ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
#สรุปเนื้อหาผู้รับเหมา หรือผู้ประกอบธุรกิจ รับจ้างก่อสร้างอาคารเพื่อการอยู่อาศัย ต้องรับผิดเพื่อความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้น เนื่องจากความชำรุดบกพร่องของอาคาร รั้ว หรือกำแพง ดังนี้1. ประกัน 5 ปี โครงสร้างของอาคาร ผรม.ต้องรับผิดภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับวันที่ผู้บริโภครับมอบอาคาร (สัญญาจะกำหนดมากกว่านี้ก็ได้)#โครงสร้างของอาคาร เช่น เสาเข็ม ฐานราก เสา คาน พื้น โครงหลังคาและผนังที่รับน้ำหนัก เป็นต้น 2. ประกัน 1 ปี ส่วนควบและอุปกรณ์อันเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของอาคาร รั้ว และกำแพง ผรม.ต้องรับผิดภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับแต่วันที่ผู้บริโภครับมอบอาคาร (สัญญาจะกำหนดมากกว่านี้ก็ได้)#ส่วนควบและอุปกรณ์ ที่ไม่ใช่ตามข้อ 1. เช่น งานพื้น และตกแต่งพื้น งานฝ้าเพดาน งานมุงหลังคา งานประตู หน้าต่าง งานทาสี งานไฟฟ้า งานประปา เป็นต้น
📌ส่วนท่านใดพบว่าตนเองประสบปัญหาคล้ายกับเรื่องเล่าข้างต้น หรือต้องการขอคำปรึกษาเกี่ยวกับคดีความ การแก้ไขหนี้ หรือการปรับโครงสร้างหนี้ สามารถขอคำปรึกษาเบื้องต้น ได้ที่ช่องทางนี้นะครับ Line : lin.ee/MbBWvDtหรือ กดติดตามเพจผมได้ที่ facebook.com/storytellingbypichailawyer
แล้วถ้าเป็นระบบน้ำล่ะครับตอนนี้มีน้ำรั่วซึมจากชั้น 2 ลงมาชั้นล่างครับ อยู่ในเงื่อนไขการรับประกันไหมครับ อายุบ้านหลังนี้ประมาณ 2 ปีครับผม
ในเบื้องต้น ถ้าดูตามประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการรับจ้างก่อสร้างอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา นั้น ผมมองว่า ระบบน้ำ เป็นส่วนควบหรืออุปกรณ์ที่สำคัญของบ้าน จึงจะได้รับประกัน 1 ปี นับแต่วันที่ส่งมอบบ้าน ครับทีนี้ ต้องไปดูในสัญญาก่อสร้างหรือสัญญาซื้อขายอีกทีว่ามีการกำหนดการรับประกันไว้สูงกว่าประกาศตามกฎหมายหรือไม่ครับ ถ้ากำหนดไว้สูงกว่าก็เรียกร้องให้รับผิดชอบได้ครับผม
สงสัยครับ เป็นโรงงานทั่วไป แล้วรับงานจ้างทั่วไปก่อสร้างบ้าน(บ้านโครงสร้างเหล็ก) ออกปากออกเอกสารไว้ว่าประกันโครงสร้าง 10 ปี แต่พอถึงจุดหนึ่งไม่ได้ดำเนินการเกี่ยวกับสร้างบ้านต่อ แบบนี้จะโดนฟ้องได้หรือไม่ครับ
คำถามนี้ดีมากเลยครับ ผมคิดว่ามีข้อพิจารณา 2 เรื่องครับ1.สิ่งก่อสร้างดังกล่าว หากเป็นโรงงาน อาจไม่เข้าข่ายเป็นอาคารเพื่ออยู่อาศัย จึงไม่ต้องควบคุมตามประกาศฯ แห่งพรบ.คุ้มครองผู้บริโภค2.ส่วนประเด็นที่ผู้รับจ้างก่อสร้าง รับประกันโครงสร้าง 10 ปี เป็นเอกสาร สามารถใช้บังคับตามกฎหมายกันได้ครับ เว้นแต่มีกรณีตามคำถามของท่าน คือ ก่อสร้างไม่เสร็จ หรือไม่ได้ก่อสร้างต่อ หากมีปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง ก็ต้องพิจารณากันต่อไปว่า ความเสียหายเกิดจากผู้รับจ้างก่อสร้างรายแรก หรือผู้รับจ้างก่อสร้างที่มาก่อสร้างต่อจนจบครับตอบเบื้องต้นได้ประมาณนี้นะครับ หากมีข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเล่ารายละเอียดมาอีกได้ครับ ขอบคุณสำหรับคำถามที่ดีครับ ^_^
#สรุปเนื้อหา
ผู้รับเหมา หรือผู้ประกอบธุรกิจ รับจ้างก่อสร้างอาคารเพื่อการอยู่อาศัย ต้องรับผิดเพื่อความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้น เนื่องจากความชำรุดบกพร่องของอาคาร รั้ว หรือกำแพง ดังนี้
1. ประกัน 5 ปี โครงสร้างของอาคาร
ผรม.ต้องรับผิดภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับวันที่ผู้บริโภครับมอบอาคาร (สัญญาจะกำหนดมากกว่านี้ก็ได้)
#โครงสร้างของอาคาร เช่น เสาเข็ม ฐานราก เสา คาน พื้น โครงหลังคาและผนังที่รับน้ำหนัก เป็นต้น
2. ประกัน 1 ปี ส่วนควบและอุปกรณ์อันเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของอาคาร รั้ว และกำแพง
ผรม.ต้องรับผิดภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี นับแต่วันที่ผู้บริโภครับมอบอาคาร (สัญญาจะกำหนดมากกว่านี้ก็ได้)
#ส่วนควบและอุปกรณ์ ที่ไม่ใช่ตามข้อ 1. เช่น งานพื้น และตกแต่งพื้น งานฝ้าเพดาน งานมุงหลังคา งานประตู หน้าต่าง งานทาสี งานไฟฟ้า งานประปา เป็นต้น
📌ส่วนท่านใดพบว่าตนเองประสบปัญหาคล้ายกับเรื่องเล่าข้างต้น หรือต้องการขอคำปรึกษาเกี่ยวกับคดีความ การแก้ไขหนี้ หรือการปรับโครงสร้างหนี้ สามารถขอคำปรึกษาเบื้องต้น ได้ที่ช่องทางนี้นะครับ
Line : lin.ee/MbBWvDt
หรือ กดติดตามเพจผมได้ที่ facebook.com/storytellingbypichailawyer
แล้วถ้าเป็นระบบน้ำล่ะครับตอนนี้มีน้ำรั่วซึมจากชั้น 2 ลงมาชั้นล่างครับ อยู่ในเงื่อนไขการรับประกันไหมครับ อายุบ้านหลังนี้ประมาณ 2 ปีครับผม
ในเบื้องต้น ถ้าดูตามประกาศคณะกรรมการว่าด้วยสัญญา เรื่อง ให้ธุรกิจการรับจ้างก่อสร้างอาคารเพื่อการอยู่อาศัยเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา นั้น ผมมองว่า ระบบน้ำ เป็นส่วนควบหรืออุปกรณ์ที่สำคัญของบ้าน จึงจะได้รับประกัน 1 ปี นับแต่วันที่ส่งมอบบ้าน ครับ
ทีนี้ ต้องไปดูในสัญญาก่อสร้างหรือสัญญาซื้อขายอีกทีว่ามีการกำหนดการรับประกันไว้สูงกว่าประกาศตามกฎหมายหรือไม่ครับ ถ้ากำหนดไว้สูงกว่าก็เรียกร้องให้รับผิดชอบได้ครับผม
สงสัยครับ เป็นโรงงานทั่วไป แล้วรับงานจ้างทั่วไปก่อสร้างบ้าน(บ้านโครงสร้างเหล็ก) ออกปากออกเอกสารไว้ว่าประกันโครงสร้าง 10 ปี แต่พอถึงจุดหนึ่งไม่ได้ดำเนินการเกี่ยวกับสร้างบ้านต่อ แบบนี้จะโดนฟ้องได้หรือไม่ครับ
คำถามนี้ดีมากเลยครับ ผมคิดว่ามีข้อพิจารณา 2 เรื่องครับ
1.สิ่งก่อสร้างดังกล่าว หากเป็นโรงงาน อาจไม่เข้าข่ายเป็นอาคารเพื่ออยู่อาศัย จึงไม่ต้องควบคุมตามประกาศฯ แห่งพรบ.คุ้มครองผู้บริโภค
2.ส่วนประเด็นที่ผู้รับจ้างก่อสร้าง รับประกันโครงสร้าง 10 ปี เป็นเอกสาร สามารถใช้บังคับตามกฎหมายกันได้ครับ เว้นแต่มีกรณีตามคำถามของท่าน คือ ก่อสร้างไม่เสร็จ หรือไม่ได้ก่อสร้างต่อ หากมีปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง ก็ต้องพิจารณากันต่อไปว่า ความเสียหายเกิดจากผู้รับจ้างก่อสร้างรายแรก หรือผู้รับจ้างก่อสร้างที่มาก่อสร้างต่อจนจบครับ
ตอบเบื้องต้นได้ประมาณนี้นะครับ หากมีข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเล่ารายละเอียดมาอีกได้ครับ
ขอบคุณสำหรับคำถามที่ดีครับ ^_^