อินดักเตอร์ ตัวเหนี่ยวนำ Inductor ตอนที่ 3 L ค่ามาก L ค่าน้อยมีผลอย่างไรต่อกระแสไฟฟ้า

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 30 เม.ย. 2023
  • อินดักเตอร์ อธิบายการทำงานของตัวเหนี่ยวนำต่อจาก ตอนที่ 1 และ 2 โดย ตัวเหนี่ยวนำ Inductor ตอนที่ 3 นี้อธิบาย ตัวเหนี่ยวนำ ค่ามาก ค่าน้อยมีผลอย่างไรต่อกระแสไฟฟ้า และที่มาของสูตร อินดักทีฟ รีแอคแตนซ์ (Inductive Reactance) XL = 2πfL ( Ohm) มีหน่วยเป็นโอห์ม
    ตอนที่ 1 ตัวเหนี่ยวนำคือ ค่าความเหนี่ยวนําคือ
    ตอนที่ 2 หน้าที่ และ ประโยชน์ ของ L
    ตอนที่ 3 ตอนที่ 3 L ค่ามาก L ค่าน้อยมีผลอย่างไรต่อกระแสไฟฟ้า
    ใช้คำค้นใน TH-cam เช่น ตัวเหนี่ยวนำ Inductor ตอนที่ 1 หรือตอนที่ 2 หรือตอนที่ 3
  • แนวปฏิบัติและการใช้ชีวิต

ความคิดเห็น • 5

  • @nuttichatclassdchanal4549
    @nuttichatclassdchanal4549 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับพี่

  • @Xangpang
    @Xangpang ปีที่แล้ว +1

    FC ครับ

    • @electech_8889
      @electech_8889  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณที่สนับสนุนช่องให้พัฒนาต่อไปครับ

  • @user-nq1sc3sb9w
    @user-nq1sc3sb9w ปีที่แล้ว +1

    แล้วทำไมถึงยังใช้ได้กับ crossover ครับ สัญญาณเสียงเป็น AC นะถ้าบอกว่า L ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของกระแส

    • @electech_8889
      @electech_8889  ปีที่แล้ว

      ความหมายของคำว่า ต้านการเปลี่ยนแปลงของกระแสคือ ถ้าเราจ่ายกระแสให้ L กระแสนี้จะไหล่ผ่านไปแบบฉับพลันทันทีไม่ได้ เนื่องจากมันเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นใน L และสนามแม่เหล็กนี้จะสร้างแรงดันเหนี่ยวนำขึ้นมาซึ่งมีทิศตรงข้ามกับการไหลของกระแสนั้น เมื่อผ่านไปสักครู่กระแสนี้จึงจะไหลผ่านไปได้ ใน L จึงทำให้เกิดเหตุการณ์ที่ว่า กระแสไฟฟ้าล้าหลังแรงดันไฟฟ้า .... เนื่องจากกระแสมันถูกต้านไม่ให้ผ่านไปได้ในแบบทันทีนั้นเอง แต่ที่ความถี่สูงๆซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของกระแสที่เร็วมากๆจะเกิดการต่อต้านอย่างหนักดังนั้นที่ความถี่สูงๆจึงไม่สามารถผ่าน L ไปได้ ....ในวงจร crossover ทำหน้าที่แยกความถี่เสียงให้ตรงกับชนิดของลำโพงโดย ความถี่ต่ำจะผ่าน L ไปได้แต่ที่ความถี่สูงๆจะผ่าน L ไม่ได้ เสียงเบสเป็นความถี่ต่ำจึงผ่าน L ไปได้ หรืออาจจะพูดได้ว่าที่ความถี่ต่ำจะถูกต้านน้อย แต่ที่ความถี่สูงจะถูกต้านอย่างหนักจนกระแสไม่ไหลเลย