อนุภาคในนิวเคลียสยึดเกาะกันได้อย่างไร?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 8 เม.ย. 2023
  • อธิบายว่าอนุภาคในนิวเคลียสยึดเกาะกันได้อย่างไร ทั้งๆที่โปรตอนในนิวเคลียสมีประจุบวกน่าจะต้องผลักกันจนกระจัดกระจายไป แล้วทำไมนิวเคลียสของสสารในธรรมชาติจึงมีเสถียรภาพเกาะกันเป็นก้อนอยู่ได้
    ..................................
    สนใจหนังสือกำเนิดทฤษฎีควอนตัม
    ราคา 320 สั่งทาง line (มีคูปองลดราคา)
    สั่งได้ที่
    shop.line.me/@543yeebf/produc...
    .
    Lazada
    www.lazada.co.th/products/new...
    .
    shopee
    shopee.co.th/product/86566545...
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 109

  • @Particles-Wipe_Universe
    @Particles-Wipe_Universe ปีที่แล้ว +2

    ได้รับสาระความรู้มากมาย 🙏🙏🙏

  • @tanasanti9501
    @tanasanti9501 ปีที่แล้ว

    ฟังเพลินดีค่ะ

  • @kritmanapee9053
    @kritmanapee9053 ปีที่แล้ว

    ติดตามฟังครับ ได้ความรู้ดีมาก....ครับ

  • @user-bp8yn7xp5l
    @user-bp8yn7xp5l ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากจ้า...🥰🥰🥰

  • @sitthiphonuthairat5916
    @sitthiphonuthairat5916 ปีที่แล้ว

    สาระสำคัญมากครับ

  • @icepunn5455
    @icepunn5455 ปีที่แล้ว

    พึ่งซื้อหนังสือมาเลยครับ

  • @SoloBikeTrips
    @SoloBikeTrips ปีที่แล้ว

    ติดตามทั้งในช่องนี้และ TheStanderd ครับ

  • @aliztz
    @aliztz ปีที่แล้ว

    6 วัน 9.5 หมื่นวิว นายสุดยอดมากป๋องแป๋ง

  • @Sky_panuwit
    @Sky_panuwit ปีที่แล้ว

    อยากฟังเรื่องแทคิออนหน่อยครับ เป็นอนุภาคที่เร็วกว่าแสงและมีมวลเป็นจำนวนจินตภาพ

  • @cmd2667
    @cmd2667 ปีที่แล้ว +7

    อยากเข้าใจการทำงานของ Quantum computer และการนำไปใช้ประโยชน์แบบลงลึก และ เปรียบเทียบกับ Classical computer ครับ

  • @natawornkanuengpean982
    @natawornkanuengpean982 ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้ และ สนุกมากเลยครับ ผม กินข้าวได้ และนอนหลับ และ ผมไม่เข้าใจมานานตั้ง35 ปี

    • @notepatiphan3792
      @notepatiphan3792 ปีที่แล้ว +2

      ตลอด 35ปี ไม่ได้นอนเลยหรอครับ

    • @natawornkanuengpean982
      @natawornkanuengpean982 ปีที่แล้ว +3

      @@notepatiphan3792ใต้เท้า ข้าพเจ้าขอกราบเรียนตามตรง ความเครียด วิ่งวนอยู่รอบหัว เหมือนวิ่งวนอยู่รอบนิวเคลียส ขอ พารา+แอสไพริน ซัก 2เม็ดได้ไหม

    • @user-zd2dv8tp2t
      @user-zd2dv8tp2t ปีที่แล้ว +2

      😂😂😂

  • @jariyawadeteeragun8170
    @jariyawadeteeragun8170 ปีที่แล้ว +1

    อยากรู้ว่าใครเป็นคนที่เห็นหรือรู้ว่า หน้าตารูปร่าง โมเลกุล เป็นยังไง ใครเป็นคนเห็นและใช้เครื่องมือหรือการทดลองอะไรดูหรอคะ

  • @mmkung8125
    @mmkung8125 ปีที่แล้ว +9

    อยากฟังเรื่อง loop quantum gravity ละเอียดๆหน่อยครับ อาจารย์
    หาคนพูดเรื่องนี้ยากเหลือเกิน
    และเรื่องการสูญหายของข้อมูลในหลุมดำ แนวคิดการพัวพันของอนุภาคเสมือนที่ตกสู่หลุมดำ กับตัวที่หลุดออกมาภายนอกด้วยครับ เอนโทรปีกับพื้นที่ผิว ควอนตัมบิท ขอบคุณมากครับ

  • @matetoday
    @matetoday ปีที่แล้ว +4

    รอ interstellar ตอนที่ 5 ครับ 5555 ตามมาทวง

  • @manggano
    @manggano ปีที่แล้ว +1

    แปลกน่ะทั้งหมด สลับสับซ้อน ดันเกิดจากความบังเอิญ

  • @PRabbitz
    @PRabbitz ปีที่แล้ว

    อันนี้คล้ายๆกับ แรงคูลอมบ์ ไหมครับ เหมือนหรือต่างกันยังไงครับ

  • @tanasanti9501
    @tanasanti9501 ปีที่แล้ว +28

    ที่ไอสไตน์บอกว่า การแบ่งแยก อดีต ปัจจุบัน อนาคต เป็นเพียง ภาพลวงตา อยากให้ขยายความหน่อยค่ะ the distinction between past present and future is only a stubbernly persistant illusion.

    • @coldstew3934
      @coldstew3934 ปีที่แล้ว +5

      เพราะปัจจุบันไม่มีจริงครับเวลาแต่ละที่ไม่เท่ากันลองไปดูใน ใดใดในโลกล้วนฟิสิกส์ดูครับ

    • @Deathman13th
      @Deathman13th ปีที่แล้ว +7

      ลองยกตัวอย่างดู แสงจากดวงอาทิตย์ ใช้เวลาประมาณ 8 นาทีมาถึงโลก สมมุติดวงอาทิตย์ระเบิดหายไป กว่าเราจะรู้ก็ 8 นาที ถ้าเรามองตอนนาทีที่ 4 เราจะเห็นดวงอาทิตย์ในอดีต แต่เราคิดว่าเป็นปัจจุบัน การแบ่งแยกจึงเป็นแค่ภาพลวงตา แบบนี้มั้งครับ

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว +3

      มันเป็นความย้อนแย้งของไอสไตน์เอง และความย้อนแย้งแบบนี้มีเป็นเรื่องปกติในทางความคิดและจินตนาการของไอสไตน์อยู่แล้ว เพราะในทางหนึ่งไอสไตน์เองกลับประกาศเวลาเฉพาะ หรือความไม่เท่ากันของเวลา ถ้าเวลามีมากกว่าหนึ่ง มันก็คือการแยกกันออกมาเป็นของในแต่ละส่วนอยู่แล้ว แต่ถ้าไอสไตน์บอกว่าเวลาของทุกๆสิ่งเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งหมด นั่นคือคำพูดที่จะสอดรับสนับสนุนการไม่มีในส่วนของอดีต ปัจจุบัน อนาคต ดังนั้นหลักการทำงานทางความคิดของไอสไตน์ จึงมีทั้งดำและขาวเป็นไปในลักษณะขัดแย้งกันเองอยู่แล้วเป็นปกติในเชิงความคิดรูปทฤษฏีต่างๆ เพียงแต่ใครจะหยิบเอาแนวความคิดแบบไหนของเขามาเพื่อค้นคว้าหาความจริงเท่านั้น และส่วนใหญ่แนวคิดที่ถูกต้องนั้นก็คือที่ได้รับการพิสูจน์มาแล้วว่าถูกต้อง แต่ก็มีไม่น้อยที่พบว่าไม่ถูก

    • @megasawa
      @megasawa ปีที่แล้ว +1

      ผมมองว่าเราเป็นจริงในมุมมองของเรา แต่อีกมิติ อีกเลเวลเราแค่สิ่งสมมุติ ถ้าสังเกตุการณ์เราก็เป็นจริง อารมณ์ฟิสิกส์ควันตั้ม มันเป็นได้ทุกทาง แต่จะเป็นสถานะนั้นเมื่อมีการสังเกต

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว +1

      ใช่ครับ@@megasawa แต่ความจริงก็ไม่ใช่แค่เรา เพราะความจริงมันเป็นช่วงหนึ่งของปรากฏการณ์แห่งเวลาของในแต่ละพื้นที่ แต่เพราะความจริงของทุกสรรพสิ่งต่างก็มีมุมของการมาร่วมกันใช้ช่วงปรากฏการณ์แห่งเวลาในพื้นที่หนึ่งๆในการแสดงความจริงไปพร้อมกัน ดังนั้นตัวแปรของการเดินทางมาสู่ห้วงเวลาของความจริงในแต่ละพื้นที่ของทุกสรรพสิ่งนั้นอาจใช้ระยะเวลาที่ไม่เท่ากัน ตัวอย่างเช่นการเดินทางมาสู่ห้วงเวลาปรากฏการณ์ความจริงในรูปของเวลาปัจจุบันของเรากับดวงอาทิตย์นั้นต่างกันอยู่ 8 นาที และเรากับบางจุดของกาแล็กซี่ทางช้างเผือกนั้นก็ต่างกันอยู่หลายร้อยปีแสงอย่างนี้เป็นต้น แต่นั่นก็หมายถึงพื้นที่ในการจับสังเกตรูปปรากฏการณ์ทุกพื้นที่นั้นยังไงก็เป็นจริงทั้งหมด

  • @thongchaipunjunta3084
    @thongchaipunjunta3084 ปีที่แล้ว

    ชอบครับ

  • @ibfgkgfhhvdjbfh1185
    @ibfgkgfhhvdjbfh1185 ปีที่แล้ว +3

    ชื่นชม อาจารย์ที่มีจิตเป็นกุศลเผยแพร่ภูมิความรู้ฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ เพื่อประโยชน์ต่อเยาวชนและผู้ใฝ่หาความรู้ จะเป็นส่วนหนึ่ง ที่จะนำความรู้นี้ไปสร้างองค์ความรู้พื้นฐานและสร้างเสริมต่อยอดที่มีอยู่เดิมให้ยิ่งๆ ขึ้นไป เพื่อความเจริญก้าวหน้ามั่นคงของประเทศไทยเราครับ

  • @AphisitP
    @AphisitP ปีที่แล้ว +1

    ตอนแรกก็เริ่มเข้าใจ เจอรูปตอนท้ายเข้าไป กลับไปงงอีกรอบเลยครับ ฮ่าๆๆ

  • @Wanda96
    @Wanda96 ปีที่แล้ว +1

    อยากให้ทำเรื่องนักวิทยาศาสตร์ยุคปัจจุบัน หรือคนที่ได้รางวัลโนเบลที่ยังมีชีวิตอยู่ก็ได้ครับ

  • @Witaya0072
    @Witaya0072 10 หลายเดือนก่อน

    อยากรู้วิธีสร้างปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่นด้วยอุปกรณ์ในห้องครัว

  • @kae_karasu
    @kae_karasu ปีที่แล้ว

    เพิ่งซื้อหนังสือของอาจารย์จากในงานมาเมื่อกี้เลยครับ

  • @user-nv9qe9xb9m
    @user-nv9qe9xb9m 11 หลายเดือนก่อน

    อยากฟังเรื่อง เคมีในน้ำส้มควันไม้ ทำไมเยอะมากมายกว่า200ชนิด กระบวนการเกิดมาเป็นโครงสร้างโมเลกุลต่างๆกันไปได้อย่างไร

  • @nuyfanclub
    @nuyfanclub ปีที่แล้ว

    พี่ป๋องแป๋ง ไม่ไปทำรายการ ใดใดในโลก แล้วหรอครับ

  • @rionia2st
    @rionia2st ปีที่แล้ว +1

    อาจารย์ ทำไมไม่มีรายการ ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ วันที่ 7 เม.ย.66

  • @bunmathitpradisth433
    @bunmathitpradisth433 ปีที่แล้ว

    ถ้าหากยกตัวอย่าง.ย่อเข้า มาในจิตใจของคนบ้าง.มันน่าคงจะเหมือนกับการที่เรามีแรงจิตแรงใจในความจริงอะไรชักอย่างเช่นเรามีศรัทธาต่อสรรพสิ่งต่างๆมากมาก..มันเลยรู้รับทราบได้โดยความรู้สึกเฉพาะตัวเท่านั้นของผู้เข้าถึงแก่นแท้จริงอย่างผู้มีปัญญาสามารถ.สูง.เรื่องอันแบบนี้มันควรน่าจะมีส่วนเกี่ยวกับจักรวาลและเทพพระเจ้าผู้สร้างโลกและรวมทุกสิ่งอย่างเป็นอย่างแน่นอน..

  • @bkbo7279
    @bkbo7279 ปีที่แล้ว

    👍🥇💐

  • @theethee1838
    @theethee1838 ปีที่แล้ว

    เพราะกลูออน

  • @ddswwweree458
    @ddswwweree458 10 หลายเดือนก่อน

    ชอบฟังได้ความรู้แต่จะฟังแบบไม่ดูเพราะใช้มือมากเกินไป แต่ไม่ว่ากันคนไทยสมัยก่อนชอบดูลิเกติดลิเก กิริยาท่าทางมือไม้ไปหมดทุกส่วน คนไทยเลยติดน้สัยนี้ นักออกคลิปต่างใช้วิธีมือซ้ายตบยุงมือขวาไล่แมลงวันกันพัลวัน นักพูดฝรั่งใช้มืิมาอย่งซีนรบกวนการหังน้อยมาก ถ้าเราไปนั่งดู อิ ลอน มัสค์ ทิม คุก บิล เกต ขึ้นพูดบนเวที ถ้าเขาใช้มือเป็นพัลวัน เขาจะเป็นตัวตลกไหม ทุดคนต้องการฟังอย่างใจจดใจจ่อว่าจะพูดอะไร ถ้ามือมารบกวนการตั้งใจฟังเกินไปมาอย่งซีลบ่ิยจนเกิดความรำคาญ ควรใช้เมื่อควรใช้เพื่อดึงความสนใจคนให้มุ่งฟัง ในความพอดี เราหังอาจารย์เสริมชียพูดถ้าท่านไม่ออกชิเกทั้งท่าทางประกอบทุกคำพูด ก็ไม่ใช่อาจารย์เสริมชัย เพราะเป็นบุคลิกเฉพาะตัวท่านไม่มีใครเหมือน เวลาเราฟังได้อรรถรสลิเกไปพร้อม แต่ถ้าเป็นด้านวิชาการ ด้านความรู้จุดประสงค์คนฟังคือต้องการความรู้กระหายได้ความรู้ อต่มือมาอย่งซีนตลอดเวลา ควรใช้ตอนไหนเวลาไหนต้องการดึงความสนใจหรือต้องการเพิ่มรสชาติจึงใช้ มือประกอบบ้าง ไม่ใช่ดุ๊กดิ๊กตลอดเวลา มีบางคนถ่ายไม่ให้เห็นมือ บางคนใช้เป็นรูปตัวเองภาพเล็กๆขวามือเห็นแต่ปากพูดประกอบเรื่องเท่านั้น่ ตินิดหน่อยไม่ว่ากัน สร้างสรรความรู้ให้แกคนอื่นได้ประโยชน์มหาศาล จะเรียกว่าบำเพ็ญตนเป็นพระโพธิสัตว์ก็ได้ ครูบาอาจารย์ล้วนอต่เป็นทางของพระโพธิสัตว์ก็ได้ ผู้ติก็เหมือนโคชนักมาย นักฟุตบอลเห็นข้อผิดพลาดของคนชดคนเล่นทะลุปรุโปร่งแต่ถ้าลงมือทำเองแพ้ไม่เป็นท่า เคยเป็นลูกศิษย์ของ ดร. คลุ้ม วัชโรบล ยุคนั้นนักพูดก็ไม่ใช้มือมากเหมือนยุคนี้ แม้แต่เาจารย์อาจอง ชุมสาย ใช้กันมากในระกว่างพวกทอร์ค โชว์ ออกในทางตลก ยิ่งถ้าเป็นอาจารย์เสริมชัยยิ่งสนุก

  • @vizontytoon3195
    @vizontytoon3195 ปีที่แล้ว

    ในเมื่อไพออนสลายตัวก่อนถึงพื้นโลก
    แล้วสิ่งของที่ไม่ได้อยู่บนยอดดอย จะมีแรงอะไรมายึดเหนี่ยวนิวคลีออน??

  • @psacclose9823
    @psacclose9823 ปีที่แล้ว

    Ernest Rutherford ฮีโร่ของข้าพอเจ้าทำให้ข้าพเจ้าสนใจวิชาเคมี

  • @user-gk1qj7nh2m
    @user-gk1qj7nh2m 10 หลายเดือนก่อน

    อะตอมเล็กมาก ถ้ามันใหญ่เท่าฟุตบอล เท่าโลก เท่าดวงอาทิตย์ เท่าระบบสุริยะ มันจะเป็น หลุมดำไหม? หรือจะเป็นดาวนิวตรอนไหม? เพราะมันกลืนกินทุกอย่างได้....

  • @andachain
    @andachain ปีที่แล้ว +1

    ซ้อมก่อนไป the standard หรอครับ

    • @user-fu8su4un8y
      @user-fu8su4un8y ปีที่แล้ว

      ทางโน้นคนดูเป็นหลายหมื่น ถึงแสนกว่า 555

  • @surphoom
    @surphoom ปีที่แล้ว +1

    อยากให้ทำคลิปอธิบายเรื่อง มวลคืออะไร ด้วยครับ

    • @manggano
      @manggano ปีที่แล้ว

      มวล คือ น้ำหนักของวัตถุ

    • @monlay5707
      @monlay5707 ปีที่แล้ว +2

      @@manggano ไม่เหมือนกันครับ มวลที่หยุดนิ่งจะมีค่าคงที่ของความโน้มถ่วง(กราวิตี้)ใดๆซึ่งก็เท่ากับน้ำหนัก เช่นน้ำหนักคุณบนโลกกับบนดวงจันทร์จะไม่เท่ากันแต่มวลจะเท่ากันครับ...
      แต่พอมวลเคลื่อนที่ค่าของมวลจะเพิ่มขึ้นครับที่เรียกว่ามวลสัมพัทธภาพอย่างที่ไอสไตลบอกไว้...มวลไม่ใช่ค่าของเนื้อสสารแต่มันคือค่าของพลังงานที่เพิ่มขึ้นใด้ ตามสมการE=mc^2ครับ...!!!

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว

      มวลคือปรากฏการณ์รูปสถานะของข้อมูลภายใต้สภาวะปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่เป็นองค์ประกอบสร้างสถานะนั้นๆของมันขึ้นมา

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว

      และมวลอยู่ในชั้นของสถานะ ส่วนปรากฏการณ์ของสถานะนั้นอยู่ในชั้นของเวลา เช่นเวลาเท่าโน้นเวลาเท่านี้เป็นช่วงปรากฏของสถานะโน้นสถานะนี้ดังนี้เป็นต้น

    • @monlay5707
      @monlay5707 ปีที่แล้ว

      @@Prasa_Yiaedin 98%ของอะตอมคือที่ว่าง 2%ที่เหลือคือนิวเคลียส...
      99%ของนิวเคลียสคือที่ว่าง 1%ที่เหลือคือคว้าก...
      และไอ้คว้าก1%ที่ว่านี้มันก็เคลื่อนที่อยู่ในสนามพลังงานนิวเคลียส(นิวคลีออน)ในรูปของพายออน ด้วยความเร็วใกล้เคียงแสงจึงทำให้มีพลังงานจลมหาศาลอยู่ในนิวเคลียสครับ...
      ให้สังเกตว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ของอะตอมคือที่ว่างและพื้นที่ว่างนั้นก็มีพลังงานสะสมอยู่...ถ้าอะตอมรวมกันเป็นมวล ดังนั้นมวลก็คือพลังงานนั้นเอง

  • @user-tr7wm3ix6g
    @user-tr7wm3ix6g ปีที่แล้ว

    ทำไม เคมีและฟิสิกส์ถึงเเยกวิชากัน ทั้งๆที่ศึกษาคล้ายกัน

  • @user-bj8bc8vi5i
    @user-bj8bc8vi5i 9 หลายเดือนก่อน

    ถ้าไพออนเป็นอนุภาคที่ยึดนิวคลีออนไว้ แล้วทำไมต้องไปตรวจจับอนุภาคนี้จากนอกโลกหรอครับทั้งที่อนุภาคนี้ก็ควรจะมีอยู่เกลือนบนโลก?

  • @peerapatsnongsuk4982
    @peerapatsnongsuk4982 ปีที่แล้ว

    แล้วทำไมตรวจจับ ไพออน ในนิวเคลียสไม่ได้ ต้องรอตรวจจับจากอวกาศครับ

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว

      เพราะในอะตอมมันสลายตัวมาอยู่ในรูปของแรงยึดไวมากๆการตรวจับให้พบความเป็นมวลอนุภาคของมันจึงไม่สามารถทำได้ นอกจากคำนวนว่ามันเป็นแรงของมวลอะไรบางอย่างที่มองไม่เห็นเท่านั้น แต่นั่นไม่สำคัญเท่ากับว่าไม่มีใครคิดถึงความไม่เสถียรของมัน เพราะค่าอายุของความเป็นอนุภาคมวลก่อนสลายมาเป็นแรงของมันนั้นสั้นมาก โปรตอนและนิวตรอนต้องแลกเปลี่ยนกันขนาดไหนถึงจะให้ไพออนเกิดขึ้นมากพอที่สามารถสร้างแรงยึดที่ไม่เสถียรนี้ขึ้นมาจนสามารถเอาชนะแรงทางไฟฟ้าตรงแกนกลางของนิวเคลียสได้ ตรงนี้ต่างหากที่เป็นความฉงนและสนเท่ห์

    • @user-jn6me8qe5t
      @user-jn6me8qe5t ปีที่แล้ว

      ก็ได้อยู่นะครับ ยิงอะไรแรงๆไปชนนิวเคลียส ไพออนก็กระเด็นออกมาได้ เพียงแต่ต้องใช้พลังงานสูง
      ส่วนที่จับได้บนฟ้า อันนั้นมาฟรีๆจากนอกโลก (cosmic ray)

  • @abapranger7483
    @abapranger7483 ปีที่แล้ว

    อยากใหเ้เป็นนายกครับ

  • @sarawutlerttanaphan8783
    @sarawutlerttanaphan8783 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมากครับ
    แต่
    มุมใน 3 เหลี่ยม = 180องศา
    มุมใน 4 เหลี่ยม = 360องศา
    มุมในวงกลม ควรเป็น อินฟินิตี้ ไหมครับ

    • @suttiponghiri1286
      @suttiponghiri1286 ปีที่แล้ว +2

      ผมว่ามันไม่มีมุมนะ มุมมันเกิดจากเส้นตรงสองเส้น แต่วงกลมไม่มีเส้นตรง

    • @demox9922
      @demox9922 ปีที่แล้ว

      นั่นแหละครับวิธีหาค่าพาย

    • @mawinz7308
      @mawinz7308 ปีที่แล้ว +1

      อาจจะมองว่ามุมเยอะเข้าใกล้อินฟินิตี้จนไม่มีมุมก็ได้ครับ

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว

      ในรูปของความเป็นจริง วงกลมสัมบูรณ์ไม่มี ในขณะที่เส้นตรงสัมบูรณ์ก็ไม่มี เพราะวงกลมก็สามารถสร้างมิติของเส้นตรงได้ และเส้นตรงก็สามารถสร้างมิติของวงกลมได้

    • @daryzababor1
      @daryzababor1 ปีที่แล้ว

      สูตรหาผลรวมของมุมภายในคือ (เหลี่ยม-2)*180 ฉะนั้นลองจินตนาการดูว่า ถ้ามีล้านๆๆเหลี่ยม มุมภายในจะเยอะแค่ไหน ยิ่งเหลี่ยมเยอะและด้านเท่ากัน ก็จะยิ่งกลม

  • @nangeye8292
    @nangeye8292 ปีที่แล้ว +1

    ทำไมอิเล็กตรอนถึงไม่ตกสู่นิวเคลียสหรอครับ

    • @user-uq5nh7tp7r
      @user-uq5nh7tp7r ปีที่แล้ว

      นิวเคลียสดึงดูด แต่อิเล็กตรอนผลัก ผลที่ได้คือหมุนรอบกันเป็นวงกลม ไม่ตกลงสู่นิวเคลียส ทุกสิ่งในจักรวาลจะเป็นแบบนี้ครับ หมุนเป็นวงกลม(วัฏสงสาร)แม้แต่เวลา! คหสต.ครับ

    • @Napoleon9801
      @Napoleon9801 ปีที่แล้ว

      น่าจะเป็นเรื่องการกีดกันของเพาลีครับ ที่ว่าแต่ละระดับชั้นพลังงานจะมีอิเล็กตรอนได้ไม่เท่ากัน

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว +1

      เพราะสภาวะของความเป็นกลางที่อยู่ตรงแกนกลางของนิวเคลียสมันไม่อนุญาติให้ โปรตอนกับอิเล็กตรอนเข้ามาอยู่ในแกนกลางที่เดียวกันได้ นิวตรอนมันสร้างตัวเองเป็นสมมุติของอนุภาคอิเล็กตรอนขึ้นเกาะกลุ่มอยู่กับโปรตอน ซึ่งตรงนี้แหละที่ทำให้โปรตอนที่เป็นขั้วบวกสามารถอยู่รวมกันได้โดยไม่ทำปฏิกิริยาผลักกันเพราะมันดึงดูดอยู่กับนิวตรอนที่เป็นอนุภาคสมมุติของอิเล็คตรอน ดังนั้นการผลักกันจึงเกิดขึ้นแค่ในฝั่งของอิเล็กตรอน ในขณะที่การรวมตัวกันจากอำนาจความเป็นกลางของโปรตอนที่เกิดจากนิวตรอนก็สร้างแรงดึงของขั้วบวกให้เกิดขึ้นเป็นแกนกลางเพื่อใช้ดึงให้อิเล็กตรอนที่เป็นขั้วลบไม่ผลักกันจนกระจัดกระจายออกไปจากโครงสร้างของอะตอม แต่ก็ไม่ถูกดึงตกลงไปในนิวเคลียส เพราะนิวตรอนที่เป็นสมมุติของอิเล็คตรอนที่อยู่ตรงกลางนิวเคลียสคอยผลักมันอยู่ให้ไม่ตกลงไป

    • @Prasa_Yiaedin
      @Prasa_Yiaedin ปีที่แล้ว +1

      นิวตรอนมันเป็นอนุภาคกลางที่สามารถเป็นขั้วลบสมมุติขึ้นมาได้เมื่อมันอยู่กับขั้วบวกของโปรตรอนมันจึงเป็นฝั่งที่สร้างแรงดึงดูด แต่มันถูกอิเล็กตรอนที่เป็นขั้วลบจริงสร้างแรงผลักกดมันไว้ให้กลายเป็นศูนย์กลางของแรงดึงดูด การที่มันตกลงไปเป็นแกนกลางของแรงดึงดูดนั้นก็เพราะ แรงผลักจากฝั่งของอิเล็คตรอนนั้นกระทำสมมาตรโดยรอบทิศทางกับมันจนการโคจรของอิเล็คตรอนสร้างให้เกิดผนังโครงสร้างชั้นนอกของอะตอมขึ้นมา

    • @user-uq5nh7tp7r
      @user-uq5nh7tp7r ปีที่แล้ว +2

      ​@@Prasa_Yiaedin อ่านความเห็นแล้ว นึกถึงเวทนา 3 เลยครับ อุเบกขา(นิวตรอน)มันพร้อมจะละลายสุข(+)ทุกข์(-)แต่เมื่อมีการปรุงแต่ง มันก็แปรสภาพให้กลายเป็นสุข/ทุกข์ได้เสมอ
      แอบคิดเหมือนกันว่า อนุภาคนิวตรอนนี้เอง ที่มันทำให้โปรตอนอยู่ด้วยกันได้ ไม่ผลักกัน

  • @saburonobunaga6191
    @saburonobunaga6191 10 หลายเดือนก่อน

    ไม่รู้เรื่องเลย งง

  • @DirtySpace2001
    @DirtySpace2001 11 หลายเดือนก่อน +1

    เป็นไปได้ไงนิ ไม่มีคอมเม้นแนวๆว่า "รู้ไปเอาไปใช้หาตังได้หรือเปล่า?"ด้วยอ่ะ5555

    • @Nucleus-fu3qh
      @Nucleus-fu3qh 11 วันที่ผ่านมา

      ไสหัวไปครับคุนมัรจบ ป.4

  • @atcharamongkol
    @atcharamongkol ปีที่แล้ว

    คลิปนี้....ดูดีขึ้น คือมีภาพประกอบเพิ่มมากขึ้น ดีกว่าพูดปากเปล่าไปเรื่อยๆๆๆ

  • @-bigcatbc-and-Pakin
    @-bigcatbc-and-Pakin ปีที่แล้ว

    ไอสป๋อง

  • @bkbo7279
    @bkbo7279 ปีที่แล้ว

    👍🥇💐