ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
เป็น Clip ฮีลใจเภสัชมาก ตรงใจแทบทุกประโยค อธิบายความเป็นเภสัชได้ดีเลย ฟังๆไป คู่นี้มานั่งอยู่ในที่ทำงานเราป่าวหว่า โดยเฉพาะตอนยกตัวอย่างการแนะนำยากระดูก เรื่องนี้พูดทุกวัน จ่ายทุกวันจนแทบอยากจะอัดเสียงเปิดวนให้คนไข้ฟัง 😁ปล. Naranjo ถูกต้องแล้วนะฮับ 😊😊😊
ผม OK นะเรื่องที่จะให้เภสัชกรจ่ายยาให้กับกลุ่ม 16 อาการ และก็เข้าใจนะที่แพทย์สภาจะห้าม แต่ ผมมองว่าควรหาทางออกร่วมกันดีกว่าเรื่องนี้ผมมองว่าลดความแออัดของแพทย์ที่ทำงานอยู่ในระบบสุขภาพรัฐไปได้เยอะมากๆ แต่ถ้าเจอโรคหรือเหตุหนักๆเภสัชก็เอาไม่อยู่ผมว่าควรให้ความรู้เฉพาะทางที่เกี่ยวกับกลุ่มอาการเหล่านี้กับเภสัชเพิ่มเติม ในเรื่องที่แพทย์กังวลหรือเรื่องที่ทำได้ในมุมมองแพทย์ด้วยดีกว่า ไม่ใช่มาห้ามหรือคัดค้านกันประโยชน์อยู่ที่คนไข้และ Step การรักษา ไม่ใช่อยู่ที่ Step ในการเดินทางเพื่อรักษา
คนไทยมองว่าเภสัชวันๆทำแค่จ่ายยาจริงๆค่ะ ลุงป้าน้าอาจะเข้าใจว่าหมอเรียนยาก ไม่มีเวลาว่าง เลวชอบบอกให้ลูกหลานเรียนเภสัชสิ วันๆแค่จ่ายยา สบาย ขนาดมีเรียนตัวเบื้องต้นเฉยๆ โอ้โห ช็อค ถ้ามันแค่ยืนจ่ายยาคนคงเป็นเภสัชกันทั่วโลกแล้ว เบื้องต้นคือแทบกระอักเลือด น้ำตาจะไหลออกมาเป็นยา คนเรียนเภสัชได้นี่สุดยอดจริงๆค่ะ😭
ในประเทศที่เจริญแล้ว เช่น USA หมอจะแค่ตรวจร่างกาย วินิจฉัยเท่านั้น และจะให้ใบสั่งยาไปซื้อยาที่ร้านขายยา จะไม่ข้ามอาชีพกันค่ะ
มันต้องสู้จริงๆๆครับ..สู้มากๆ..หากต้องซักต้องทราบประวัติคนไข้จริงๆที่เราคิดว่าเขาคือผู้ป่วย..ด้วยใจเราอยากให้หายตั้งเเต่เเรกเริ่มป่วย..ไม่จำเป็นต้องให้ป่วยมากจนต้องไปโรงบาล..#และเภสัชหากจะอยู่อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรีในร้านยาก็ต้องอ่านเรื่องโรคเพิ่มเติมที่จำเป็นต้องใช้ในร้านยา...
ฐานะคนไข้ ถ้าอาการเดิม เหมือนเดิม หมอสั่งยาเดิม หลายรอบ ๆ หรือ โรคทั่ว ๆ ไป รับยาจาก หมอยา เลยทีเดียว ก็ดีกว่าไปทรมาณรอ หมอ หมอ ก็ไม่น่าจะต้องมาเสียเวลาตามอาการคนอื่น กับโรคนิด ๆ หน่อย ๆ
6:27 ตลอดเวลาชีวิตที่ผ่านมา ผมรู้สึกดีที่ได้คุยกับเภสัชกรนะครับ คิดว่าต่างจากหมอตรงที่ เขามีเวลาคุยกับเรามากกว่า อธิบายเหตุผลอะไรให้เราฟังมากกว่าหมอ เลยไม่ค่อยมีประเด็นอะไร ดันรู้สึกชอบไปปรึกษาเขามากกว่าหมออีก 555
ต้องขอบคุณเภสัชที่ทำให้ได้ยาตรง จำนงนถูกและไม่เกินจำเป็น จากประสลการณ์หมดสั่งยาเกินจำเป็น และจำนวนไม่ครบ
คุณเภสัชกรในสายตาเรา คือคนที่รู้ชัดว่า ยาแต่ละตัว ต้องกินหรือใช้อย่างไรถึงปลอดภัย อย่างเราต้องใช้ยาพ่นจมูก กับยาสูด เช้าเย็น ตอนแรกที่จะได้ใช้ หมอก็จะให้เราไปเรียนการใช้กับเภสัชก่อน และหลังจากนั้น เวลาไปรับยาหลังหาหมอ บางครั้งเภสัชก็จะทบทวนการสูดและพ่นของเรา และทบทวนการสั่งยาของหมอเทียบกับยาที่เราต้องกินอยู่แล้วว่ามันจะมีข้อห้ามในการใช้คู่กันไหม ส่วนเภสัชตามร้านยา ก็แนะนำยาที่ตรงตามอาการ ได้ดี แต่ก็สู้พ่อเรา ผู้กินยาตามใจฉันไม่ได้ ให้เราไปซื้อแล้วไม่ได้ยาที่อยากได้ ก็จะดื้อไม่ยอมกิน ก็ต้องไปหาทางให้ได้ยาที่ตัวเองอยากกินอยู่ดีส่วนตัวที่ไปซื้อยาใช้เอง เราบอกโรคประจำตัวแล้ว และเขียนบอกด้วย แต่เขาก็ยังจ่ายยาที่มันอาจจะมีผลต่อโรคประจำตัวเรา(อันนี้เจอในใบกำกับยาแต่คิดว่า เภสัชรู้แล้ว แต่ก็ยังให้มา ผลมันคงน้อยมาก) รอบนั้นโรคเรากำเริบ สุดท้ายเลยต้องไปโรงพยาบาล
อยากให้พูดถึงวิชาชีพอื่นบ้าง เช่น รังสี, เทคนิคการแพทย์, กายภาพ บางคนเห็นใส่เสื้อขาว เรียกหมอหมด ทั้งๆที่เราทุกคนทำงานเพื่อผู้ป่วยเหมือนกัน
เกาหลีก็เป็นค่าาา รพ คลินิก ร้านยา แยกกันค่ะ แต่ส่วนมากจะอยู่ใกล้ๆกัน
มีแค่ที่ไทยนี่แหละ รวมเบ็ดเสร็จ ขนาดนั้นยังอวยว่า ชาติไทยดีกว่าที่อื่น โดนกล่อมกันนักมาก ละจนท จะตายห่ากันอยู่แล้ว งานมันหนักไป
มี อังกฤษ กับ ออสเตรเลีย มั้งครับร้านยาจ่ายยาโรคเบื้องต้น กับ ออกใบรับรองแพทย์เบื้องต้นได้
สมัยก่อนที่มียา Actifed ลดน้ำมูก จะชอบมากเลย กินแล้วหลับสบาย ลดจมูกบวม และทำให้ง่วงมาก ไม่ต้องพึ่งยานอนหลับเลยค่ะ
มาเเล้วครับบบ🎉🎉
สงสัยว่า ทำไมก่อนจ่ายยาต้องถามว่าแพ้ยาอะไรทุกครั้ง ทำไมถึงไม่คีย์ในประวัติคนไข้เลย ถ้าเคสผู้สูงอายุอาจหลงลืม หรือเคสฉุกเฉิน คนไข้ไม่มีสติ ก็ตอบไม่ได้
ข้อมูลที่คีย์ก็มีอยู่แล้วครับการถามจะเพิ่มข้อมูลให้ถ้าเคยไปแพ้ยาจากที่อื่นมา หรือยาที่เพิ่งได้ใหม่ไปมีอาการแพ้เรื่องหลงลืมหรือฉุกเฉินคือสุดวิสัยอยู่แล้วครับทุกขั้นตอนคือความปลอดภัยของคนไข้ครับ
หลักๆเลยคือเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยค่ะ การแพ้ยาซ้ำมีอันตรายมากๆจนอาจถึงชีวิต จริงๆใน รพ ที่ผู้ป่วยรักษามีบันทึกประวัติการแพ้ยาไว้ค่ะ แต่ที่เจอบ่อยๆคือบางครั้งผู้ป่วยไปรับการรักษาที่อื่น แล้วมีประวัติแพ้ยาตัวอื่นเพิ่มที่ไม่เคยลงในระบบมาก่อนค่ะ ปัจจุบันข้อมูลจากทุก รพ ยังไม่เชื่อมกัน จึงจำเป็นต้องถามทุกครั้งค่ะ และอีกเหตุผลที่ถามเพื่อย้ำเตือนคนไข้ให้ทราบถึงยาที่ตัวเองแพ้ เพราะมีหลายครั้งที่ในระบบบันทึกไว้แต่นานมากแล้ว ผู้ป่วยบางท่านจำไม่ได้ด้วยซ้ำว่าแพ้ยาอะไร โดยเฉพาะเคสที่คุณว่าคือเคสผู้สูงอายุที่อาจหลงลืม เภสัชกรก็จะช่วยย้ำเตือนความจำได้ค่ะ ส่วนเคสฉุกเฉินหรือคนไข้ไม่มีสติ ยาที่ใช้มักจะเป็นยาฉุกเฉิน (Emergency Drugs) ซึ่งผู้ป่วยโดยทั่วไปส่วนใหญ่มักไม่เคยใช้ และเมื่อเทียบผลดี-ผลเสีย ถ้าเป็นเคสฉุกเฉินจริงๆ ต้องมีการติดตามอาการอยู่แล้วค่ะ ซึ่งก็มีการเฝ้าระวังการแพ้ยาอย่างใกล้ชิดด้วยเช่นกันค่ะ
ชวนเภสัชมาได้เลยนะคะ แล้วก็ขอบคุณมากๆที่มาพูดถึงการทำงานของเภสัชต่างๆที่ทำให้คนทั่วไปได้รับรู้มากขึ้น และพูดถึงความมีคุณค่าของวิชาชีพนี้ในเมืองไทยอยู่ เพราะเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นทำให้ท้อใจในการเป็นเภสัชในไทยเหลือเกินค่ะ
เภสัชบางคนก็ไม่อยากอธิบายถามไปทำหน้ายักษ์ไปด้วยไม่เต็มใจแนะนำค่ะ
ก็ภาพจำคือเภสัชจ่ายยาค่ะ เพราะเคยท้วงเรื่องยาความดันแม่ หมอจ่ายมา 4 ตัวพร้อมกัน คือท้วงไปว่ากินพร้อมกัน 4 ตัวหรอคะ มันเยอะไปมั้ย เภสัชตอบว่าหมอจ่ายมาแบบนี้ค่ะมีอีกครั้งคือแม่เป็นเก๊าส์ แต่ทานยาเก๊าส์กี่ครั้งไตวายเฉียบพลันทุกครั้ง จนหมอศัลยกรรมบอกห้ามใช้เด็ดขาด ไปหาคุณหมออายุรกรรมไม่แน่ใจผิดพลาดประการใด ทำไมสั่งยาเก๊าส์มา ทั้งที่ไม่มีอาการเก๊าส์แล้ว ซึ่งท้วงเภสัชไป คุณเภสัชตอบกลับมาว่าคุณหมอจ่ายยามาแบบนี้ แล้วไม่รีเช็คติดต่อคุณหมอด้วย ยังยืนยันให้ยาคนไข้กลับบ้านก็อึ้งๆ ค่ะ
เพราะเภสัชกร ไม่ต้องรับผิดชอบหลังจากจ่ายยา เทียบเท่ากับต่างประเทศครับ
ใช้ chat gpt ก็สามารถถามอาการ ถามโรค และวิธีรักษาได้ค่ะ
ถ้าอาการหนักแนะนำไปหาหมอหรือเภสัชดีกว่าครับ เพราะบางอย่างอาการคล้ายกัน บางอย่างต้องตรวจสารน้ำต่างๆเพื่อวินิจฉัยโรค ChatGPT ก็ช่วยได้บางส่วน แต่ปกติถ้าอาการไม่หนักมาก ก็ไปหาเภสัชเลยดีกว่าจะได้รับยาและวิธีดูแลตัวเองที่ค่อนข้างครบกว่าด้วยครับ
แบบนี้ ยกเลิกคณะแพทยศาสตร์เลยดีกว่าไหม ?
@ เป็นแค่ข้อมูลเบื้องต้น ในการเข้าใจโรคที่เป็น ไม่ได้บอกว่ารักษาได้ มองโรคในแง่ร้ายไปป่ะ
รอเทคนิคการแพทยครับพี่ถามใครก็ไม่ค่อยมีคนรู้จักครับเสียใจ
เป็น Clip ฮีลใจเภสัชมาก ตรงใจแทบทุกประโยค อธิบายความเป็นเภสัชได้ดีเลย ฟังๆไป คู่นี้มานั่งอยู่ในที่ทำงานเราป่าวหว่า โดยเฉพาะตอนยกตัวอย่างการแนะนำยากระดูก เรื่องนี้พูดทุกวัน จ่ายทุกวันจนแทบอยากจะอัดเสียงเปิดวนให้คนไข้ฟัง 😁
ปล. Naranjo ถูกต้องแล้วนะฮับ 😊😊😊
ผม OK นะเรื่องที่จะให้เภสัชกรจ่ายยาให้กับกลุ่ม 16 อาการ และก็เข้าใจนะที่แพทย์สภาจะห้าม แต่ ผมมองว่าควรหาทางออกร่วมกันดีกว่า
เรื่องนี้ผมมองว่าลดความแออัดของแพทย์ที่ทำงานอยู่ในระบบสุขภาพรัฐไปได้เยอะมากๆ แต่ถ้าเจอโรคหรือเหตุหนักๆเภสัชก็เอาไม่อยู่
ผมว่าควรให้ความรู้เฉพาะทางที่เกี่ยวกับกลุ่มอาการเหล่านี้กับเภสัชเพิ่มเติม ในเรื่องที่แพทย์กังวลหรือเรื่องที่ทำได้ในมุมมองแพทย์ด้วยดีกว่า ไม่ใช่มาห้ามหรือคัดค้านกัน
ประโยชน์อยู่ที่คนไข้และ Step การรักษา ไม่ใช่อยู่ที่ Step ในการเดินทางเพื่อรักษา
คนไทยมองว่าเภสัชวันๆทำแค่จ่ายยาจริงๆค่ะ ลุงป้าน้าอาจะเข้าใจว่าหมอเรียนยาก ไม่มีเวลาว่าง เลวชอบบอกให้ลูกหลานเรียนเภสัชสิ วันๆแค่จ่ายยา สบาย ขนาดมีเรียนตัวเบื้องต้นเฉยๆ โอ้โห ช็อค ถ้ามันแค่ยืนจ่ายยาคนคงเป็นเภสัชกันทั่วโลกแล้ว เบื้องต้นคือแทบกระอักเลือด น้ำตาจะไหลออกมาเป็นยา คนเรียนเภสัชได้นี่สุดยอดจริงๆค่ะ😭
ในประเทศที่เจริญแล้ว เช่น USA หมอจะแค่ตรวจร่างกาย วินิจฉัยเท่านั้น และจะให้ใบสั่งยาไปซื้อยาที่ร้านขายยา จะไม่ข้ามอาชีพกันค่ะ
มันต้องสู้จริงๆๆครับ..สู้มากๆ..หากต้องซักต้องทราบประวัติคนไข้จริงๆที่เราคิดว่าเขาคือผู้ป่วย..ด้วยใจเราอยากให้หายตั้งเเต่เเรกเริ่มป่วย..ไม่จำเป็นต้องให้ป่วยมากจนต้องไปโรงบาล..#และเภสัชหากจะอยู่อย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรีในร้านยาก็ต้องอ่านเรื่องโรคเพิ่มเติมที่จำเป็นต้องใช้ในร้านยา...
ฐานะคนไข้ ถ้าอาการเดิม เหมือนเดิม หมอสั่งยาเดิม หลายรอบ ๆ หรือ โรคทั่ว ๆ ไป
รับยาจาก หมอยา เลยทีเดียว ก็ดีกว่าไปทรมาณรอ หมอ หมอ ก็ไม่น่าจะต้องมาเสียเวลาตามอาการคนอื่น กับโรคนิด ๆ หน่อย ๆ
6:27 ตลอดเวลาชีวิตที่ผ่านมา ผมรู้สึกดีที่ได้คุยกับเภสัชกรนะครับ คิดว่าต่างจากหมอตรงที่ เขามีเวลาคุยกับเรามากกว่า อธิบายเหตุผลอะไรให้เราฟังมากกว่าหมอ เลยไม่ค่อยมีประเด็นอะไร ดันรู้สึกชอบไปปรึกษาเขามากกว่าหมออีก 555
ต้องขอบคุณเภสัชที่ทำให้ได้ยาตรง จำนงนถูกและไม่เกินจำเป็น จากประสลการณ์หมดสั่งยาเกินจำเป็น และจำนวนไม่ครบ
คุณเภสัชกรในสายตาเรา คือคนที่รู้ชัดว่า ยาแต่ละตัว ต้องกินหรือใช้อย่างไรถึงปลอดภัย อย่างเราต้องใช้ยาพ่นจมูก กับยาสูด เช้าเย็น ตอนแรกที่จะได้ใช้ หมอก็จะให้เราไปเรียนการใช้กับเภสัชก่อน
และหลังจากนั้น เวลาไปรับยาหลังหาหมอ บางครั้งเภสัชก็จะทบทวนการสูดและพ่นของเรา และทบทวนการสั่งยาของหมอเทียบกับยาที่เราต้องกินอยู่แล้วว่ามันจะมีข้อห้ามในการใช้คู่กันไหม
ส่วนเภสัชตามร้านยา ก็แนะนำยาที่ตรงตามอาการ ได้ดี แต่ก็สู้พ่อเรา ผู้กินยาตามใจฉันไม่ได้ ให้เราไปซื้อแล้วไม่ได้ยาที่อยากได้ ก็จะดื้อไม่ยอมกิน ก็ต้องไปหาทางให้ได้ยาที่ตัวเองอยากกินอยู่ดี
ส่วนตัวที่ไปซื้อยาใช้เอง เราบอกโรคประจำตัวแล้ว และเขียนบอกด้วย แต่เขาก็ยังจ่ายยาที่มันอาจจะมีผลต่อโรคประจำตัวเรา(อันนี้เจอในใบกำกับยาแต่คิดว่า เภสัชรู้แล้ว แต่ก็ยังให้มา ผลมันคงน้อยมาก) รอบนั้นโรคเรากำเริบ สุดท้ายเลยต้องไปโรงพยาบาล
อยากให้พูดถึงวิชาชีพอื่นบ้าง เช่น รังสี, เทคนิคการแพทย์, กายภาพ บางคนเห็นใส่เสื้อขาว เรียกหมอหมด ทั้งๆที่เราทุกคนทำงานเพื่อผู้ป่วยเหมือนกัน
เกาหลีก็เป็นค่าาา รพ คลินิก ร้านยา แยกกันค่ะ แต่ส่วนมากจะอยู่ใกล้ๆกัน
มีแค่ที่ไทยนี่แหละ รวมเบ็ดเสร็จ ขนาดนั้นยังอวยว่า ชาติไทยดีกว่าที่อื่น โดนกล่อมกันนักมาก ละจนท จะตายห่ากันอยู่แล้ว งานมันหนักไป
มี อังกฤษ กับ ออสเตรเลีย มั้งครับร้านยาจ่ายยาโรคเบื้องต้น กับ ออกใบรับรองแพทย์เบื้องต้นได้
สมัยก่อนที่มียา Actifed ลดน้ำมูก จะชอบมากเลย กินแล้วหลับสบาย ลดจมูกบวม และทำให้ง่วงมาก ไม่ต้องพึ่งยานอนหลับเลยค่ะ
มาเเล้วครับบบ🎉🎉
สงสัยว่า ทำไมก่อนจ่ายยาต้องถามว่าแพ้ยาอะไรทุกครั้ง ทำไมถึงไม่คีย์ในประวัติคนไข้เลย ถ้าเคสผู้สูงอายุอาจหลงลืม หรือเคสฉุกเฉิน คนไข้ไม่มีสติ ก็ตอบไม่ได้
ข้อมูลที่คีย์ก็มีอยู่แล้วครับ
การถามจะเพิ่มข้อมูลให้ถ้าเคยไปแพ้ยาจากที่อื่นมา หรือยาที่เพิ่งได้ใหม่ไปมีอาการแพ้
เรื่องหลงลืมหรือฉุกเฉินคือสุดวิสัยอยู่แล้วครับ
ทุกขั้นตอนคือความปลอดภัยของคนไข้ครับ
หลักๆเลยคือเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยค่ะ การแพ้ยาซ้ำมีอันตรายมากๆจนอาจถึงชีวิต จริงๆใน รพ ที่ผู้ป่วยรักษามีบันทึกประวัติการแพ้ยาไว้ค่ะ แต่ที่เจอบ่อยๆคือบางครั้งผู้ป่วยไปรับการรักษาที่อื่น แล้วมีประวัติแพ้ยาตัวอื่นเพิ่มที่ไม่เคยลงในระบบมาก่อนค่ะ ปัจจุบันข้อมูลจากทุก รพ ยังไม่เชื่อมกัน จึงจำเป็นต้องถามทุกครั้งค่ะ และอีกเหตุผลที่ถามเพื่อย้ำเตือนคนไข้ให้ทราบถึงยาที่ตัวเองแพ้ เพราะมีหลายครั้งที่ในระบบบันทึกไว้แต่นานมากแล้ว ผู้ป่วยบางท่านจำไม่ได้ด้วยซ้ำว่าแพ้ยาอะไร โดยเฉพาะเคสที่คุณว่าคือเคสผู้สูงอายุที่อาจหลงลืม เภสัชกรก็จะช่วยย้ำเตือนความจำได้ค่ะ ส่วนเคสฉุกเฉินหรือคนไข้ไม่มีสติ ยาที่ใช้มักจะเป็นยาฉุกเฉิน (Emergency Drugs) ซึ่งผู้ป่วยโดยทั่วไปส่วนใหญ่มักไม่เคยใช้ และเมื่อเทียบผลดี-ผลเสีย ถ้าเป็นเคสฉุกเฉินจริงๆ ต้องมีการติดตามอาการอยู่แล้วค่ะ ซึ่งก็มีการเฝ้าระวังการแพ้ยาอย่างใกล้ชิดด้วยเช่นกันค่ะ
ชวนเภสัชมาได้เลยนะคะ แล้วก็ขอบคุณมากๆที่มาพูดถึงการทำงานของเภสัชต่างๆที่ทำให้คนทั่วไปได้รับรู้มากขึ้น และพูดถึงความมีคุณค่าของวิชาชีพนี้ในเมืองไทยอยู่ เพราะเรื่องต่างๆที่เกิดขึ้นทำให้ท้อใจในการเป็นเภสัชในไทยเหลือเกินค่ะ
เภสัชบางคนก็ไม่อยากอธิบายถามไปทำหน้ายักษ์ไปด้วยไม่เต็มใจแนะนำค่ะ
ก็ภาพจำคือเภสัชจ่ายยาค่ะ เพราะเคยท้วงเรื่องยาความดันแม่ หมอจ่ายมา 4 ตัวพร้อมกัน คือท้วงไปว่ากินพร้อมกัน 4 ตัวหรอคะ มันเยอะไปมั้ย เภสัชตอบว่าหมอจ่ายมาแบบนี้ค่ะ
มีอีกครั้งคือแม่เป็นเก๊าส์ แต่ทานยาเก๊าส์กี่ครั้งไตวายเฉียบพลันทุกครั้ง จนหมอศัลยกรรมบอกห้ามใช้เด็ดขาด ไปหาคุณหมออายุรกรรมไม่แน่ใจผิดพลาดประการใด ทำไมสั่งยาเก๊าส์มา ทั้งที่ไม่มีอาการเก๊าส์แล้ว ซึ่งท้วงเภสัชไป คุณเภสัชตอบกลับมาว่าคุณหมอจ่ายยามาแบบนี้ แล้วไม่รีเช็คติดต่อคุณหมอด้วย ยังยืนยันให้ยาคนไข้กลับบ้าน
ก็อึ้งๆ ค่ะ
เพราะเภสัชกร ไม่ต้องรับผิดชอบหลังจากจ่ายยา เทียบเท่ากับต่างประเทศครับ
ใช้ chat gpt ก็สามารถถามอาการ ถามโรค และวิธีรักษาได้ค่ะ
ถ้าอาการหนักแนะนำไปหาหมอหรือเภสัชดีกว่าครับ เพราะบางอย่างอาการคล้ายกัน บางอย่างต้องตรวจสารน้ำต่างๆเพื่อวินิจฉัยโรค ChatGPT ก็ช่วยได้บางส่วน แต่ปกติถ้าอาการไม่หนักมาก ก็ไปหาเภสัชเลยดีกว่าจะได้รับยาและวิธีดูแลตัวเองที่ค่อนข้างครบกว่าด้วยครับ
แบบนี้ ยกเลิกคณะแพทยศาสตร์เลยดีกว่าไหม ?
@ เป็นแค่ข้อมูลเบื้องต้น ในการเข้าใจโรคที่เป็น ไม่ได้บอกว่ารักษาได้ มองโรคในแง่ร้ายไปป่ะ
รอเทคนิคการแพทยครับพี่ถามใครก็ไม่ค่อยมีคนรู้จักครับเสียใจ