลึกถึงคุณพุทธานุสติของพระพุธเจ้าคิดระลึกถึงอย่างไรช่วยอธิบายด้วยครับ

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +1

      @@dfggfgh7563 ฟังคลิปนี้นาทีที่ 23 ครับ th-cam.com/video/b0vBDT6C3hM/w-d-xo.htmlsi=ZwuoIeCx4UtIHqnJ

    • @user-ql8xp7ti4u
      @user-ql8xp7ti4u 4 หลายเดือนก่อน +1

      พอเข้าใจที่ท่านอาจารย์สื่อในคลิบนี้ ทีแรกฟังก็ตกใจเหมือนกัน กำหนดลมหายใจ รู้ลม เอาจิตมาอยู่ที่ลม เป็นมิจฉาสมาธิไปได้ พอฟังๆไป ก็น่าจะไม่ใช่สิ่งที่ผิด อาจารย์คงไม่อยากให้คนมานั่งคิดถึงพุธโธแบบไม่รู้ดินรู้ฟ้า แต่มันเป็นการสอนสำหรับคนที่ไม่มีพื้นฐานเลยรึเปล่าคะ จิตคนมันฟุ้ง ก็คงเป็นกุสโลบายของคนสอน ซึ่งดิฉันเองก็ปฏิบัติมาแบบนี้เกือบสี่สิบปีแล้วตั้งแต่อายุยังไม่ยี่สิบ แต่ไม่ได้พุธโธ ได้แต่รู้ลมเข้าออก แต่ว่าโดยปกติเวลาสมาธิจะชอบฟังธรรมไปด้วย ไม่ชอบนั่งนิ่งๆเฉยๆ ถ้าเครียดจากการฟังธรรมมากก็จะเปลี่ยนมาฟังสวดธรรมจักร เพราะเป็นธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงโปรดปัญจวัคคี สอนเรื่องอริยสัจสี่ และอริยมรรค จะว่าไปแล้ว เท่าที่ผ่านมาการทำสมถะเพื่อให้จิตใจสงบก็มีผลดีนะคะ เพราะบางทีดิฉันฟังธรรมหรืออ่านหนังสือธรรมะแล้วไม่เข้าใจ แต่พอนั่งสมาธิจิตสงบ ก็เข้าใจขึ้นมาบ้าง แต่ไม่ทั้งหมดเพราะธรรมะของพระพุทธเจ้าเข้าใจยาก เรื่องๆนึงต้องฟังบ่อยๆ
      ดิฉันขอสรุปคำถามนะคะ คือ 1.เรายังทำใจให้ว่างรู้ลมได้ต่อไปใช่มั้ยคะ คือต้องการฝึกให้เป็นอุปนิสัย เพราะฟังมาว่าถ้ากายแตกดับ จิตเราเกาะอยู่ที่กาย ก็จะไม่สร้างภพใหม่ ยอมรับค่ะว่าสงสัยแต่ตอนนี้ยังไม่ฉลาดพอ อยากให้อาจารย์ชี้แนะและสอนเรื่องปฏิจสมุทบาทด้วยค่ะ สาธุค่ะ

    • @user-ql8xp7ti4u
      @user-ql8xp7ti4u 4 หลายเดือนก่อน +1

      อานาปาณสติ ฟังมาหลาย อาจารย์ ว่าไม่ยาก มาฟังคลิบนี้ ยากมากกกกค่ะ ฟังสองรอบแล้วยังไปไม่ถึงไหนเลยค่ะ คลิบนี้น่าจะไม่ต่ำกว่าสี่ห้ารอบ แต่ท่านอาจารย์ตั้งใจสอนดีมากค่ะ สาธุค่ะ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 4 หลายเดือนก่อน

      @@user-ql8xp7ti4u อริยมรรค เริ่มที่ต้องมีปัญญา ข้อนี้ทิ้งไม่ได้ เพราะถ้าขาดปัญญา แล้วเห็นว่าการกระทำนั้นจะเกื้อกูลแก่ปัญญา ตกไปในมิจฉามรรค ในสีลพพตปรามาสทันที ปัญหาที่ตามมาคือตัณหาจะทำให้อยากรู้อยากทำไม่สิ้นสุด ก็จะดีดขวางทางปัญญาอยู่อย่างนั้น พระพุทธศาสนาไม่ได้สอนให้ทำสิ่งที่ไม่รู้ แต่สอนว่าสิ่งที่รู้คือปัจจัยต่อการกระทำที่ถูก สิ่งที่รู้คือปัญญา แล้วขณะนี้เดี๋ยวนี้ รู้ไหม ไม่รู้แล้วจะฝึกอะไร ทำไมไม่เห็นโทษของความไม่รู้ความอยากติดข้อง ที่เกิดอยู่ตอนนี้เดี๋ยวนี้ เห็นโทษคืออย่างไรก็ควรฟังให้เข้าใจ พระพุทธศาสนายาก ฟังด้วยความอยากไม่เข้าใจ ฟังเผินก็ไม่เข้าใจ ไม่ฟังก็ไม่เข้าใจ เข้าใจคือเข้าใจ เข้าใจเพราะเข้าใจ เข้าใจว่าไม่ใช่เราที่เข้าใจ

  • @user-dz3pv3gl3y
    @user-dz3pv3gl3y 7 หลายเดือนก่อน +7

    น้อมอนุโมทนา
    สาธุ สาธุ สาธุค่ะ

  • @kimberlyclark142
    @kimberlyclark142 6 หลายเดือนก่อน +7

    ผมเห็นด้วยนะ การระลึก พุทโธ เป็นไปเพื่อมิจฉาสมาธิ ไม่ใช่เพื่อการหลุดพ้น แต่จะจั่วหัวว่าเป็นบาปอกุศลก็ไม่ถูกต้องซะทีเดียวครับ วัตถุประสงค์ที่พ่อแม่ครูจารย์ท่านเน้นสอนพุทโธ เพราะการเข้าใจง่ายในพื้นฐาน ซึ่งชาวบ้านตอนนั้นยังนับถือผีอยู่เลย แค่ให้มาเปลี่ยนมานับถือพุทธ และให้มีสุคติเป็นที่ไป ก็ถือว่าประสบความสำเร็จมากแล้ว ส่วนผู้ที่มีวาสนาเก่า ท่านก็ค่อยสอนเชิงลึกเพื่อให้เข้าสู่ขั้นถัดไปเองนั่นละครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      การตัดสินถูกผิดไม่ใช่เพราะคำหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ แต่ต้องตัดสินตามคำพระพุทธเจ้า ปัญหาของชาวพุทธ คือ ไม่ศึกษาพระธรรม ไม่เทียบเคียง ไม่พิจารณาว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร แต่จะไปเชื่อว่าหลวงพ่อ หลวงปู่พูดว่ายังไง ก็นับถือภิกษุมากกว่าพระพุทธเจ้า
      พระพุทธเจ้าให้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ และให้เทียบเคียงกับพระธรรมไม่ว่าใครพูด(มหาปเทส ๔) ก็ให้เทียบเคียงกับพระธรรมก็จะรู้ว่าถูกหรือผิด คำว่า พุทโธ บริกรรมพุทโธ ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า ภิกษุที่เข้าใจผิด จึงแต่งใหม่ และอธิบายผิด และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ยูทูป เป็นระบบสำหรับฟังไม่ใช่เฉพาะแค่แสดงความคิดเห็นโดยไม่ฟัง แต่ปัญหาคือ ผู้แสดงความคิดเห็น ไม่ฟัง แสดงความคิดเห็นเลย นั่นก็คือไม่เปิดใจที่จะรับฟังคำอธิบาย ก็ไม่ได้ประโยชน์ ดังนั้น การจะได้ปัญญานั้น ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธทันที แต่ต้องฟังในคำอธิบายในคลิปเรื่องนี้ก่อน ว่าอธิบายตามคำรพะพุทะเจ้าอย่างไร จะเป็นชาวพุทธ ได้ปัญญาก็คือฟังก่อนครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      ท่องระลึกพุทโธไม่ใช่พุทธานุสสติ
      การระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พุทธานุสสติ ในกัมมฐาน๔๐ ไม่ใช่การท่องพุทโธ แต่การระลึกคุณถึงพระพุทธเจ้าคืออะไร คือ การระลึกถึงคุณของพระองค์ มีพระปัญญาอย่างไร มีพระมหากรุณาธิคุณอย่างไร ประกอบด้วยคุณทศพลญาณ อย่างไร แล้วพุทธานุสสติ จะระลึกคุณตามที่กล่าวมาได้อย่างไร ถ้าพุทธบริษัท ไม่ศึกษาธรรมให้เข้าใจว่าพระองค์แสดงธรรมอะไรบ้าง ธรรมคืออะไร ก็ไม่รู้ ขณะนี้มีธรรมไหม ปัญญาพระองค์รู้ความจริงอะไร ก็ไม่รู้ ให้นกแก้ว นกขุนทอง มาท่องพุทโธ นั่นคือ สัญญา ความจำ ที่เกิดกับอกุศลก็ได้ กุศลก็ได้ ไม่ได้ระลึกถึงพระคุณ ไม่เป็นกุศล เป็นความจำ เอาคนนนอกศาสนาไม่เข้าใจธรรมเลย มาท่องพุทโธ บอกระลึกคุณพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่รู้อะไรเลย จะเป็นพระพุทธศาสนา เป็นการระลึกถึงพระคุณได้อย่างไร ต่างจากคนที่ศึกษาธรรม เริ่มเข้าใจ ใจน้อมไปถึงพระคุณได้ ไม่ต้องท่องพุทโธเลย เป็นพุทธานุสสติแล้วครับ นี่คือ ปัญญาที่เกิดพร้อมสัญญา แต่ไม่ใช่ สัญญา จำแต่ไม่รู้อะไร นั่นคือ สัญญาเกิดพร้อมความไม่รู้ โมหะ แล้วก็มีความอยากที่จะจดจ้องลมหายใจ อยากสงบ อยากที่จะจดจ้องพุทโธ นั่นก็คือความอยากคือกิเลส คือโลภะโดยไม่รู้ตัวครับ นี่คือความละเอียดของพระธรรม ค่อยๆให้อ่านพิจารณาหลายๆรอบ จะเริ่มเข้าใจครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      ดังนั้นสิ่งที่สอนผิด คิดว่าให้มานับถือพุทธ แต่ผิด เมื่อสอนผิดก็นับถือความเห็นผิด จึงเป็นอัญญเดียรถีย์ ไม่ใช่พุทธ มีโทษมากนั่นเองครับ

    • @Creator_AI_2024
      @Creator_AI_2024 วันที่ผ่านมา

      ​@@padermแล้วทำสมาธิแบบนั่งลูบผ้า แล้วท่องคำว่า "รโชหรณํ"ถือว่าเป็นกุศโลบายไหมครับ

  • @user-ko8kh4qf2t
    @user-ko8kh4qf2t 7 หลายเดือนก่อน +7

    มีพระอาจารย์ท่านใด ที่สอนถูกทางบ้างครับ อยากรู้เอาเป็นแบบอย่างครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      ท่านพระสารีบุตร ท่านพระมหาโมคคัลลานะ ท่านพระอานนท์ ที่เดินตามรอยบาทพระศาสดา ครับ

    • @user-jh3zi6yh9u
      @user-jh3zi6yh9u 7 หลายเดือนก่อน

      หายใจเข้าออกระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้านี้เห็นผิดไหมครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ระลึกถึงพระคุณโดยไม่ต้องรอไปหายใจเข้าและออกแล้วระลึกถึงพระคุณครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ผิดตั้งแต่จะเลือกทำอานาปานสติ ลืมอนัตตา
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ ครับ หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

  • @kruthaijaisamuk7449
    @kruthaijaisamuk7449 7 หลายเดือนก่อน +9

    บาปด้วยเหรอ ผิดศีลข้อไหน

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      บาปมีหลายระดับ ครับ ตั้งแต่ บาปในใจที่ยังไม่ล่วงออกมาทางกาย วาจา ที่เป็นเพียงบาปทีเ่ป็นอกุศลจิต และ บาปที่มีกำลัง ล่วงศีล ออกมาทางกายและวาจา ครับ ดังนั้น ขณะนี้ เหมือนไม่ได้มีบาปเพราะไม่ล่วงศีล แต่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ความจริงว่าขณะที่ขุ่นใจ ไม่พอใจ ยังไม่ไปด่าว่าใคร ขณะนั้นบาปเกิดขึ้นในใจแล้วครับ เรียกว่าโทสะ ขณะที่พอใจในรสอาหาร ก็เป็นโลภะ เป็นบาปแล้ว จะรู้หรือไม่รู้ก็ตามครับ และ ขณะที่ไม่รู้ ไม่รู้ความจริง หลง เป็นโมหะ ก็เป็นบาปที่เราไม่เคยรู้ครับ ดังนั้นในประเด็นเรื่องการทำสมาธิผิดมีเรียกว่า มิจฉาสมาธิครับ เป็นบาป เช่น การท่องพุทโธ
      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @nobody2022
      @nobody2022 7 หลายเดือนก่อน

      ถ้าปฏิบัติผิดเพราะฟังธรรมไม่เข้าใจ ก็เป็นบาปที่เกิดพร้อมความเห็นผิด ใครปฏิบัติผิดสอนผิดก็ผิดข้อ 4 พูดปดพูดคำไม่จริง

  • @paderm
    @paderm  7 หลายเดือนก่อน +7

    ปรามาส ลบหลู่พระอริสงฆ์ ?
    ต้องเข้าใจก่อนครับว่า การเข้าใจผิด ไม่พิจารณาคำพระพุทธเจ้า และยึดเอาพระสอนผิด ไม่เทียบเคียงคำของพระองค์ นั่นคือ การปรามาสพระพุทธเจ้า ปรามาสพระธรรมและปรามาสพระอริยสงฆ์ มีท่านพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ และท่านพระอานนท์ เป็นต้น เพราะ พระพุทธเจ้าไม่ได้แสดงให้ท่องพุทโธ ระลึกพุทโธ รวมทั้งพระอริยสงฆ์ทั้หลายที่แท้จริง ท่านก็ไม่ปฏิบัติเช่นนั้น ดังนั้นเมื่อผู้ใดสอนผิดจากคำสอน ก็คือกำลังเป็นศัตรูพระรัตนตรัยโดยไม่รู้ตัว การจะรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด ต้องเทียบเคียงกับพระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ตามมหาเปทส ๔ ว่ามีในคำสอนไหม ถ้าภิกษุรูปใดกล่าว แต่เทียบเคียงแล้ว ไม่มีในพระสูตรใด และ อธิบายผิด นั่นคือ ไม่ใช่คำสอนพระพุทธเจ้า ผู้ใดกล่าวถูกในพระธรรม ตามคำพระพุทธเจ้า ย่อมชื่อว่ากำลังดำรงพระพุทธศาสนา ทำคำของอัญญเดียรถีย์นอกศาสนาให้สิ้นไป และให้หมู่ชนที่ยังปฏิบัติผิด ยึดถือผิดได้กลับมามีความเข้าใจถูกครับ

    • @prathompanichdee5405
      @prathompanichdee5405 5 หลายเดือนก่อน +1

      มีแต่พูดสอนคนอื่นคุณเคยปฏิบัติที่ยล่ะ

  • @user-vs1bk1in8e
    @user-vs1bk1in8e 7 หลายเดือนก่อน

    ผมท่องพุทโธพยายามทำพุทโธแต่ก็รู้สึกในความลึกๆหรือจิตวิญญาณหรือสัญญาอะไรก็ตาม ก็นึกถึงให้บาปบาปนะ ในความรู้สึกลึกๆ เปรียบเทียบแล้ว คือ คือจิต เตือนว่าบาปขณะท่องพุทโธ ลูกทุ่งพุทโธในคำของพระพุทธเจ้าทำไมต้องบาป ก็ไม่ได้หาคำตอบอันที่จริงๆจังๆ แต่ก็เชื่ออยู่อย่างหนึ่ง ถึงจะเจือปนไปบ้างแต่ก็ต้องมี อ้อนวอนนะครูบาอาจารย์สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ถ้วยมาชี้แจงให้ผมทราบได้ไหมหรือผมจะทราบด้วยพุทธะ ตอนนี้ยิ่งฟังตัวเองพูดก็ยิ่งสับสน มันก็ต้องสับมันก็ต้องสนกันสักตั้ง ขอขอบพระคุณ คุณอาจารย์ ผมได้หลุดจากบาปที่กันท่องว่าพุทโธแล้วในส่วนหนึ่งบอกว่าบาป เปิดเห็นท่านอาจารย์ จึงฟังนะฟังแบบขาดๆเหมือนกัน สาธุขอให้ท่านอาจารย์ ขอให้ท่านอาจารย์ มีความสุขตลอดการรับอวสาน ณบัดนาว คนปักษ์ใต้จังหวัดสงขลาครับผมอาจารย์

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน

      ท่องพุทโธ เริ่มผิดเห็นผิด ทางสุดท้าย ก็คือ มิจฉาญาณ การรู้ผิด แต่ไม่รู้ตัวว่ารู้ผิด และถึง มิจฉาวิมุติ พ้นผิด แต่ไม่รู้ตัวว่ากำลังพ้นผิด เดินทางผิดอยู่ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน

      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน

      ท่องระลึกพุทโธไม่ใช่พุทธานุสสติ
      การระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พุทธานุสสติ ในกัมมฐาน๔๐ ไม่ใช่การท่องพุทโธ แต่การระลึกคุณถึงพระพุทธเจ้าคืออะไร คือ การระลึกถึงคุณของพระองค์ มีพระปัญญาอย่างไร มีพระมหากรุณาธิคุณอย่างไร ประกอบด้วยคุณทศพลญาณ อย่างไร แล้วพุทธานุสสติ จะระลึกคุณตามที่กล่าวมาได้อย่างไร ถ้าพุทธบริษัท ไม่ศึกษาธรรมให้เข้าใจว่าพระองค์แสดงธรรมอะไรบ้าง ธรรมคืออะไร ก็ไม่รู้ ขณะนี้มีธรรมไหม ปัญญาพระองค์รู้ความจริงอะไร ก็ไม่รู้ ให้นกแก้ว นกขุนทอง มาท่องพุทโธ นั่นคือ สัญญา ความจำ ที่เกิดกับอกุศลก็ได้ กุศลก็ได้ ไม่ได้ระลึกถึงพระคุณ ไม่เป็นกุศล เป็นความจำ เอาคนนนอกศาสนาไม่เข้าใจธรรมเลย มาท่องพุทโธ บอกระลึกคุณพระพุทธเจ้าแล้ว ไม่รู้อะไรเลย จะเป็นพระพุทธศาสนา เป็นการระลึกถึงพระคุณได้อย่างไร ต่างจากคนที่ศึกษาธรรม เริ่มเข้าใจ ใจน้อมไปถึงพระคุณได้ ไม่ต้องท่องพุทโธเลย เป็นพุทธานุสสติแล้วครับ นี่คือ ปัญญาที่เกิดพร้อมสัญญา แต่ไม่ใช่ สัญญา จำแต่ไม่รู้อะไร นั่นคือ สัญญาเกิดพร้อมความไม่รู้ โมหะ แล้วก็มีความอยากที่จะจดจ้องลมหายใจ อยากสงบ อยากที่จะจดจ้องพุทโธ นั่นก็คือความอยากคือกิเลส คือโลภะโดยไม่รู้ตัวครับ นี่คือความละเอียดของพระธรรม ค่อยๆให้อ่านพิจารณาหลายๆรอบ จะเริ่มเข้าใจครับ

  • @nitchaphankittiphonphanuwo7781
    @nitchaphankittiphonphanuwo7781 5 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุ ฟังให้จบแล้วจะเข้าใจค่ะ

  • @piyawanshotsamer474
    @piyawanshotsamer474 7 หลายเดือนก่อน +4

    🙏

  • @pimpangamsab4539
    @pimpangamsab4539 2 หลายเดือนก่อน +1

    ขณะนั่งสมาธิตามเห็นเกิด-ดับ พอเคียบเคียงได้ไหมค่ะ อนุโมทนาค่ะ

    • @paderm
      @paderm  2 หลายเดือนก่อน +2

      อ้างว่ามีการคิดกองลมไม่เที่ยง นั่นคือผิดเพราะเอาการคิดไปเป็นสติปัฏฐาน
      ถ้าจะกล่าวว่าพิจารณากองลมไม่เที่ยง นั่นคือคิด ไม่ต้องไปกำหนดลม ตอนนี้ก็คิดได้ จึงมีปัญญาสามระดับ สุตตมยปัญญา ปัญญาสำเร็จจากการฟัง จินตามยปัญญา ปัญญาสำเร็จจากการคิด และ ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่สำเร็จจาการภาวนา ดังนั้น สติปัฏฐานเป็นปัญญาขั้นภาวนา จึงไม่ใช่การคิด และรู้ลมนิ่ง แต่ไม่มีปัญญารู้อะไรในขณะนั้น ก็คือ โมหะ ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติแต่เป็นกิเลสที่ปฏิบัติผิด และ เอาการคิดถึงกองลมไม่เที่ยงว่าเป็นสติปัฏฐาน เป็นหมวดกาย ก็เข้าใจผิดตามที่กล่าวมาจึงไม่ใช่การปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องนั่นเองครับ

  • @user-lc1do1nd1g
    @user-lc1do1nd1g 7 หลายเดือนก่อน +4

    คลิปนึ้กล่าวในสัมมาทิฐิที่ถูกต้องคะ,ในยุคนี้

  • @somkidpanpet9232
    @somkidpanpet9232 7 หลายเดือนก่อน +2

    เชียร์คะ

  • @satasauu757
    @satasauu757 4 หลายเดือนก่อน +10

    กรุณาช่วยทำคลิป การปฏิบัติอานาปานสติที่ถูกต้องหน่อยครับ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +3

      ทำไว้เรียบร้อยครับ ฟังคลิปนี้ th-cam.com/video/7BvYpOtBsS8/w-d-xo.htmlsi=T27MBt2d4WTXc2dj

    • @satasauu757
      @satasauu757 4 หลายเดือนก่อน +3

      @@paderm ขอบคุณครับ

  • @user-nl8ev4bl6r
    @user-nl8ev4bl6r 4 หลายเดือนก่อน +2

    สาธุค่ะ

  • @user-vx9qy6nv8b
    @user-vx9qy6nv8b 4 หลายเดือนก่อน +1

    ผมยังสับสนครับอาจารย์ คำว่าสมาธิกับคำว่าภาวนามันเหมือนกันไหมครับ ทุกวันยังสับสนกับคำสองคำนี้อยู่ครับ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +2

      เข้าใจสมาธิดังนี้
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +2

      ดังนั้นคำว่า ภาวนา จจะต้องเป็นสัมมาสมาธิ ครับ แต่คนเข้าใจผิดว่า สมาธิดีหมดเป็นภาวนา ลืมว่า มีมิจฉาสมาธิด้วยครับ

    • @user-vx9qy6nv8b
      @user-vx9qy6nv8b 4 หลายเดือนก่อน

      @@paderm ขอบคุณอาจารย์มากๆๆครับ ผมเริ่มจะเข้าใจเกีย่วกับมิจฉาสมาธิบ้างแล้วครับ ดังนั้นการทำสมาธิก็ทำได้ทุกขนะจิตใช่ไหม่ครับ โดยใช้ปัญญาไตร่ตรองให้เป็นกุศลธรรมใช่ไหมครับ ลดโลภะ โทษะ และพิจารณาถึงเหตุและผลของมันก่อนใช่ไหมครับ ขอบคุณมากๆครับสำหรับคำชี้แนะดีๆครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 4 หลายเดือนก่อน +1

      ​@@user-vx9qy6nv8bต้องเข้าใจว่าไม่มีเราไปใช้ปัญญา เพราะปัญญาคือความรู้ที่ไม่ได้เกิดร่วมกับความยึดถือความเป็นเรา สมาธิไม่ใช่ให้เราไปทำ เพราะสมาธิเกิดเป็นปรกติอยู่แล้ว แต่การจะตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดนั้นก็เป็นไปตามเหตุปัจจัย ถ้าเหตุปัจจัยคือปัญญา สมาธินั้นก็ถูก เหตุปัจจัยคือมิจฉาทิฏฐิ สมาธินั้นก็ผิด ผิดตั้งแต่เห็นว่าการกระทำที่ทำด้วยความไม่รู้จะทำให้ปัญญาเกิดขึ้นเจริญขึ้นได้

  • @prakaiprukparmang7183
    @prakaiprukparmang7183 7 หลายเดือนก่อน +21

    กราบสาธุและกราบขอบพระคุณอาจารย์ Paderm มากค่ะที่มีจิตเมตตาชี้แจงธรรมมะของพระพุธเจ้าที่ถูกต้องอย่างแท้จริงค่ะ ขออนุโมทนาบุญกับท่านด้วยค่ะ สาธุ ค่ะ🙏🙏🙏

  • @BenJun-on8kw
    @BenJun-on8kw 7 หลายเดือนก่อน +3

    หลงทางยึดผิดจิตก็เศร้า​หมองกุศลก็หลุดเอาง่ายสบายจิตพูดคิดทำดีๆก็พอแล้วทางโลกและทางธรรม​หน้าปติบัติ​ไป

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      แค่เพียงพูดดีทำดี ก็ไม่ต้องมีพระพุทธเจ้าเพราะใครๆก็สอนได้ครับ เพราะฉะนั้น ต้องศึกษาคำสอนพระพุทธเจ้า จึงจะไม่หลงยึดถือ เพราะไม่ศึกษาจึงยึดถือว่ามีเราดีและไม่ดีเพราะแท้จริงมีแต่ธรรมครับ ขออนุโมทนา

  • @user-ky8cd6yz5c
    @user-ky8cd6yz5c หลายเดือนก่อน

    มันละเอียดมากครับ ธรรมะ ผมควรนั่งยังไงก่อนครับ ฟังแล้วยังไม้รู้ต้องนั่งไง

    • @paderm
      @paderm  หลายเดือนก่อน +1

      ฟังให้จบจะเข้าใจเพราะอธิบายเรื่องการนั่งสมาธิด้วยครับ

  • @user-bz4hc4th4z
    @user-bz4hc4th4z 6 หลายเดือนก่อน +1

    ผมขอถามหน่อยตนเป็นที่พี่งแ ห่งตนหมายความว่าอย่างไรแล้วคุณจะทำอย่างไรจึงจะพี่งตนเองได้

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน

      อธิบายไว้ในคลิปนี้ นาทีที่ 10 ครับ คลิกฟัง th-cam.com/video/-NxfJL6QppI/w-d-xo.htmlsi=Tjbweii4lTSMevaE
      10:01 มีตนเป็นที่พึ่งคือมีธรรมเป็นที่พึ่งที่ลึกซึ้ง : แนะนำเจริญสติปัฏฐาน ๔ ที่ถูกต้อง

  • @user-el3hp7il1i
    @user-el3hp7il1i 7 หลายเดือนก่อน +4

    อนุโมทนาสาธุครับ

  • @user-oe4hh9fo6l
    @user-oe4hh9fo6l 7 หลายเดือนก่อน +2

    ขออนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุเจ้าคะ

  • @drinkgawwweveryday
    @drinkgawwweveryday 6 หลายเดือนก่อน +2

    เรียนถามอาจารย์ครับ หากจะทำกิจวัตรในชีวิตประจำวันที่ต้องใช้สมาธิจะต้องทำอย่างไรให้จิตไม่เป็นมิจฉาสมาธิครับ?

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน

      เริ่มจากเข้าใจสมาธิใหม่หมดให้ถูกต้องดังนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @drinkgawwweveryday
      @drinkgawwweveryday 6 หลายเดือนก่อน

      ถามต่อครับ? มิจฉาชีพสมาธิในชีวิตประจำวันเช่นการตั้งใจทำงานเป็นสิ่งไม่ดีหรือไม่?

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน

      ใช้คำว่า มิจฉาสมาธิ ครับ ไม่ใช่ มิจฉาชีพสมาธิ ครับ ดังนั้นตอนนี้ ตอนทำงาน หรือเลิกงาน ขณะใดจิตเป็นอกุศล มีสมาธิเกิดเสมอ เกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิครับ

  • @user-cv7cm1uo2s
    @user-cv7cm1uo2s 6 หลายเดือนก่อน

    สาธุครับ ท่านอาจารย์ครับผมเรียนรู้ธรรมะแบบนี้มานับสามสิบปีครับบรรลุธรรมมานับไม่ถ้วนครับท่านอาจารย์ก็บรรลุธรรมมามากเช่นกันครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      ถ้าไม่รู้จักแม้แต่คำว่าธรรมคืออะไร ตั้งแต่ต้น กล่าวว่าบรรลุธรรมก็เป็นคำที่เลื่อนลอยและเห็นผิด ครับ ตัวเราเป็นธรรมไหมครับ เรียนถามครับ

    • @user-cv7cm1uo2s
      @user-cv7cm1uo2s 6 หลายเดือนก่อน

      ถูกต้องเลยครับการบรรลุธรรมก็เป็นเรื่องเพ้อฝันครับ

    • @user-cv7cm1uo2s
      @user-cv7cm1uo2s 6 หลายเดือนก่อน

      ธรรมะไม่มีอยู่จริงไม่มีบุคคลและตัวตนผู้บรรลุุธรรมด้วยครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      มีธรรม ไม่ใช่ไม่มีธรรม พระพุทธเจ้าตรัสรู้ธรรมะ ครับ แต่ไม่มีสัตว์บุคคล ขอให้เริ่มต้นฟังใหม่นะครับ ตรงว่าไม่รู้และเข้าใจผิด จะได้สาระจากพระธรรมที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์และพบพระพุทธศาสนา ครับ คลิกฟังธรรมเบื้องต้นให้เข้าใจถูกใหม่คลิปนี้ครับ th-cam.com/video/KC_Px9kGsOg/w-d-xo.htmlsi=03fO1UwlzH9EXuAV

    • @user-cv7cm1uo2s
      @user-cv7cm1uo2s 6 หลายเดือนก่อน

      เป็นการคิดหลงเอาเองว่ายังมีธรรมขององค์

  • @user-de5ix9vb7w
    @user-de5ix9vb7w 6 หลายเดือนก่อน +8

    สาธุ อ.พูดได้ตรงใจ ที่เราไขวาคว้า ค้นหา ใช่ๆๆๆ

  • @user-kf6bt7nn3k
    @user-kf6bt7nn3k 4 หลายเดือนก่อน +3

    กราบอนุโมทนาสาธุในธรรมกับท่านอาจารย์ค่ะ

  • @user-kf6bt7nn3k
    @user-kf6bt7nn3k 4 หลายเดือนก่อน +2

    สาธุ สาธุ สาธุค่ะ

  • @user-gx9cw6qv5x
    @user-gx9cw6qv5x 7 หลายเดือนก่อน +2

    คำว่าสมาธิ นี่ก็งงๆอยู่เหมือนกันครับ บางคนแบ่งเป็นสายพุทโธ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @user-hi7zr6cl9l
    @user-hi7zr6cl9l 7 หลายเดือนก่อน +7

    อนุโมทนาบุญด้วยค่ะ สาธุ

  • @user-xn3um1gx2k
    @user-xn3um1gx2k 7 หลายเดือนก่อน +9

    น้อมจิตขอร่วมอนุโมทนาในกุศล จากธรรมทานอันเป็นประโยชน์ยิ่งนี้ครับ

  • @bimnik549
    @bimnik549 5 หลายเดือนก่อน +1

    ทาน่มาจากไหนคะสอนดีคะ

  • @user-lk1yb6iy8k
    @user-lk1yb6iy8k 7 หลายเดือนก่อน +2

    ถ้าอย่างนี้ถือว่าการทำสมาธิ ไม่ใช่ของง่ายที่จะปฏิบัติ ให้ถึงมรรคถึงผล แล้วทำไมพ่อแม่ครูบาอาจารย์ ถึงให้จดจ่ออยู่กับลมหายใจก่อน ยังงงอยู่ค่ะ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      เพราะไม่ได้ศึกษาคำพระพุทธเจ้าและศึกษาแล้วอธิบายผิดนั่นเองครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิทีเ่กิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน

      ผิดตั้งแต่จะเลือกทำอานาปานสติ ลืมอนัตตา
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ ครับ หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 4 หลายเดือนก่อน

      ​@@papasu51ที่ว่ามาไม่ใช่คำสอนของพระพุทธเจ้า ขัดแย้ง ไม่สอดคล้องใด ๆ

  • @user-hb8wz8xt6m
    @user-hb8wz8xt6m 7 หลายเดือนก่อน +4

    การพูดดี เข้าใจดี มีสมาธิไหมครับอาจารย์

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @nobody2022
      @nobody2022 7 หลายเดือนก่อน +1

      มีเสมอครับสมาธิทุกขณะจิต แต่เมื่อใดที่การพูดทีเ่ป็นอกุศล ขณะนั้นไม่มีสติเกิดร่วมด้วย เพราะสติเกิดกับกุศลจิตเท่านั้น และไม่ใช่ว่าตั้งใจข้ามถนน ขับรถ จะเป็นสติ แต่ละคำลึกซึ้งมาก ธรรมะที่ทรงแสดง

  • @worasitsupattanarnon6475
    @worasitsupattanarnon6475 7 หลายเดือนก่อน +3

    กราบเรียนถามท่านอาจารย์นะครับ คือถ้าทุกอย่างก้าวมีแค่ปัจจุบันกับอดีตล่ะครับ ทุกคำพูดมีแต่ปัจจุบันกับอดีต ทุกลมหายใจมีแต่อดีตกับปัจจุบันล่ะครับทุกสภาวะมีแต่อดีตกับปัจจุบันแล้วสุดท้ายก็ดับหายไปหมดล่ะครับ ไม่คิดไม่นึก ก็ไม่มีอะไรให้เห็นล่ะครับ ที่ยีงเห็นว่ามีเพราะยังคิดยังนึกเลยว่ามี ลองไม่คิดไม่นึกสิครับ ทุกสภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มันเป็นแบบนี้เลยทุกๆวินาทีเลย เกิดขึ้นแล้วดับหายเลย คำพูดนึงพูดไปแล้วหายทันทีเลย อีกคำนึงมาก็หายทันทีเลย พูดจบทุกคำหายไปหมดเลย ไม่คิดไม่นึก ไม่จำก็ไม่มีอะไรเลย มีแต่ความว่างครับอาจารย์ ลองพิจารณาดูนะครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิทีเ่กิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      ผิดตั้งแต่จะเลือกทำอานาปานสติ ลืมอนัตตา
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ ครับ หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

  • @chutimons21
    @chutimons21 7 หลายเดือนก่อน +2

    คำว่ากาย เวทนา จิต ธรรมหรือทำ ค่ะ และถ้าคือธรรมคำนี้แปลว่าอะไรค่ะ สาธุค่ะ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      มีอธิบายในคลิปนี้ คลิกฟังครับ th-cam.com/video/1kP1NLQWnF0/w-d-xo.htmlsi=kwzQsxAatxdFLTOP

  • @Suchai-AI
    @Suchai-AI 5 หลายเดือนก่อน +2

    มีพระในพุทธศาสนาอยู่รูปนึง บอกสาวกว่าไม่ต้องเรียนธรรมะอะไรทั้งนั้น ให้ผ้าขาวบริสุทธิผืนนึงไปลูบพอ
    พระรูปนี้สอนผิดมั้ยครับ

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +1

      ผิดครับ ถ้าไม่ฟัง ไม่เรียน คือ เป็นพระพุทธเจ้าเสียเองครับพระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงธรรมกับพระรูปนั้น และพระรูปนั้นสะสมปัญญามาแล้ว ไม่ใช่ท่องอะไรโดยไม่มีปัญญาครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 5 หลายเดือนก่อน +4

      ไม่ผิด เพราะพระรูปนั้นคือองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้ในเหตุปัจจัยการตรัสรู้ตามของสัตว์ทั้งปวง เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า การให้จำพุทธพจน์ว่า รโชหรณัง เป็นเหตุปัจจัยเฉพาะตนแก่ภิกษุนั้นเกิดปัญญารู้ตามจริง ที่ทรงทราบด้วยพระสัพพัญญุตตญาณ ไม่ใช่ข้อประพฤติปฏิบัติที่ให้ใครทั่วไปทำตาม แล้วบอกว่านั่นจะทำให้เกิดปัญญา อันเป็นสีลัพพตปรามาส

  • @amornratpornpaisandee4495
    @amornratpornpaisandee4495 4 หลายเดือนก่อน +3

    สาธุสาธุสาธุ. ท่านอาจารย์พูดออกมาได้อย่างลึกซึ้ง...สิ่งนี้คือข้อธรรมชั้นสูงที่เราจะต้องรู้ว่าคือต้องรู้โดยปัญญา...เราต้องร้จักกิเลสในทุกขณะจิตและนำพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้ามาดับกิเลสในทุกขณะจิตของเราเลยค่ะ...สิ่งนี้จะเป็นบุญ...แล้วจะทำให้เราเกิดสมาธิโดยปัญญาในสมาธิต่อไป. สาธุสาธุสาธุ.

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน

      สาธุครับ เพิ่มเติมเรื่องสมาธิครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @user-hd7cx9qx9e
    @user-hd7cx9qx9e 7 หลายเดือนก่อน +20

    🙏🙏🙏 กราบอนุโมทนาในกุศลจิตที่ดีงามค่ะ

  • @goodgeegoodgee9390
    @goodgeegoodgee9390 6 หลายเดือนก่อน +2

    ขอถามหน่อยครับ การที่เรา "อยาก" สงบ เราจึงทำสมาธิ หรือ อยากเจริญในธรรมจึงรักษาศีล ความอยากแบบนี้ ถือว่าเป็นความอยากที่ดีไหมครับ...?
    หรือเป็นความอยากที่เป็นกิเลส เป็นมิจฉาทิฐ ิครับ ...?

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      อยากสงบ แต่ไม่รู้จักว่าสมาธิคืออะไร เป็นความอยากด้วยกิเลสครับ แนะนำ เข้าใจสมาธิใหม่ดังนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @goodgeegoodgee9390
      @goodgeegoodgee9390 6 หลายเดือนก่อน +1

      @@paderm ขอบคุณมากครับ สาธุครับผม🙏🙏🙏

    • @tindy3043
      @tindy3043 5 หลายเดือนก่อน

      ​@@padermตาสีตาสาชาวบ้านช่องที่หูไม่กระดิกพระอภิธรรม คงยากจะปฏิบัติธรรมได้ถูกทางใช่มั้ย แค่เริ่มอยากก็เริ่มผิด บางท่านอาจจะถนัดพระสูตร เขาอาจจะเริ่มด้วยฉันทะ อย่าเหมาเป็นตัณหาทุกเรื่อง สิ เขามีขณิกสมาธิ หรืออาจจะฝึกจิตจนถึงอัปปณาสมาธิ เพื่อเป็นบาทวิปัสสนา ควรอนุโมทนามิใช่หรือ?

    • @klarapoonsin
      @klarapoonsin หลายเดือนก่อน

      เป็นฉันทะ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta หลายเดือนก่อน

      @@klarapoonsin ไม่เกิดปัญญาก็ไม่รู้ว่าฉันทะนั้นเกิดกับโลภะ ก็คิดเอาด้วยความไม่รู้ว่าเป็นฉันทะไม่บาป แท้จริงเป็นทั้งฉันทะเกิดร่วมกับโลภะติดข้องในมิจฉาทิฏฐิว่าการกระทำด้วยความไม่รู้จะเจริญความสงบขึ้นมาได้แม้จะไม่รู้ว่าอะไรคือความสงบ ผลก็คือติดกับโลภะแล้วคิดว่าสงบ

  • @bimnik549
    @bimnik549 5 หลายเดือนก่อน +1

    ส อนดีคะ

  • @bubblegummy-nt7ky
    @bubblegummy-nt7ky 7 หลายเดือนก่อน +1

    อยากให้อธิบายอานาปานสติ16 ขั้นครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ฟังคลิปนี้ครับ th-cam.com/video/7BvYpOtBsS8/w-d-xo.htmlsi=bosn1oYVNyiYOZ46

    • @bubblegummy-nt7ky
      @bubblegummy-nt7ky 7 หลายเดือนก่อน +1

      @@paderm ขอบคุณครับ

  • @nainai9414
    @nainai9414 7 หลายเดือนก่อน +1

    เลิกทำสมาธิแบบพุทโธนานแล้ว เสียเวลาตั้งหลายปี ดูลม จ้องลม ทำจิตนิ่งๆ นั่นแหล่ะเป็นสมาธิ..ครูบาอาจารย์สอนย้ำแต่อย่างนี้ จริงแล้วเป็นเพียงกะพีัสมาธิ เอาไปใช้ในโลกแห่งความจริงไม่ได้ เพราะมันไม่มีกำลังและขาดปัญญารู้

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      เอาจิตมาอยู่กับลม คำสอนผิด ลืมคำว่าธรรมเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ
      จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ
      นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา
      สิ่งที่ชาวพุทธควรตอบตนเองให้ได้ คือ ขณะที่รู้ว่าหายใจเข้าก็รู้ หายใจออกก็รู้ ปัญญาเข้าใจอะไรในขณะนั้น นี่คือสิ่งที่ควรพิจารณาครับและบังคับธรรมได้ไหม ครับ เรียนสนทนาสอบถามครับ ขณะนั้นปัญญารู้อะไรขณะที่ทำครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิทีเ่กิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      ดังนั้น ประเด็นคือ ไม่จำเป็นจะต้องเจริญสมถภาวนาก่อนถึงจะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ครับ หากมีคำแย้งว่าต้องมีสมถะและวิปัสสนาควบคู่กันไปเป็นธรรมคู่กัน ตามที่ผมได้อธิบายแล้วว่าสมถะ กับ สมถภาวนา นั้นต่างกัน สมถะ หมายถึง สภาพธรรมที่สงบจากกิเลส ซึ่งพระพุทธเจ้าได้แสดงองค์ของสมถะและวิปัสสนาว่าเป็นอย่างไรบ้าง ดังนี้
      มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ นี่คือการเจริญมรรค อันเป็นหนทางดับกิเลสคือวิปัสสนานั่นเองครับ คำถามมีว่ามรรคมีองค์ ๘ มีสมถะหรือเปล่าครับ หรือมีแต่วิปัสสนาอย่างเดียว คำตอบคือมีทั้งองค์ธรรมของสมถะและมีวิปัสสนาด้วย พระพุทธเจ้าแสดงธรรมที่เป็นคู่กันในการอบรมปัญญา คือ สมถะและวิปัสสนา
      ดังนั้นในอริยมรรคมีองค์ ๘ ตามที่กล่าวมา มีทั้งสมถะและวิปัสสนาด้วย มีอย่างไร พระพุทธเจ้าแสดงว่า ฝ่ายของวิปัสสนา มี ๒ อย่างคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ นี่คือฝ่ายวิปัสสนา ส่วน ๖ ประการหลังคือ สัมมาวาจา ... สัมมาสมาธิ เป็นฝักฝ่ายของสมถะนั่นเอง ครับ
      แม้ขณะที่เจริญวิปัสสนา เจริญมรรคอย่างเดียว ไม่ได้เจริญสมถภาวนาก่อน หรือไม่ได้เจริญสมถภาวนาเลย ขณะที่เจริญวิปัสสนาอย่างเดียวก็มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเกิดพร้อมกันอยู่แล้วครับ ยกตัวอย่างเช่น ขณะที่สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรมที่มีจริงในขณะนี้ว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา ขณะนั้นมีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เกิดพร้อมกัน ถามว่ามีสมถะไหมในขณะนั้น มีครับ คือ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นฝักผ่ายของสมถะ คือ สภาพธรรมที่สงบจากกิเลส และมีฝักผ่ายวิปัสสนาในขณะนั้นด้วยคือ สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ ครับ
      เรื่อง มรรคหรือสติปัฏฐาน เป็นทั้งสมถและวิปัสสนาแม้ไม่ได้อบรมสมถภาวนา
      [เล่มที่ 77] พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๑ - หน้าที่ 373
      ว่าด้วยมรรคเป็นทั้งวิชชาและจรณะเป็นต้น
      อนึ่ง โลกุตรมรรคใด พร้อมทั้งโลกิยมรรค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา (ปฏิปทาให้ถึงความดับทุกข์) มรรคนั้นแลเป็นทั้งวิชชาและจรณะ เพราะสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะทรงสงเคราะห์ไว้ด้วยวิชชา ธรรมที่เหลือสงเคราะห์ไว้ด้วยจรณะ.
      อนึ่ง มรรคนั้นเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนา เพราะความที่สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะทั้ง ๒ เหล่านั้น ทรงสงเคราะห์ไว้ด้วยวิปัสสนาญาณ. ธรรมนอกจากนี้ สงเคราะห์ไว้ด้วยสมถญาณ.
      อีกอย่างหนึ่ง มรรคนั้นเป็นทั้งขันธ์ ๓ และสิกขา ๓ เพราะความที่สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะทั้ง ๒ เหล่านั้น ทรงสงเคราะห์ด้วยปัญญาขันธ์ ธรรม ๓ ในลำดับต่อจากสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะนั้นสงเคราะห์ด้วยศีลขันธ์ ที่เหลือสงเคราะห์ด้วยสมาธิขันธ์ และธรรมเหล่านั้นแหละสงเคราะห์ด้วยอธิปัญญาสิกขา อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา.
      จะเห็นนะครับว่าขณะที่สติปัฏฐานเกิดที่เป็นการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเกิดพร้อมกันอยู่แล้ว ดังนั้นจะต้องเข้าใจใหม่ว่าจะต้องไปทำสมถภาวนาก่อนถึงจะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ อันนี้ไม่ใช่ครับ เพราะเราจะต้องเข้าใจคำพูดที่ว่าธรรมที่เป็นคู่กัน คือ สมถะและวิปัสสนา สมถะในที่นี้ไมได้มุ่งหมายถึงการเจริญฌานเท่านั้น สมถะในที่นี้ มุ่งหมายถึงสภาพธรรมที่สงบ เป็นฝักฝ่ายสมถะ ก็เกิดอยู่แล้วในขณะเจริญวิปัสสนา ฝักฝ่ายสมถะก็คือสัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ครับ
      ตามที่กล่าวแล้ว สมถะ หมายถึง ความสงบจากกิเลสด้วย ดังนั้น ขณะที่สติปัฏฐานเกิด เจริญวิปัสสนา ขณะนั้นจิตก็สงบจากกิเลสด้วยในขณะนั้น จึงเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนาในขณะที่สติปัฏฐานเกิด ครับ

    • @user-lq8mz5km2i
      @user-lq8mz5km2i 7 หลายเดือนก่อน +3

      เป็นแค่อุบายครับถ้าไม่เข้ากับจริตก็เปลียนเป็นอย่างอื่นก็ได้นะครับท่านทั้งหลาย

  • @kiddeekritkusol1385
    @kiddeekritkusol1385 4 หลายเดือนก่อน +3

    เป็นคลิปที่เตือนสติมีประโยชน์ แต่จะรู้เห็นอย่างไรว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา มันเร็วมากๆๆๆนะครับ เช่นพอเห็นก็รู้ว่าคืออะไร มันปรุงไปแล้วครับ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +4

      หากอ่านประวัติพระสาก ท่านกว่าจะรู้ความจริงบรรลุ อบรมปัญญานับชาติไม่ถ้วน ดังนั้นอวิชชาความไม่รู้มาก ถูกแล้วครับ ปัญญายังน้อย ก็ต้องฟังอบรมปัญญานับชาติไม่ถ้วน จนปัญญาคมกล้ารู้เร็ว รู้ไว้ครับ ตอนนี้ก็ฟังให้เข้าใจไปทีละน้อยครับ ขันติบารมี อดทน ครับ

  • @paderm
    @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

    ไม่เอาปริยัติตำรา ปฏิบัติเลย
    ผู้ที่เข้าใจผิดที่คิดว่า ต้องปฏิบัติเลย ลืมตรวจสอบกับคำพระพุทธเจ้าว่าพระองค์ตรัสว่าอย่างไร ตรัสว่า ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ดังนั้นถ้าเราฟังหลวงปู่ หลวงพ่อ ไม่ฟังคำพระพุทธเจ้า เราก็เชื่อตามนั้น ไม่ได้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ ผู้ที่จะไม่ต้องฟังจากใครเลย แล้วบรรลุ มีสองจำพวกครับ คือ พระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้า ส่วนนอกนั้นต้องฟังให้เข้าใจ(ปริยัติ) สาวก จึงแปลว่า ผู้ที่สำเร็จจากการฟัง ถ้าไม่ฟัง ก็เป็นผู้คิดเองหรือจะเป็นพระพุทธเจ้าเอง ครับ
    ปฏิบัติธรรม ก็คิดว่าเราจะปฏิบัติ ก็เข้าใจผิดคิดว่ามีเราปฏิบัติ แท้ที่จริงมีแต่ธรรม ขณะที่ฟังเข้าใจ ปัญญาเกิดรู้ความจริง ปัญญาและสติที่เกิดรู้ความจริงในขณะนนี้ ใครปฏิบัติ เราหรือ ธรรม ธรรมปฏิบัติหน้าที่รู้ความจริง นั่นคือปฏิบัติธรรมแล้วครับ ดังนั้นแนะนำค่อยๆฟัง จะค่อยๆเข้าใจขึ้นครับ ขออนุโมทนา

  • @prakobnarkburee5333
    @prakobnarkburee5333 5 หลายเดือนก่อน +2

    พระธรรม​ที่​อาจารย์​บอก​ ต้อง​เป็น​พระสูตร​จาก​พุทธ​วจน​ คำสอน​จาก​ปาก​ของ​องค์​พระ​ศาสดา​
    การ​ฝึก​สมาธิ​ พระ​พุทธเจ้า​ให้​อยู่​กับ​ลมหายใจ​ เข้า​รู้​ ออก​รู้​ เข้า​ยาว​รู้​ ออก​ยาว​รู้​ เป็น​ต้น​ ที่​เรียกว่า​อานาปาน​สติ​ ไม่​ต้อง​มี​คำภาวนา​

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      เอาจิตอยู่กับลม เอาจิตอยู่กับกาย คำแต่งใหม่ไม่มีในพุทธวจนและอธิบายอานาปานสติผิดจึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน
      ปฏิเสธอรรกถาเป็นคำแต่งใหม่ คำที่ตนเองยกพุทธวจนแล้วอธิบายเพิ่มก็คือคำแต่งใหม่เช่นกัน
      ถ้าจะอ้างว่าเอาแต่พุทธวจนทั้งหมด คำอรรถกถาอธิบาย ไม่ใช่พุทธวจน เป็นคำแต่งใหม่ เช่นนั้นแล้ว คำของตนเองที่ยกพุทธวจนแล้วอธิบายออกมา เช่น ยก สติปัฏฐานสูตร หน้านั้น เล่มนี้ ฉบับนี้ แล้วตนเองก็อธิบายเป็นภาษาไทย ให้ทำอย่างนั้นอย่างนี้ คำที่ตนเองอธิบาย นั่นก็คือ ไม่ใช่พุทธวจน เป็นอรรถกถาจารย์เช่นกัน เพราะเป็นคำที่ไม่มีในพระไตรปิฎก เล่มนั้นเล่มนี้ ถ้าจะให้ถูกตามที่ไม่เอาอรรถกถาจารย์ ก็คือ ห้ามพูดต่ออะไรเลย ยกพุทธวจนล้วนๆ นั่นแหละครับ ไม่มีการอธิบายเพิ่มเติม ดังนั้นตนเองก็อธิบายเพิ่มเติม หลังจากยกพุทธวจน ที่ไม่ตรงเป๊ะตามพระไตรปิฎกเช่นกัน นี่คือการเปรียบเทียบให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว คำใดก็ตาม ที่อธิบายโดยภาษาไหน อย่างไร แต่อธิบายความหมายได้ตรงตามคำพระพุทธเจ้า นั่นก็ชื่อว่าคำพระพุทธเจ้า ดังเช่น ในอรณวิภังคสูตร บางประเทศ คำว่า ภาวขนะ ใช้คำนี้ บางประเทศ ภาชนะใช้คำนี้ แต่ภาษาใด คำใดก็ตาม ที่อธิบายให้เข้าใจถึงความจริงของธรรม นั่นเป็นคำพระพุทธเจ้าครับ แต่เอาจิตอยู่กับลมเป็นการเลือกลืมอนัตตา ไม่มีปัญญารู้ความจริง จึงเป็นการยกคำแต่งใหม่และอธิบายผิดด้วย(เป็นสาวกภาษิต) ตรงกันข้ามกับ อรรถกถาจารย์ฺที่อธิบายเพิ่มขยายความในพุทธวจน โดยสอดคล้องกับอนัตตา จึงเป็นคำพระพุทธเจ้า ไม่ใช่สาวกภาษิตนั่นเองครับ
      อรณวิภังคสูตร
      [๖๖๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญเสีย นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่าปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หนะ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดปรักปรำโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะนั้นกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ ตามกำลังและความแน่ใจว่า นี้เท่านั้นจริง อื่นเปล่าอย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อย่างไรเล่า เป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภาชนะนั่นแลในโลกนี้ ในบางชนบทเขาหมายรู้ว่า ปาตี ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปัตตะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิฏฐะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า สราวะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า หโลสะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า โปณะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า
      หนะ ในบางชนบท เขาหมายรู้ว่า ปิปิละ ภิกษุพูดโดยประการที่ชนทั้งหลายหมายรู้เรื่องภาชนะกันดังนี้ ในชนบทนั้นๆ อย่างไม่ใช่ความแน่ใจว่า เป็นอันท่านผู้มีอายุทั้งหลาย พูดแก่ข้าพเจ้าหมายถึงภาชนะนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ชื่อว่าเป็นการไม่ปรักปรำภาษาชนบท และเป็นการไม่ล่วงเลยคำพูดสามัญข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงปรักปรำภาษาชนบท ไม่พึงล่วงเลยคำพูดสามัญ นั่นเราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +1

      หายใจเข้าก็รู้ว่าหายใจเข้า หายใจออกก็รู้ว่าหายใจออก ใครก็ทำกันได้ แต่ไม่มีปัญญารู้ในขณะนั้น ไม่ใช่อานาปานสติ
      พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา การเจริญสติปัฏฐาน คือ การเจริญปัญญาถึงความเป็นพระโสดาบัน นั่นคือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา(สักกายทิฏฐิ) ดังนั้น นิ่งจดจ่อลม หายใจเข้าก็รู้ว่าหายใจเข้า บอกคนไม่ศึกษาให้ทำ เขาก็ทำได้ แต่ไม่มีปัญญารู้ว่า เป็นธรรมเพื่อละความยึดถือว่าเป็นเรา เป็นสัตว์บุคคล จึงไม่ใช่อานาปานสติ ไม่ใช่สติปัฏฐาน จึงเป็นการปฏิบัติธรรมผิด โดยกคำพระพุทธเจ้าแต่อธิบายผิดนั่นเอง ครับ อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +1

      พุทธวจนไม่ผิด แต่ยกพุทธวจนแต่มาอธิบายผิด เป็นสาวกภาษิต คำเดียรถีย์
      ยกพุทธวจนแต่อธิบายผิด ก็คือ คำของอัญญดียรถีย์ไม่ใช่คำพระพุทธเจ้า
      ยกพุทธวจน มา แต่อธิบายผิด ก็เป็นการเข้าใจผิด ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา ไม่เข้าใจตั้งแต่ตรงนี้ ก็จะทำสติ จะเลือกอารมณ์ ไม่เข้าใจว่ามีแต่ธรรมตั้งแต่ต้น เป็นอนัตตา บังคับสติ ไม่ได้ ดังนั้น ยกพุทธวจนมา เช่น ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ไม่ศึกษาให้รอบคอบ ก็ คิดว่ามีตน มีตัวเรา นี่ก็คือ ยกพุทธวจน อธิบายผิด ดังนั้น หากจะเอาพุทธวจน คำอื่นเป็นสาวกภาษิต คำที่ใครก็ตามกล่าวยกพุทธวจน คำที่มาอธิบายเพิ่ม ก็ชื่อว่า เป็นคำแต่งใหม่ เพราะห้ามอธิบาย ห้ามมีคำอื่นที่นอกเหนือจากเล่มนี้หน้านี้ ข้อนี้ นั่นเองครับ ดังนั้นการอธิบายเพิ่มเติมที่สอดคล้อง ถูกต้องก็คือ คำพระพุทธเจ้านั่นเอง แต่อธิบายผิด ขัดหลักธรรมเป็นอนัตตา ก็เป็นคำแต่งใหม่ เป็นตะโพน กลอง ที่เป็นสาวกภาษิตนั่นเองครับ (อาณีสูตร)

    • @user-qb1fm5qw5x
      @user-qb1fm5qw5x 6 วันที่ผ่านมา

      ท่านบวชเถอะครับจะได้เป็นอาจารย์นำปฏิบัตรที่ดีได้แต่ตราบใดที่ท่ารยังกิน,ขี้,ปี้,นอนอยู่ผมยังไม่เชื่อครับ

  • @whatishumans782
    @whatishumans782 7 หลายเดือนก่อน +11

    เดี๋ยวๆ . .
    นาทีที่ 20 เกี่ยวกับอานาปนสติ รู้ลมหายใจเข้าออก.
    **ท่าน "เข้าใจ" ของท่านไปเอง**
    ถ้าไม่มีสติ ฯลฯ ทำไมพระพุทธเจ้า ถึงไม่พูด ไม่อธิบายต่อ ทำไม "จบ" แค่นั้น ?
    เหมือนท่านดูถูกว่าพระพุทธเจ้ามีปัญญาตื้นเขิน เสียจนไม่รู้ว่า ธรรมคำบอกของพระองค์ ไม่สมบูรณ์.. (ท่าน ดูแคลนปัญญาของพระองค์ ได้ขนาดนี้เลยเหรอ ?) . . .
    ท่าน "รู้จัก" กลองฮานกะ หรือไม่ ?
    ท่าน.. ก็ เป็น 1 ใน "คำแต่งใหม่" ครับ.
    ตกลง "วิญญาณ" เป็นผู้ท่องเที่ยวไปในสังสารวัฏ.. ใช่ไหมครับ ?
    พิจารณาดูนะครับ.

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      ผิดตั้งแต่จะเลือกทำอานาปานสติ ลืมอนัตตา
      หากได้อ่านประวัติพระสาวกมากมาย ไม่มีรูปแบบเจาะจงให้พระภิกษุทุกรูปทำอานาปานสติ บางรูปก็ให้ให้เจริญธรรมอื่น สติปัฏฐานจึงมีสี่ ไม่ใช่แค่กาย มีเวทนา จิต ธรรม การเลือกจะทำ นั่นคือบังคับสติ(ขัดกับอนัตตา บังคับไม่ได้) และที่สำคัญไม่ใช่สติด้วย และที่สำคัญที่สุด เพราะชาวพุทธไม่มีพื้นฐานตั้งแต่ต้นว่า ธรรมคืออะไร ธรรมเป็นอนัตตาบังคับไม่ได้ เข้าใจคำว่าสติผิด จึงจะทำสติ จะทำอานาปานสติ เพราะอยากได้ผลอานิสงส์ เริ่มต้นผิดที่ความอยาก เริ่มต้นผิดที่จะทำ จึงมีคำถามให้ตอบว่า หากทำได้ ตอนนี้ ทำให้โกรธเกิดขึ้นได้ไหม ทำเลยให้เกิดเลยได้ไหม ครับ นี่แสดงถึงความเป็นเหตุปัจจัยของธรรม ไม่ใช่จะทำได้ พระองค์ถึงทรงแสดงพระธรรมที่ว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้นั่นเอง ดังนั้นถ้าไม่เริ่มจากการฟังให้เข้าใจเป็นเบื้องต้น ก็กล่าวว่า พระศาสดาให้ทำ อะไรทำ(ธรรมทำหน้าที่ไม่ใช่เรา) แต่ไม่มีความเข้าใจในธรรมเป็นเบื้องต้นคืออะไร ไม่เข้าใจอนัตตา ก็ทำผิด และคิดว่าเป็นสติ ก็เป็นมิจฉาสติ เป็นโลภะต้องการจดจ้องลมหายใจ แต่ขณะนั้น ไม่ได้รู้ความจริงว่าเป็นธรรม เพราะการไถ่ถอนละกิเลส คือ ละความยึดถือว่าเป็นเรา ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ ครับ หลงคิดว่าเป็นสติแต่ไม่ใช่สติ
      สิ่งที่ทำไม่ใช่สติ แต่สำคัญผิดว่า สติ จดจ้อง ไม่มีปัญญารู้อะไร เลือกจะทำจดจ้อง คือ โลภะ ลืมคำว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา อนัตตา คือ บังคับบัญชาไม่ได้ สติเป็นธรรม สติก็บังคับไม่ได้ แล้วแต่ว่าสติจะเกิดระลึกรู้อะไร เป็นหน้าที่ของสติ ไม่ใช่เรา จดจ้องที่สมหายใจ ไม่มีปัญญารู้ว่าเป็นธรรม นั่นคือโลภะ เพราะไม่มีปัญญา อานาปานสติจึงต้องประกอบด้วยสติสัมปชัญญะ(ปัญญา) ไม่มีปัญญา นิ่งไม่รู้อะไร ไม่ใช่สติ ไม่ใช่อานาปานสติ แต่เป็นโลภะที่ประกอบพร้อมกับความเห็นผิด

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      เอาผลมาเป็นเหตุ จึงอธิบายพุทธวจนผิด เป็นความเห็นผิด
      ปัญหาที่น่าคิดคือเราเอาคำพุทธวจน แต่ตีความผิด ไม่มีความเข้าใจอนัตตาว่า ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ สติ ก็อนัตตา บังคับไม่ได้ มีตัวเราที่จะเลือก จะทำ และที่สำคัญที่สุด ถูกโลภะหลอกครับว่า ทำอานาปานสติ จะมีผลมาก อานิสงส์มาก อยากได้ผล อยากปิดประตูอบาย อยากหลุดพ้น เขาบอกให้ทำ ก็ทำ ไม่มีความเข้าใจธรรมคืออะไรตั้งแต่ต้น ขณะนี้มีธรรมไหมก็ไม่รู้ ก็จึงสำคัญว่าสิ่งที่ทำ ทำตามพระพุทธเจ้า ตามพุทธวจน แต่เข้าใจผิดนั่นเองครับ ยกตัวอย่างเช่น บอกให้รักษาศีลห้าสมบูรณ์จะเป็นเหตุให้เป็นพระโสดาบัน แท้ที่จริง การรักษาศีลห้าสมบูรณ์เป็นผลนะครับ ที่เกิดจากการเป็นพระโสดาบัน แต่คนอ่านพุทธวจน คำพระพุทธเจ้าผิด จึงเอาผล มาเป็นเหตุ เพราะเหตุ ของการบรรลุพระโสดาบัน ไม่ใช่การรักษาศีลห้าสมบูรณ์ ครับ
      ทุติยสาริปุตตสูตร
      ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
      [๑๔๒๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านพระสารีบุตรว่า ดูก่อนสารีบุตร ที่เรียกว่า โสตาปัตติยังคะ (๑) ๆ ดังนี้ โสตาปัตติยังคะเป็นไฉน.
      [๑๔๒๘] ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ ๑ สัทธรรมสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่าน ๑ โยนิโสมนสิการ กระทำไว้ในใจโดยอุบายที่ชอบ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑.
      [๑๔๒๙] พ. ถูกละๆ สารีบุตร โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ ๑ สัทธรรมสวนะ ๑ โยนิโสมนสิการ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑.

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      จะเลือกทำอานาปานสติ ขัดแย้งกับคำพระพุทธเจ้า(ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา)
      พระพุทธเจ้าทรงแสดงเมื่อใกล้ปรินิพพานว่าพระธรรมจะเป็นศาสดาแทนเราและให้ตัดสินตามพระธรรมด้วยมหาปเทสสี่ ว่าถูกต้องเข้ากันได้ไหม เช่น พระองค์ทรงแสดงว่าธรรมเป็นอนัตตา ไม่ใช่เรา บังคับไม่ได้ แต่จะเลือก จะทำอานา นั่นก็ขัดแย้งกับหลักธรรมมหาปเทสสี่ครับ จึงเป็นการยกพุทธวจนแต่อธิบายผิด เป็นคำอัญญเดียรถีย์ ไม่ใช่คำพระพุทธเจ้า เพราะอ้างคำพระองค์แต่สอนผิด ครับ

  • @Khemarinable1
    @Khemarinable1 6 หลายเดือนก่อน +3

    อาจารย์บรรลุธรรมขั้นไหนครับ? ไม่ใช่จำคำคนอื่นมาพูด ฟังแล้วรำคาญมากกว่า

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      ตติยสัทธัมมนิยามสูตร
      ว่าด้วยธรรมของผู้เข้าถึง และไม่เข้าถึงกุศล
      [๑๕๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็เป็นผู้ไม่ควรเพื่อหยั่งลงสู่นิยาม คือ ความถูกในกุศลธรรม ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน คือ บุคคลเป็นผู้ลบหลู่คุณท่านฟังธรรม ๑ เป็นผู้อันความลบหลู่ครอบงำ มีจิตแข่งดีฟังธรรม ๑ เป็นผู้แสวงโทษ มีจิตกระทบ ในผู้แสดงธรรม มีจิตกระด้าง ๑ เป็นผู้มีปัญญาทราม โง่เง่า ๑ เป็นผู้มีความถือตัวว่าเข้าใจ ในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ นี้แล แม้ฟังสัทธรรมอยู่ ก็เป็นผู้ไม่ควร เพื่อหยั่งลงสู่นิยาม คือ ความถูกในกุศลธรรม.

  • @tumthotsaporn501
    @tumthotsaporn501 6 หลายเดือนก่อน +1

    ถามท่านอาจารย์ ด้วยความเคารพนะครับ
    แล้วท่านมีพระอริยสงฆ์รูปไหนในไทย ที่ท่านเคารพ นับถือครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      ผู้ใดก็ตามกล่าวความจริงในความเป็นธรรมเป็นอนัตตา ที่ให้เข้าใจถูกในขณะนี้ ไม่ว่าคฤหัสถ์หรือบรรพชิต ย่อมเคารพผู้นั้นเพราะเคารพพระธรรมไม่ใช่เคารพตัวบุคคล ครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      การตัดสินถูกผิดไม่ใช่เพราะคำหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ แต่ต้องตัดสินตามคำพระพุทธเจ้า ปัญหาของชาวพุทธ คือ ไม่ศึกษาพระธรรม ไม่เทียบเคียง ไม่พิจารณาว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร แต่จะไปเชื่อว่าหลวงพ่อ หลวงปู่พูดว่ายังไง ก็นับถือภิกษุมากกว่าพระพุทธเจ้า
      พระพุทธเจ้าให้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ และให้เทียบเคียงกับพระธรรมไม่ว่าใครพูด(มหาปเทส ๔) ก็ให้เทียบเคียงกับพระธรรมก็จะรู้ว่าถูกหรือผิด คำว่า พุทโธ บริกรรมพุทโธ ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า ภิกษุที่เข้าใจผิด จึงแต่งใหม่ และอธิบายผิด และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ยูทูป เป็นระบบสำหรับฟังไม่ใช่เฉพาะแค่แสดงความคิดเห็นโดยไม่ฟัง แต่ปัญหาคือ ผู้แสดงความคิดเห็น ไม่ฟัง แสดงความคิดเห็นเลย นั่นก็คือไม่เปิดใจที่จะรับฟังคำอธิบาย ก็ไม่ได้ประโยชน์ ดังนั้น การจะได้ปัญญานั้น ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธทันที แต่ต้องฟังในคำอธิบายในคลิปเรื่องนี้ก่อน ว่าอธิบายตามคำรพะพุทะเจ้าอย่างไร จะเป็นชาวพุทธ ได้ปัญญาก็คือฟังก่อนครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      ปรามาส ลบหลู่พระอริสงฆ์ ?
      ต้องเข้าใจก่อนครับว่า การเข้าใจผิด ไม่พิจารณาคำพระพุทธเจ้า และยึดเอาพระสอนผิด ไม่เทียบเคียงคำของพระองค์ นั่นคือ การปรามาสพระพุทธเจ้า ปรามาสพระธรรมและปรามาสพระอริยสงฆ์ มีท่านพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ และท่านพระอานนท์ เป็นต้น เพราะ พระพุทธเจ้าไม่ได้แสดงให้ท่องพุทโธ ระลึกพุทโธ รวมทั้งพระอริยสงฆ์ทั้หลายที่แท้จริง ท่านก็ไม่ปฏิบัติเช่นนั้น ดังนั้นเมื่อผู้ใดสอนผิดจากคำสอน ก็คือกำลังเป็นศัตรูพระรัตนตรัยโดยไม่รู้ตัว การจะรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด ต้องเทียบเคียงกับพระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ตามมหาเปทส ๔ ว่ามีในคำสอนไหม ถ้าภิกษุรูปใดกล่าว แต่เทียบเคียงแล้ว ไม่มีในพระสูตรใด และ อธิบายผิด นั่นคือ ไม่ใช่คำสอนพระพุทธเจ้า ผู้ใดกล่าวถูกในพระธรรม ตามคำพระพุทธเจ้า ย่อมชื่อว่ากำลังดำรงพระพุทธศาสนา ทำคำของอัญญเดียรถีย์นอกศาสนาให้สิ้นไป และให้หมู่ชนที่ยังปฏิบัติผิด ยึดถือผิดได้กลับมามีความเข้าใจถูกครับ

  • @1-ci3ir
    @1-ci3ir 7 หลายเดือนก่อน

    อนุญาติขอสอบถามหน่อยครับว่าถ้าต้องการอ่านคำสอนของพระพุทธเจ้าโดยตรง โดยไม่มีคำปรุงแต่งเพิ่มต้องอ่านจากเล่มไหนครับ พอดีผมอยากฟังได้ด้วยและอ่านพิจารณาไปด้วยเพื่อให้เข้าใจมากขึ้นครับ ขอบคุณครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      อกุศลฌาน [โคปกโมคคัลลานสูตร]
      พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม ๓ ภาค ๑ - หน้าที่ 162
      ข้าแต่ท่านพระอานนท์ ข้าพเจ้าขอเล่าถวาย สมัยหนึ่งท่านพระโคดมพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่กูฏาคารศาลา ในป่ามหาวัน กรุงเวสาลี ครั้งนั้นแล ข้าพเจ้าเข้าไปเฝ้าท่านพระโคดมพระองค์นั้นยังที่ประทับ ณ กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน ณ ที่นั้น พระองค์ได้ตรัสฌานกถาโดยอเนกปริยาย พระองค์ทั้งเป็นผู้เพ่งฌานและเป็นผู้มีฌานเป็นปกติ และก็ทรงสรรเสริญฌานทั้งปวง.
      [๑๑๗] อา. ดูก่อนพราหมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงสรรเสริญฌานทั้งปวงก็มิใช่ ไม่ทรงสรรเสริญฌานทั้งปวงก็มิใช่ พระองค์ไม่ทรงสรรเสริญฌานเช่นไร ดูก่อนพราหมณ์ ภิกษุบางรูปในธรรมวินัยนี้ มีใจรัญจวนด้วยกามราคะ ถูกกามราคะครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดกามราคะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะกามราคะ ทำกามราคะไว้ในภายใน มีใจปั่นป่วนด้วยพยาบาท ถูกพยาบาทครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดพยาบาทอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะพยาบาท ทำพยาบาทไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยถีนมิทธะ ถูกถีนมิทธะครอบงำอยู่และไม่รู้จักสลัดถีนมิทธะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะถีนมิทธะ ทำถีนมิทธะไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดอุทธัจจกุกกุจจะอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะอุทธัจจกุกกุจจะ ทำอุทธัจจกุกกุจจะไว้ในภายใน มีใจกลัดกลุ้มด้วยวิจิกิจฉา ถูกวิจิกิจฉาครอบงำอยู่ และไม่รู้จักสลัดวิจิกิจฉาอันเกิดขึ้นแล้ว ตามความเป็นจริง เธอย่อมเพ่งเล็ง จดจ่อ ปักใจ มุ่งหมายเฉพาะวิจิกิจฉา ทำวิจิกิจฉาไว้ในภายใน ดูก่อนพราหมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นไม่ทรงสรรเสริญฌานเช่นนี้แล ดูก่อนพราหมณ์ ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงสรรเสริญฌานเช่นไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เข้าทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งใจภายใน มีความเป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะสงบวิตกและวิจาร ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ เป็นผู้วางเฉยเพราะหน่ายปีติ มีสติสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนามกาย เข้าตติยฌานที่พระอริยะเรียกเธอได้ว่า ผู้วางเฉย มีสติอยู่เป็นสุขอยู่ เข้าจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่ ดูก่อนพราหมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นทรงสรรเสริญฌานเช่นนี้แล.
      [๑๑๘] ว. ข้าแต่ท่านพระอานนท์ เป็นอันว่า ท่านพระโคดมพระองค์นั้น ทรงติเตียนฌานที่ควรติเตียน ทรงสรรเสริญฌานที่ควรสรรเสริญ เอาละ ข้าพเจ้ามีกิจมาก มีกรณียะมาก จะขอลาไปในบัดนี้.
      อา. ดูก่อนพราหมณ์ ขอท่านโปรดสำคัญกาลอันควรในบัดนี้เถิด ต่อนั้น วัสสการพราหมณ์มหาอำมาตย์แห่งมคธรัฐ ชื่นชมยินดีภาษิตของท่านพระอานนท์แล้ว ลุกจากอาสนะหลีกไป.

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 6 หลายเดือนก่อน +1

      @@pongpalanun อะไรคือพุทธพจน์ ตรวจสอบด้วยความเข้าใจพระธรรม คือสัมมาทิฏฐินั่นเอง ไม่ใช่ยึดเอาประวัติศาสตร์บ้าง ความเห็นอาจารย์บ้าง พอศึกษาก็ตรึกคิดไปในความไม่เข้าใจ เพราะปักไปแล้วว่านี่ใช่นั่นไม่ใช่ แท้จริงสิ่งที่ผ่านเข้ามาทางตาทางหู ก็เกิดตามเหตุปัจจัยตามการสะสมทั้งนั้น จะได้อ่านได้ยินอะไร ไม่ควรไปยึดเอาด้วยความตรึกคิด อะไรถูก อะไรผิด เป็นเรื่องของปัญญาที่ผุดเกิดขึ้น เข้าใจความจริงที่เกิดปรากฏนั้นเอง

  • @m239channel6
    @m239channel6 6 หลายเดือนก่อน +3

    ให้นึกถึงอะไรถึงจะมีสมาธิละค่ะ แล้วหลวงตาหลวงปุ่ได้บอกว่าผิดได้อย่างไร.. ไม่เข้าใจอาจารย์​พุดนะ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      การตัดสินถูกผิดไม่ใช่เพราะคำหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ แต่ต้องตัดสินตามคำพระพุทธเจ้า ปัญหาของชาวพุทธ คือ ไม่ศึกษาพระธรรม ไม่เทียบเคียง ไม่พิจารณาว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร แต่จะไปเชื่อว่าหลวงพ่อ หลวงปู่พูดว่ายังไง ก็นับถือภิกษุมากกว่าพระพุทธเจ้า
      พระพุทธเจ้าให้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ และให้เทียบเคียงกับพระธรรมไม่ว่าใครพูด(มหาปเทส ๔) ก็ให้เทียบเคียงกับพระธรรมก็จะรู้ว่าถูกหรือผิด คำว่า พุทโธ บริกรรมพุทโธ ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า ภิกษุที่เข้าใจผิด จึงแต่งใหม่ และอธิบายผิด และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ยูทูป เป็นระบบสำหรับฟังไม่ใช่เฉพาะแค่แสดงความคิดเห็นโดยไม่ฟัง แต่ปัญหาคือ ผู้แสดงความคิดเห็น ไม่ฟัง แสดงความคิดเห็นเลย นั่นก็คือไม่เปิดใจที่จะรับฟังคำอธิบาย ก็ไม่ได้ประโยชน์ ดังนั้น การจะได้ปัญญานั้น ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธทันที แต่ต้องฟังในคำอธิบายในคลิปเรื่องนี้ก่อน ว่าอธิบายตามคำรพะพุทะเจ้าอย่างไร จะเป็นชาวพุทธ ได้ปัญญาก็คือฟังก่อนครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +1

      เข้าใจคำว่า สมาธิใหม่เพราะยังเข้าใจผิดในคำนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @oamasoka6288
    @oamasoka6288 7 หลายเดือนก่อน +13

    กราบสาธุและน้อมรับสัมมาทิฐิครับ❤

  • @bimnik549
    @bimnik549 5 หลายเดือนก่อน +2

    สอนดีคะ

  • @user-wy7yj7dg3r
    @user-wy7yj7dg3r 7 หลายเดือนก่อน +13

    ยินดีในกุศลทุกประการ
    กราบอนุโมทนาสาธุครับ

  • @user-zp6js7fn9w
    @user-zp6js7fn9w 6 หลายเดือนก่อน +4

    ครูบาอาจารย์สอนให้พุทโธ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +3

      พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนแบบนั้นจะเชื่อใครครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +3

      การตัดสินถูกผิดไม่ใช่เพราะคำหลวงปู่ หลวงตา หลวงพ่อ แต่ต้องตัดสินตามคำพระพุทธเจ้า ปัญหาของชาวพุทธ คือ ไม่ศึกษาพระธรรม ไม่เทียบเคียง ไม่พิจารณาว่า พระพุทธเจ้าตรัสว่าอย่างไร แต่จะไปเชื่อว่าหลวงพ่อ หลวงปู่พูดว่ายังไง ก็นับถือภิกษุมากกว่าพระพุทธเจ้า
      พระพุทธเจ้าให้มีพระธรรมเป็นศาสดาแทนพระองค์ และให้เทียบเคียงกับพระธรรมไม่ว่าใครพูด(มหาปเทส ๔) ก็ให้เทียบเคียงกับพระธรรมก็จะรู้ว่าถูกหรือผิด คำว่า พุทโธ บริกรรมพุทโธ ไม่มีในคำสอนของพระพุทธเจ้า ภิกษุที่เข้าใจผิด จึงแต่งใหม่ และอธิบายผิด และที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ยูทูป เป็นระบบสำหรับฟังไม่ใช่เฉพาะแค่แสดงความคิดเห็นโดยไม่ฟัง แต่ปัญหาคือ ผู้แสดงความคิดเห็น ไม่ฟัง แสดงความคิดเห็นเลย นั่นก็คือไม่เปิดใจที่จะรับฟังคำอธิบาย ก็ไม่ได้ประโยชน์ ดังนั้น การจะได้ปัญญานั้น ไม่ใช่ยอมรับหรือปฏิเสธทันที แต่ต้องฟังในคำอธิบายในคลิปเรื่องนี้ก่อน ว่าอธิบายตามคำรพะพุทะเจ้าอย่างไร จะเป็นชาวพุทธ ได้ปัญญาก็คือฟังก่อนครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +3

      พุทโธไม่ใช่อุบายให้สงบเพราะเริ่มต้นผิดด้วยความไม่รู้ เพราะเข้าใจคำว่สงบผิดและสมาธิไม่ใช่ความสงบ
      กุศโลบาย ต้องเป็นสิ่งที่เป็นกุศล เป็นปัญญา เป็นสิ่งที่ถูกตั้งแต่ต้น ถ้าผิดจะทำให้ถูกได้อย่างไรเพราะเริ่มต้นผิด เข้าใจ พุทธนุสสติผิด เข้าใจ สงบผิด เข้าใจสมาธิผิด การเข้าใจผิดเริ่มต้นผิดเรียกว่า อกุศลโลบาย นำไปที่เพิ่มความไม่รู้ นิ่งไม่รู้อะไร เป็นต้น สมถภาวนาจึงเป็นเรื่องเห็นโทษของกิเลส และมีปัญญา ไม่ใช่เริ่มจากกิเลส อยากสงบ นั่นไม่ใช่การเจริญสมถภาวนาครับ
      การนิ่งอยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใดเป็นลักษณะของสมาธิ ไม่ใช่ลักษณะของสมถะ ที่เป็นความสงบ ครับ สงบในที่นี้มุ่งหมายถึง สงบจากกิเลส คือ โลภะ โทสะและโมหะ ขณะที่พยายามประคอง จดจ้องในคำว่าพุทโธ มีความต้องการอย่างละเอียด ที่จะประคองไม่ให้คิดเรื่องอื่น อยู่ที่ลมหายใจ นิ่ง ไม่คิดเรื่องอื่น แต่มีความต้องการเป็นโลภะ ไม่สงบแล้วครับ แต่ไม่รู้ตัว ขณะนั้นที่ทำ ไม่รู้อะไร เป็นโมหะ คือความไม่รู้ ครับ ก็ไม่สงบ ดังนั้นเราจะต้องศึกษาธรรมทีละคำให้เข้าใจครับ ในคำว่า สงบ สมาธิ คืออะไรตามคำพระพุทธเจ้าครับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      ปรามาส ลบหลู่พระอริสงฆ์ ?
      ต้องเข้าใจก่อนครับว่า การเข้าใจผิด ไม่พิจารณาคำพระพุทธเจ้า และยึดเอาพระสอนผิด ไม่เทียบเคียงคำของพระองค์ นั่นคือ การปรามาสพระพุทธเจ้า ปรามาสพระธรรมและปรามาสพระอริยสงฆ์ มีท่านพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ และท่านพระอานนท์ เป็นต้น เพราะ พระพุทธเจ้าไม่ได้แสดงให้ท่องพุทโธ ระลึกพุทโธ รวมทั้งพระอริยสงฆ์ทั้หลายที่แท้จริง ท่านก็ไม่ปฏิบัติเช่นนั้น ดังนั้นเมื่อผู้ใดสอนผิดจากคำสอน ก็คือกำลังเป็นศัตรูพระรัตนตรัยโดยไม่รู้ตัว การจะรู้ว่าอะไรถูกอะไรผิด ต้องเทียบเคียงกับพระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว ตามมหาเปทส ๔ ว่ามีในคำสอนไหม ถ้าภิกษุรูปใดกล่าว แต่เทียบเคียงแล้ว ไม่มีในพระสูตรใด และ อธิบายผิด นั่นคือ ไม่ใช่คำสอนพระพุทธเจ้า ผู้ใดกล่าวถูกในพระธรรม ตามคำพระพุทธเจ้า ย่อมชื่อว่ากำลังดำรงพระพุทธศาสนา ทำคำของอัญญเดียรถีย์นอกศาสนาให้สิ้นไป และให้หมู่ชนที่ยังปฏิบัติผิด ยึดถือผิดได้กลับมามีความเข้าใจถูกครับ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 4 หลายเดือนก่อน +1

      @@papasu51 ทำผิด อ้างว่าเขาอ้างคำสอน เขาก็สอนตามพระไตรปิฎก คนที่ว่าเขา อ้างอะไร อ้างสิ่งที่ขัดกับพระธรรมคำสอน หาความสอดคล้องไม่ได้ แต่แอบอ้างว่าตรงกับที่ทรงสอน ยกพระไตรปิฎกอรรถกถาใดมาก็ไม่ ก็ทำไม่ได้ เพราะไม่ได้ศึกษา

  • @ryancuoper577
    @ryancuoper577 3 หลายเดือนก่อน +2

    อันนี้พูดถูกสมกับเป็นชาวพุทธและเป็นอุบาสกที่แท้จริง

  • @user-dn1cl6dy3d
    @user-dn1cl6dy3d 3 หลายเดือนก่อน

    สัมมาอรหังผิดไหมค่ะอาจารย์สาธุค่ะ

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +2

      ท่องไปด้วยความไม่รู้และอยากได้สิ่งดี คือกิเลส ผิดครับ ควรฟังพระธรรมให้เกิดปัญญาครับ

  • @sriaonmoudchiangka5355
    @sriaonmoudchiangka5355 6 หลายเดือนก่อน +2

    🙏🙏🙏

  • @Prach98
    @Prach98 4 หลายเดือนก่อน +1

    ขอดูหลักฐานในพระไตรปิฎกหน่อยครับ จะได้ไม่ปฏิบัติผิด ท่านพุทธทาส บรรยายอานาปานสติถูกต้องมั้ยครับ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +1

      ข้อที่ ๑ เข้าใจสมาธิผิดว่า ถ้าเป็นสมาธิแล้วดีหมด(จดจ่อที่ลม)ทรงแสดงมิจฉาสมาธิด้วย #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร
      ข้อที่ ๒ ลืมเรื่องปัญญา : จดจ่อลมนิ่ง ไม่มีปัญญารู้อะไร(ไม่สงบจากโมหะ) สิ่งที่ควรรู้ยิ่ง #ทุติยปหานสูตร (พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องของปัญญา)
      ข้อที่ ๓ ลืมอนัตตา : ธรรมบังคับไม่ได้ สติเป็นธรรม เลือกอารมณ์ นั่นคือโลภะ(นันทิ)เลือก ไม่ใช่สติ
      ข้อที่ ๔ เอาจิตอยู่กับลม : คำแต่งใหม่ไม่มีในพระไตรปิฎก จึงเป็นสาวกภาษิตนอกคำสอน#อาณีสูตร

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +1

      สิ่งที่ทำไม่ใช่อานาปานสติ แต่อ้างเป็นอานาปานสติ จดจ่อลมไม่มีปัญญารู้อะไร ไม่ใช่อานาปานสติ คือโลภะนันทิที่จดจ้อง
      การนิ่งจดจ่อที่ลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น ไม่ใช่ความสงบ ลักษณะของสมาธิ เป็นมิจฉาสมาธิ
      ลักษณะที่จดจ่ออยู่ในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด กับลมหายใจ ไม่คิดเรื่องอื่น เป็ลักษณะสมาธิ แต่ไม่เคยรู้ว่า สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ ดังนั้น สัมมาสมาธิ คือ สมาธิที่เกิดพร้อมปัญญา ปัญญารู้ความจริง ถ้าจดจ่อ นิ่ง แต่ไม่รู้อะไร ไม่ใช่ สัมมาสมาธิ แต่เป็นมิจฉาสมาธิ การกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ ขออนุโมทนา อ้างอิง #ทุติยปหานสูตร #โคปกโมคคัลลานสูตร #มิจฉัตตสูตร

    • @opatanjansing5751
      @opatanjansing5751 4 หลายเดือนก่อน

      บาปเกิดง่ายจัง แค่ทำสมถะ ก็บาป

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 4 หลายเดือนก่อน +1

      ​@@opatanjansing5751 เพราะไม่ใช่สมถะ สมถะเป็นบุญคือความสงบจากโลภะโทสะโมหะ ไม่ใช่ให้ทำขึ้นมาด้วยความอยาก อยากได้บุญไม่ได้ทำให้เกิดบุญ แต่สิ่งที่จะเจริญสมถะได้จะต้องเป็นปัญญารู้ลักษณะของสมถะของความสงบ จึงเจริญความสงบนั้นให้ยิ่งขึ้นได้

  • @user-kd4np1uh2g
    @user-kd4np1uh2g 4 หลายเดือนก่อน +1

    สาธุ สาธุ สาธุ / พุทธบริษัทสี่ ประพฤติปฎิบัติผิดจาก พระธรรมวินัย ของ "ตถาคต" ทรงตรัสสอนหลายประการ และมิได้ "อานิสงส์" ใดๆ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +2

      จึงเป็นอันตรายที่ยกพุทธวจนแต่อธิบายผิด นั่นไม่ใช่คำพระพุทธเจ้าและไม่ใช่คำตถาคต ครับ

  • @nawongtip2566
    @nawongtip2566 7 หลายเดือนก่อน +7

    ปัญญาไม่ได้เกิดจากความคิดแต่เกิดจากการปฏิบัติ

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 7 หลายเดือนก่อน +2

      ปัญญา ไม่ได้เกิดจากการคิด แต่เกิดจากการรู้เข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นด้วยดี ถ้าไม่เข้าใจก็ปฏิบัติผิด ปัญญาก็ไม่เจริญขึ้นมาจากการปฏิบัติผิดได้ กลายเป็นความตั้งมั่นในความเสื่อม ผู้ประมาท ไม่รู้จักปัญญา ไม่รู้จักปฏิบัติ เพราะไม่รู้ว่าอะไรคือความเข้าใจในปริยัติ หลงว่าเข้าใจปริยัติ ด้วยความประมาทว่าง่าย ว่าไม่ใช่ปัญญา ว่าเป็นเพียงการท่องจำตำรา ก็หลงไปในทางเสื่อม

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      ปฏิบัติธรรมคืออะไร
      คำว่า ปฏิบัติ ที่ใช้กันในภาษาไทย กับปฏิบัติในภาษาบาลี ความหมายไม่ตรงกัน กล่าวคือ โดยมากจะเข้าใจว่าเป็นการไปทำ แต่ความจริงแล้ว ไม่ใช่การไปทำ เพราะเหตุว่า ปฏิบัติธรรมไม่ใช่การไปทำปฏิบัติ ไม่ใช่การไปทำอะไรที่ผิดปกติขึ้นมา แต่ธรรมเกิดขึ้นทำกิจหน้าที่ของธรรม นั่นก็คือ สติ และ สัมปชัญญะ (ปัญญา) เกิดขึ้นระลึกรู้ ตรงลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ตามความเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยการฟัง การศึกษาพระธรรม สะสมความเข้าใจในเรื่องของสภาพธรรมไปตามลำดับ เพราะเหตุว่า ถ้าไม่มีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้ว การปฏิบัติถูกต้องย่อมมีไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฉะนั้นความเข้าใจถูก เห็นถูก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ปฏิบัติธรรม คือ การถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ขณะใดที่สภาพธรรมปรากฏให้รู้ สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรม ขณะนั้นก็ถึงเฉพาะที่ลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา จึงเป็นความหมายที่ถูกต้องของการปฏิบัติธรรม คือการถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา เพราะสติและปัญญาที่เกิดรู้ตามความเป็นจริง ซึ่งการจะถึงการบรรลุธรรม ก็ต้องเริ่มจากการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรม อบรมปัญญาอย่างยาวนานครับ ขออนุโมทนา

    • @nawongtip2566
      @nawongtip2566 7 หลายเดือนก่อน +1

      การมีสติทุกอิริยาบถ​ถือเป็นการปฏิบัติมั้ย​ การรู้ปริยัติ​เพียงเท่านี้เพียงพอสำหรับการเดินมรรคมั้ย

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 7 หลายเดือนก่อน +1

      @@nawongtip2566 อะไรที่รู้จักสติ "เรา" หรือ "อะไร" ที่รู้ชัดว่าสติคืออย่างไร

    • @nawongtip2566
      @nawongtip2566 7 หลายเดือนก่อน

      หยิกเนื้อเจ็บมั้ยตอนที่รู้ว่าเจ็บนั่นแหล่ะคือสติ​ ส่วนอะไรรู้ถ้าจะตอบแบบจำมาคือสิ่งๆหนึ่งที่เรียกว่าสัตว์...

  • @supapornpengthanang9140
    @supapornpengthanang9140 3 หลายเดือนก่อน +2

    น้อมกราบสาธุ

  • @annboy7762
    @annboy7762 7 หลายเดือนก่อน

    การส่องพระก็เป็นการทำสมาธิใช่เปล่าครับ.อ.ผมมีความต้องส่องพระแล้วมีความสุข.จดจ้องดูเนือพระ.ให้รู้ว่าเป็นพระแท้หรือไม่แท้.

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +1

      ครับ เข้าใจสมาธิ ดังนี้ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

  • @panyanamo
    @panyanamo 7 หลายเดือนก่อน +11

    ขออนุโมทนาสาธุครับ
    ผมเชื่อว่าทุกวันนี้คนที่ทำต้องการบุญมากกว่านิพพานครับ

  • @potchanattamsaisud2211
    @potchanattamsaisud2211 5 หลายเดือนก่อน +4

    ผมงงครับ ถ้านั่งสมาธิเเล้วไม่ภาวนา เเล้วจะให้ทำยังไงครับ ผมพยายามฟังท่านเเต่ยังไม่เห็นว่าวิทีของท่านทำอย่างไร ช่วยบอกผมที่ครับ ผมดูหลายคลิปละ ยังไม่เห็นท่านอธิบายว่าวิธีของทำอย่างไร นั่งสมาธิไม่ภาวนาเเล้วจะให้ทำอย่างไร

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      ได้อธิบายไว้ในนาทีนี้ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้าครับ 12:58 เหตุเกิดปัญญาและการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา

    • @paderm
      @paderm  5 หลายเดือนก่อน +2

      และเข้าใจ สมาธิ ภาวนา ใหม่ครับ เราเข้าใจผิด
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @sabbe.dhamma.anatta
      @sabbe.dhamma.anatta 5 หลายเดือนก่อน +1

      ปัญญาเกิดขึ้นเข้าใจ ปัญญาจะรู้วิธี ไม่ใช่ให้ใครบอกวิธีแล้วเชื่อ ทำตาม นั่นก็ไม่ใช่พระพุทธศาสนา ปัญญาที่เกิดขึ้นแม้ในเบื้องต้นนั้นยาก ไม่ใช่ของง่าย ฟังแล้วค่อย ๆ ไตร่ตรองให้เป็นปัญญาของตนเอง

    • @user-sd7vx3jw1e
      @user-sd7vx3jw1e 18 ชั่วโมงที่ผ่านมา

      แล้วให้ระลึกว่าอะไร..งง คือนั่งหายใจเฉยๆหรอค่ะ

    • @pichaiyutpichaisongkram508
      @pichaiyutpichaisongkram508 10 ชั่วโมงที่ผ่านมา

      ไม่ต้องท่องครับ ทำตามขั้นตอนของอานาปานะสติครับ พระพุทธเจ้าไม่เคยสอนให้ท่องในขณะทำสมาธิ เเต่ให้เป็นไปตามขั้นตอนของอานาปานสติ ​@@user-sd7vx3jw1e

  • @siamasai3031
    @siamasai3031 7 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับ ขอถามเรื่องการสวดมนต์ ครับมีบางท่านบอกว่าเป็นคำแต่งใหม่ไม่ใช่คำของพระพุทธเจ้า แต่ท่านให้สวด ปฏิจจสมุปบาท ไม่จำเป็นต้องสวดบทอื่นที่แต่งใหม่ขอคำแนะนำด้วยครับ ขอบคุณครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      อ้างสาธยาย
      เพราะอ่านคำ พุทธวจน แล้วแปลความหมายผิด จึงเข้าใจคำว่า สาธยายผิด นี่คือโทษของการไม่ฟังอรรถกถา อธิบาย แต่ก็เป็นการอธิบายคิดเองเข้าใจผิดในคำว่า สาธยาย ครับ
      สาธยายต้องเข้าใจว่าเป็นภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นของคนสมัยนั้นครับ ที่ฟังรู้เรื่อง และมาสาธยายเพื่อพิจารณาเกิดปัญญาเพราะเข้าใจถูกจึงสาธยาย แต่คนสมัยนี้ เอามาสาธยายท่องบ่นเป็นคำบาลี ฟังไม่รู้เรื่อง ไม่ต่างจากนกแก้วนกขุนทอง เพราะฉะนั้น การสาธยายเพื่อความเข้าใจถูก และผู้ที่กล่าวสาธยายมีความเข้าใจถูก ไม่ใช่ไม่รู้อะไร มาสาธยายบทสวดต่างๆท่องจำ นั่นไม่ใช่การสาธยายในพระพุทธศาสนา ครับ ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      อย่าหลงสวดปฏิจจสมุปบาทแต่ฟังให้เข้าใจคลิปนี้ คลิกฟังครับ
      th-cam.com/video/Y5AW016-R_I/w-d-xo.html

  • @user-od7od7cu8b
    @user-od7od7cu8b 23 วันที่ผ่านมา +2

    ผมเกิดมา28ปี​เข้าใจมาตลอดโดนปลูกฝังมาตลอดเข้าพุทออกโธ จนมาถึงวันนี้​ผมถึงได้เข้าใจ​ ผมก็ว่าอยู่ผมทำสมาธิเข้าพุทออกโธ​ พอทำไปได้สักพัก​ คิดในใจว่า​ ทำไม่มันเหนื่อยจังว่ะ​ พอผมมาเห็นคลิปนี้ล่ะครับนี้คือคำตอบที่ผมต้องการ​ อย่างที่ท่านพูดครับมัวแต่ไปนึกคำว่าเข้าพุทออกโธ​ ปัญญาไม่เกิดสักที​ ขอบพระคุณ​มาก​ครับ​🙏🙏🙏

  • @tailang9
    @tailang9 7 หลายเดือนก่อน +3

    การทำสมถ ที่ถูกต้อง ต้องทำอย่างไรครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      อธิบาย สมถะ กับ วิปัสสนาดังนี้ครับ
      โดยมากจะเข้าใจกันว่า การเจริญสติปัฏฐานจะต้องเจริญสมถภาวนาก่อน คือ อบรมให้ได้ฌานจึงจะเจริญสติปัฏฐานได้ ดังนั้นเรามาเข้าใจคำว่า สมถะที่ควบคู่กับการเจริญวิปัสสนา คืออย่างไรครับ
      สมถะ กับสมถกรรมฐาน (สมถภาวนา) ไม่เหมือนกันนะครับ ต้องเข้าใจตรงนี้ก่อน สมถะ หมายถึง สภาพธรรมที่สงบ สงบจากกิเลส ส่วนสมถภาวนา หมายถึง การอบรมเจริญความสงบจากกิเลส มีการเจริญพุทธานุสสติ เป็นต้น จะเห็นนะครับว่าต่างกัน สมถะ คือ สภาพธรรมที่สงบจากกิเลสขณะนั้น คำถามจึงมีว่าจำเป็นไหมจะต้องเจริญสมถภาวนาก่อนถึงจะเจริญวิปัสสนาได้ คำตอบคือไม่จำเป็น เพราะสมถภาวนาและวิปัสสนานั้นเป็นคนละส่วน แยกกันเลยครับ ผู้ที่อบรมสมถภาวนา เช่น เจริญฌาน แต่ไม่มีความเข้าใจในเรื่องการเจริญวิปัสสนา หรือหนทางการรู้ความจริงของสภาพธรรมที่มีจริงในขณะนี้ แม้จะได้ฌาน แต่ก็ไม่สามารถที่จะรู้ความจริงและไม่มีทางบรรลุธรรมได้เลย ครับ
      ดังเช่น พวกฤาษี ดาบส อาจารย์พระโพธิสัตว์ มี อาฬารดาบส อุททกดาบส ก็อบรมสมถภาวนา ได้ฌานแต่ไม่รู้หนทางการดับกิเลส ไม่เข้าใจการเจริญวิปัสสนา ก็ไม่บรรลุอะไรเลยครับ แต่ผู้ที่อบรมเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว แต่ไม่ได้อบรมสมถภาวนาได้บรรลุธรรมมีไหมครับ คำตอบ คือ มี มีมากด้วยครับ ดังเช่น นางวิสาขา ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ท่านบรรลุธรรมโดยการเจริญสมถภาวนาก่อนไหมครับ คำตอบคือไม่ แต่ท่านฟังพระธรรมจากพระพุทธเจ้า ปัญญาที่เคยสะสมการเจริญวิปัสสนา หรือการรู้ความจริงในสภาพธรรมในอดีตชาติ ก็เกิดขึ้นรู้ความจริงของสภาพธรรมในขณะนี้ว่าเป็นธรรมไมใช่เรา ทำให้เห็นถึงความไม่เที่ยงของสภาพธรรมและเป็นอนัตตาครับ ซึ่งการเจริญสมถภาวนาไม่สามารถรู้ความจริงเช่นนี้ได้เลย ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      ดังนั้น ประเด็นคือ ไม่จำเป็นจะต้องเจริญสมถภาวนาก่อนถึงจะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ครับ หากมีคำแย้งว่าต้องมีสมถะและวิปัสสนาควบคู่กันไปเป็นธรรมคู่กัน ตามที่ผมได้อธิบายแล้วว่าสมถะ กับ สมถภาวนา นั้นต่างกัน สมถะ หมายถึง สภาพธรรมที่สงบจากกิเลส ซึ่งพระพุทธเจ้าได้แสดงองค์ของสมถะและวิปัสสนาว่าเป็นอย่างไรบ้าง ดังนี้
      มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ นี่คือการเจริญมรรค อันเป็นหนทางดับกิเลสคือวิปัสสนานั่นเองครับ คำถามมีว่ามรรคมีองค์ ๘ มีสมถะหรือเปล่าครับ หรือมีแต่วิปัสสนาอย่างเดียว คำตอบคือมีทั้งองค์ธรรมของสมถะและมีวิปัสสนาด้วย พระพุทธเจ้าแสดงธรรมที่เป็นคู่กันในการอบรมปัญญา คือ สมถะและวิปัสสนา
      ดังนั้นในอริยมรรคมีองค์ ๘ ตามที่กล่าวมา มีทั้งสมถะและวิปัสสนาด้วย มีอย่างไร พระพุทธเจ้าแสดงว่า ฝ่ายของวิปัสสนา มี ๒ อย่างคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ นี่คือฝ่ายวิปัสสนา ส่วน ๖ ประการหลังคือ สัมมาวาจา ... สัมมาสมาธิ เป็นฝักฝ่ายของสมถะนั่นเอง ครับ
      แม้ขณะที่เจริญวิปัสสนา เจริญมรรคอย่างเดียว ไม่ได้เจริญสมถภาวนาก่อน หรือไม่ได้เจริญสมถภาวนาเลย ขณะที่เจริญวิปัสสนาอย่างเดียวก็มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเกิดพร้อมกันอยู่แล้วครับ ยกตัวอย่างเช่น ขณะที่สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรมที่มีจริงในขณะนี้ว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา ขณะนั้นมีสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เกิดพร้อมกัน ถามว่ามีสมถะไหมในขณะนั้น มีครับ คือ สัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ เป็นฝักผ่ายของสมถะ คือ สภาพธรรมที่สงบจากกิเลส และมีฝักผ่ายวิปัสสนาในขณะนั้นด้วยคือ สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ ครับ
      เรื่อง มรรคหรือสติปัฏฐาน เป็นทั้งสมถและวิปัสสนาแม้ไม่ได้อบรมสมถภาวนา
      [เล่มที่ 77] พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๑ - หน้าที่ 373
      ว่าด้วยมรรคเป็นทั้งวิชชาและจรณะเป็นต้น
      อนึ่ง โลกุตรมรรคใด พร้อมทั้งโลกิยมรรค ถึงซึ่งการนับว่าเป็นทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา (ปฏิปทาให้ถึงความดับทุกข์) มรรคนั้นแลเป็นทั้งวิชชาและจรณะ เพราะสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะทรงสงเคราะห์ไว้ด้วยวิชชา ธรรมที่เหลือสงเคราะห์ไว้ด้วยจรณะ.
      อนึ่ง มรรคนั้นเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนา เพราะความที่สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะทั้ง ๒ เหล่านั้น ทรงสงเคราะห์ไว้ด้วยวิปัสสนาญาณ. ธรรมนอกจากนี้ สงเคราะห์ไว้ด้วยสมถญาณ.
      อีกอย่างหนึ่ง มรรคนั้นเป็นทั้งขันธ์ ๓ และสิกขา ๓ เพราะความที่สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะทั้ง ๒ เหล่านั้น ทรงสงเคราะห์ด้วยปัญญาขันธ์ ธรรม ๓ ในลำดับต่อจากสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะนั้นสงเคราะห์ด้วยศีลขันธ์ ที่เหลือสงเคราะห์ด้วยสมาธิขันธ์ และธรรมเหล่านั้นแหละสงเคราะห์ด้วยอธิปัญญาสิกขา อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา.
      จะเห็นนะครับว่าขณะที่สติปัฏฐานเกิดที่เป็นการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเกิดพร้อมกันอยู่แล้ว ดังนั้นจะต้องเข้าใจใหม่ว่าจะต้องไปทำสมถภาวนาก่อนถึงจะเจริญวิปัสสนาภาวนาได้ อันนี้ไม่ใช่ครับ เพราะเราจะต้องเข้าใจคำพูดที่ว่าธรรมที่เป็นคู่กัน คือ สมถะและวิปัสสนา สมถะในที่นี้ไมได้มุ่งหมายถึงการเจริญฌานเท่านั้น สมถะในที่นี้ มุ่งหมายถึงสภาพธรรมที่สงบ เป็นฝักฝ่ายสมถะ ก็เกิดอยู่แล้วในขณะเจริญวิปัสสนา ฝักฝ่ายสมถะก็คือสัมมาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      ตามที่กล่าวแล้ว สมถะ หมายถึง ความสงบจากกิเลสด้วย ดังนั้น ขณะที่สติปัฏฐานเกิด เจริญวิปัสสนา ขณะนั้นจิตก็สงบจากกิเลสด้วยในขณะนั้น จึงเป็นทั้งสมถะและวิปัสสนาในขณะที่สติปัฏฐานเกิด ครับ
      ดังนั้น การเจริญสติปัฏฐาน เป็นเรื่องของสติและปัญญาเป็นสำคัญ ไม่ใช่เรื่องของสมาธิ ดังเช่น อริยมรรคมีองค์ ๘ สำคัญคือ เริ่มที่ สัมมาทิฏฐิ ก่อน คือ ปัญญา ความเห็นถูก หากมีสมาธิดีแต่ไม่ไ่ด้เข้าใจการเจริญวิปัสสนา ไม่มีปัญญาที่เป็นการเจริญวิปัสสนา ก็ไม่สามารถที่จะเจริญวิปัสสนาได้เลย ดังนั้นการเจริญวิปัสสนาที่ดีได้ ไม่ใช่อยู่ที่สมาธิ แต่อยู่ที่ปัญญาครับ และผู้ที่ไม่ไ่ด้เจริญสมถภาวนา หรือ ไม่ได้ฌาน แต่เจริญวิปัสสนาอย่างเดียว และได้บรรลุธรรมมีมากมายนับไม่ถ้วน ซึ่งขณะที่เจริญวิปัสสนานั้น จะเป็นสมาธิที่ตั้งมั่นได้ฌานไม่ได้ ต้องเป็นขณิกสมาธิเสมอ คือ สมาธิชั่วขณะ ครับ ดังนั้นปัญญา จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ไม่ใช่สมาธิ ครับ

  • @bandittw69
    @bandittw69 7 หลายเดือนก่อน +4

    ขอบคุณที่ชี้ทาง

  • @user-cw2fk7oc4x
    @user-cw2fk7oc4x 3 หลายเดือนก่อน +1

    แล้วทำอย่างไรให้ถูกครับ

    • @paderm
      @paderm  3 หลายเดือนก่อน +1

      อธิบายไว้แล้วในคลิปนี้ครับ คลิกที่ตัวเลขสีฟ้า จะไปที่เนื้อหาที่อธิบายครับ 12:58 เหตุเกิดปัญญาและการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา

  • @user-iz9kn7mw4v
    @user-iz9kn7mw4v 2 หลายเดือนก่อน +2

    สาธุครับ

  • @boonyaphone204
    @boonyaphone204 7 หลายเดือนก่อน +3

    ปัญญารู้ความจริงเป็นแบบใหนครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      หนทางที่ถูกต้องคืออย่างไร
      การฟังพระธรรมให้เข้าใจ เริ่มตั้งแต่ธรรมคือะไร ปัญญาจะทำหน้าที่ปฏิบัติเอง ไม่มีเรา ครับ
      ทุติยสาริปุตตสูตร
      ว่าด้วยองค์ธรรมเครื่องบรรลุโสดา
      [๑๔๒๗] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่านพระสารีบุตรว่า ดูก่อนสารีบุตร ที่เรียกว่า โสตาปัตติยังคะ (๑) ๆ ดังนี้ โสตาปัตติยังคะเป็นไฉน.
      [๑๔๒๘] ท่านพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ การคบสัตบุรุษ ๑ สัทธรรมสวนะ ฟังคำสั่งสอนของท่าน ๑ โยนิโสมนสิการ กระทำไว้ในใจโดยอุบายที่ชอบ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ๑.
      [๑๔๒๙] พ. ถูกละๆ สารีบุตร โสตาปัตติยังคะ คือ สัปปุริสสังเสวะ ๑ สัทธรรมสวนะ ๑ โยนิโสมนสิการ ๑ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ๑.
      การบอกคำพระพุทธเจ้า แล้วอธิบายถูก ตรงตามธรรม โดยมีความเข้าใจถูกเป็นพื้นฐานที่ถูกต้อง คือ ธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ เกิดจากเหตุปัจจัย ไม่ใช่เรา แต่ถ้าไม่เข้าใจตรงนี้ ยกพุทธวจนมา แล้วก็บอกว่าเห็นไหม พระพุทธเจ้าบอกให้ทำ ใครทำ ไม่มีความเข้าใจตั้งแต่ต้น ธรรมคืออะไร ขณะนี้มีธรรไหม ก็ทำผิด ลืมว่าธรรมทำหน้าที่ ไม่ใช่เราทำ ดังนั้นก็มีบุคคลทั้งสองแบบ คือ กล่าวคำพระพุทธเจ้า อธิบายถูก และ กล่าวคำพระพุทธเจ้าแล้วอธิบายผิด ก็เป็นไปตามปัจจัย ตามธรรม ตามการสะสม ไม่มีเรา มีแต่ความเห็นถูกและความเห็นผิด ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      ึปฏิบัติธรรมคืออะไร
      คำว่า ปฏิบัติ ที่ใช้กันในภาษาไทย กับปฏิบัติในภาษาบาลี ความหมายไม่ตรงกัน กล่าวคือ โดยมากจะเข้าใจว่าเป็นการไปทำ แต่ความจริงแล้ว ไม่ใช่การไปทำ เพราะเหตุว่า ปฏิบัติธรรมไม่ใช่การไปทำปฏิบัติ ไม่ใช่การไปทำอะไรที่ผิดปกติขึ้นมา แต่ธรรมเกิดขึ้นทำกิจหน้าที่ของธรรม นั่นก็คือ สติ และ สัมปชัญญะ (ปัญญา) เกิดขึ้นระลึกรู้ ตรงลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ตามความเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยการฟัง การศึกษาพระธรรม สะสมความเข้าใจในเรื่องของสภาพธรรมไปตามลำดับ เพราะเหตุว่า ถ้าไม่มีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้ว การปฏิบัติถูกต้องย่อมมีไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฉะนั้นความเข้าใจถูก เห็นถูก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ปฏิบัติธรรม คือ การถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ขณะใดที่สภาพธรรมปรากฏให้รู้ สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรม ขณะนั้นก็ถึงเฉพาะที่ลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา จึงเป็นความหมายที่ถูกต้องของการปฏิบัติธรรม คือการถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา เพราะสติและปัญญาที่เกิดรู้ตามความเป็นจริง ซึ่งการจะถึงการบรรลุธรรม ก็ต้องเริ่มจากการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรม อบรมปัญญาอย่างยาวนานครับ ขออนุโมทนา

  • @user-bq5qp4hj8e
    @user-bq5qp4hj8e 7 หลายเดือนก่อน +6

    สาธุครับเจอแล้วครับ ความจริงครับ

  • @zetsu7679
    @zetsu7679 7 หลายเดือนก่อน +2

    สวัสดีครับ ตัวกระผมเองมีความสงสัยสืบเนื่องจากที่อาจารย์กล่าวถึงพระพาหิยะครับ ผมเองที่อ่านพุทธประวัติจากบทเรียนสมัยประถม มัธยม จะมีเรื่องเล่าแจ้งเหตุผลของการได้เป็นพระผู้เลิศในด้านต่างๆ นั่นเป็นเพราะอดีตชาติเคยตั้งความปรารถนากับพระพุทธ​เจ้าพระองค์ก่อน เลยอยากถามอาจารย์ว่า ถ้าพวกท่านเหล่านั้นมีปัญญามากจริงๆ ก็ควรที่จะบรรลุได้ตั้งเเต่เจอพระพุทธเจ้า​ในสมัยนั้นเเล้วใช่มั้ยครับ แล้วที่ตั้งความปารถนานั่นเป็นโลภะหรือเปล่า แต่ถึงกระนั้นสุดท้ายก็ยังสามารถเข้าใจความจริงได้ถึงเเม้เวลาจะผ่านมาเนิ่นนาน นั่นแสดงว่าถึงแม้ว่าตัวกระผมที่อาจจะยังมีโลภะอยู่ แต่ก็มีความปารถนาที่จะได้เข้าใจสัจจธรรม​จริงๆ ก็อาจจะเป็นไปได้ ถึงจะไม่ใช่ในสมัยพระพุทธเจ้า​พระองค์นี้ แต่ก็อาจจะในสมัยของพระพุทธเจ้า​พระองค์​ใดพระองค์​หนึ่ง ซึ่งตอนนั้นผมเองก็คงไม่ทราบว่าผ่านมาจากจุดนนี้นานเท่าไหร่ ใช่มั้ยครับ สุดท้ายนี้ผมต้องกังวลอะไรมั้ยครัย

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +9

      การตั้งความปรารถนาของภิกษุผู้เลิศด้านต่างๆในอดีตกาล เป็นต้น ท่านมีจิตเป็นกุศล มีฉันทะที่เกิดพร้อมกุศลและปัญญาที่เห็นโทษของการเกิดและมีฉันทะที่ดับกิเลสจึงปรารถนาด้วยฉันทะและอธิษฐานความตั้งใจมั่นที่เป็นไปเพื่อละกิเลสและถึงการดับกิเลสด้วยความมีฉันทะในด้านนั้นๆและท่านอบรมเหตุที่ถูกต้องด้วย ด้วยการถวายทานกับพระภิกษุ พระพุทธเจ้า อันเป็นการเจริญเหตุที่ถูกต้องอันสมควรแก่ผล ครับ ขออนุโมนา

    • @zetsu7679
      @zetsu7679 7 หลายเดือนก่อน +5

      ขอบพระคุณ​อาจารย์ครับ

  • @pojtadechsukcharoensit2009
    @pojtadechsukcharoensit2009 7 หลายเดือนก่อน +3

    อยากนิปพาน ก็เป็นกิเลสซิครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +2

      แน่นอนครับ อยากนิพพาน ไม่ได้รู้อะไร ปฏิบัติทางผิด จึงเป็นโลภะติดข้อง ครับ

    • @pojtadechsukcharoensit2009
      @pojtadechsukcharoensit2009 7 หลายเดือนก่อน +3

      ผมเชื่อหลวงปู่มั่นมากกว่า

  • @pjpjapanesefoodpjpjapanese81
    @pjpjapanesefoodpjpjapanese81 7 หลายเดือนก่อน +4

    อนุโมทนาสาธุ สาธุ สาธุค่ะ🙏🙏🙏

  • @user-ju4ct5kn2g
    @user-ju4ct5kn2g 6 หลายเดือนก่อน +2

    แล้ วเวลานั่งสมาธิต้องนึกถึงอะไรคับ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน +2

      ต้องเข้าใจสมาธิให้ถูกใหม่ครับ
      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @user-ju4ct5kn2g
      @user-ju4ct5kn2g 6 หลายเดือนก่อน +2

      @@paderm ขอบคุณคับ

  • @user-xq7ze9jl9o
    @user-xq7ze9jl9o 6 หลายเดือนก่อน +1

    สาย อริยะเท่านั้นใช่ไหมคะ

    • @paderm
      @paderm  6 หลายเดือนก่อน

      ไม่มีสายไหนครับ ตามคำพระพุทธเจ้าเป็นสำคัญ แนะนำฟังในคลิปนะครับ

  • @user-xv1xy6ti8e
    @user-xv1xy6ti8e 4 หลายเดือนก่อน +5

    ทำไมฟังอาจารย์ถึงเข้าใจง่ายมากครับ ผมศึกษาพุทธวจนมาก็ยังไม่มีปัญญาถึงจุดนี้เลย อาจารย์อธิบายได้เข้าใจมากคือมันง่ายมากๆ

  • @prasertsi-ondee1474
    @prasertsi-ondee1474 7 หลายเดือนก่อน +1

    การดูว่าเป็นสัมมาสติหรือไม่ จะดูอย่างไร วัดอย่างไร
    ปัจจุบันผมวัดด้วยการ ไม่ว่าจะระลึกรู้อะไร ก็จะมาดูที่จิตว่าโล่ง โปร่งสบายหรือไม่ ซึ่งอาการนี้ผมมองว่าจิตที่เป็นกลาง แล้วกลับมามองว่าการพิจารณาแบบนี้ว่าเป้นสัมมาสติ ครับ
    แต่ไม่รู้ว่าสิ่งที่ปฏิบัติถูกหรือไม่ครับ
    ขออนุญาตอาจารย์เมตตา อธิบายธรรมด้วยครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +3

      ความโปร่งโล่งสบายเป็นเวทนาความรู้สึก ซึ่งสามารถเกิดกับอกุศลก็ได้และกุศลก็ได้ ดังนั้นจึงไม่ใช่เครื่องวัดความถูกต้อง ดังนั้น สัมมาสมาธิ สำคัญคือ มีปัญญาเกิดรู้ความจริงพร้อมสมาธิ นี่คือ สิ่งที่สำคัญครับ ซึ่งเมื่อมีปัญญาจึงมีสติ และเป็นสัมมาสติในขณะนั้นครับ ดังนั้นขอปูพื้นฐานในคำว่า สมาธิ ปฏิบัติ ที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนาดังนี้ครับ

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +4

      สมาธิ เป็นความตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว ได้แก่ เอกัคคตาเจตสิก ซึ่งเป็นเจตสิกธรรมหนึ่งที่จะต้องเกิดร่วมกับจิตทุกขณะ ทุกประเภท ไม่มีเว้น ดังนั้น ทุกขณะมีสมาธิเกิดแน่นอน แต่ที่น่าพิจารณา คือ ถ้าเกิดกับอกุศลก็เป็นมิจฉาสมาธิ ในทางตรงกันข้าม ถ้าเกิดกับกุศลก็เป็นสัมมาสมาธิ เพราะเป็นความถูกต้อง ในขณะที่เป็นกุศล จะเป็นอกุศลไม่ได้
      สมาธิ เป็นสภาพธรรมที่มีจริง ว่าโดยสภาพธรรมแล้ว เป็นเจตสิกประการหนึ่งที่ตั้งมั่นในอารมณ์หนึ่งอารมณ์ใด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้ เมื่อจิตเกิดขึ้นต้องรู้อารมณ์ และก็จะต้องมีสมาธิซึ่งเป็นเอกัคคตาเจตสิกเกิดร่วมกับจิตทุกครั้งทุกขณะ ไม่เว้นเลย ตั้งมั่นในอารมณ์ที่จิตกำลังรู้ ดังนั้น ไม่ว่าจะนั่ง จะยืน จะนอน จะเดิน จึงไม่ปราศจากสมาธิเลย เพราะเกิดกับจิตทุกขณะ และที่ควรพิจารณา คือ สมาธิหรือเอกัคคตาเจตสิก เกิดกับอกุศลก็เป็นอกุศลสมาธิ
      อกุศลสมาธิ เช่น การนั่งสมาธิ ไม่ควรเจริญ ไม่ควรประกอบ ซึ่งขณะนั้นเป็นไปกับด้วยความต้องการ อยากจะสงบ โดยที่ไม่รู้เลยว่า ความสงบ เป็นเรื่องของกุศลธรรม อกุศลสมาธิไม่เป็นไปเพื่อความเจริญขึ้นของกุศลธรรม มีปัญญาเป็นต้น มีแต่จะเพิ่มพูนความไม่รู้และอกุศลธรรมอื่นๆ ต่อไป
      ในสมัยพุทธกาล อุบาสก อุบาสิกา ผู้เป็นเพศฆราวาส ไม่ได้ทำอะไรให้ชีวิตผิดปกติ เพราะท่านเข้าใจว่า ธรรม เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน การเจริญอบรมปัญญา ความสงบจึงไม่ต้องไปทำอะไรให้ผิดปกติโดยการนั่งสมาธิ แต่ท่านเข้าใจถูกและอบรมปัญญาในชีวิตประจำวัน และทำกิจการงานดังเช่นคฤหัสถ์ในปัจจุบันด้วย ดังเช่น ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ที่เป็นพ่อค้าและเป็นอริยสาวก และอบรมปัญญา เจริญกุศลในชีวิตประจำวัน มีการให้ทาน รักษาศีล อบรมปัญญา โดยไม่ได้ไปปลีกวิเวก หาที่นั่งสงบเลย เพราะความสงบ คือ จิตใจที่เป็นกุศลที่เกิดได้ในชีวิตประจำวัน เพราะจิตที่ดี สงบ ไม่ได้เลือก
      ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องสมาธิ ในสมัยพุทธกาลว่า สมาธิ มีสองอย่าง คือ สัมมาสมาธิ และ มิจฉาสมาธิ สมาธิใดที่เป็นความตั้งมั่น ที่ไม่ได้หมายถึง จะต้องไปนั่งสมาธิ แต่ขณะแม้เพียงขณะจิตเดียวก็มีสมาธิ แต่เป็นความตั้งมั่น ขณะจิตที่มีปัญญาเกิดร่วมด้วยที่รู้ความจริงที่เป็นวิปัสสนาภาวนา ขณะนั้นก็มีสมาธิด้วย และเป็นสัมมาสมาธิที่เป็นสมาธิที่ควรเจริญ
      ส่วนการกระทำที่ได้แต่ความนิ่ง ไม่ทำให้เกิดปัญญาความรู้ พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงว่าเป็น มิจฉาสมาธิ เป็นสมาธิที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง เพราะเกิดกับอกุศลจิต มี โลภะ และ โมหะ เป็นต้น คือ มีความต้องการที่จะทำ อยากที่จะสงบ อันเป็นความต้องการที่เป็นโลภะ และขณะที่นิ่งก็ไม่รู้อะไร ขณะนั้นก็มีโมหะเกิดร่วมด้วย พระพุทธเจ้าทรงติเตียนมิจฉาสมาธิว่าไม่ควรเจริญ ครับ
      ขออนุโมทนา

    • @paderm
      @paderm  7 หลายเดือนก่อน +5

      ปฏิบัติธรรมคืออะไร
      คำว่า ปฏิบัติ ที่ใช้กันในภาษาไทย กับปฏิบัติในภาษาบาลี ความหมายไม่ตรงกัน กล่าวคือ โดยมากจะเข้าใจว่าเป็นการไปทำ แต่ความจริงแล้ว ไม่ใช่การไปทำ เพราะเหตุว่า ปฏิบัติธรรมไม่ใช่การไปทำปฏิบัติ ไม่ใช่การไปทำอะไรที่ผิดปกติขึ้นมา แต่ธรรมเกิดขึ้นทำกิจหน้าที่ของธรรม นั่นก็คือ สติ และ สัมปชัญญะ (ปัญญา) เกิดขึ้นระลึกรู้ ตรงลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ตามความเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยการฟัง การศึกษาพระธรรม สะสมความเข้าใจในเรื่องของสภาพธรรมไปตามลำดับ เพราะเหตุว่า ถ้าไม่มีความเข้าใจที่ถูกต้องแล้ว การปฏิบัติถูกต้องย่อมมีไม่ได้อย่างแน่นอน เพราะฉะนั้นความเข้าใจถูก เห็นถูก จึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ปฏิบัติธรรม คือ การถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ขณะใดที่สภาพธรรมปรากฏให้รู้ สติเกิดระลึกลักษณะของสภาพธรรม ขณะนั้นก็ถึงเฉพาะที่ลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรม ไม่ใช่เรา จึงเป็นความหมายที่ถูกต้องของการปฏิบัติธรรม คือการถึงเฉพาะลักษณะของสภาพธรรมว่าเป็นธรรมไม่ใช่เรา เพราะสติและปัญญาที่เกิดรู้ตามความเป็นจริง ซึ่งการจะถึงการบรรลุธรรม ก็ต้องเริ่มจากการฟังพระธรรม ศึกษาพระธรรม อบรมปัญญาอย่างยาวนานครับ ขออนุโมทนา

  • @user-fv3nf1dp4e
    @user-fv3nf1dp4e 4 หลายเดือนก่อน +1

    ทำยังไงคับผู่รู้คับตอบด้วยคับ

    • @paderm
      @paderm  4 หลายเดือนก่อน +2

      อธิบายไว้แล้วในคลิปคลิกที่ตัวเลขสีฟ้าจะไปตรงที่อธิบายครับ 12:58 เหตุเกิดปัญญาและการปฏิบัติธรรมที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา