ประวัติศาสตร์ 4,000 ปี ของค่า Pi | History of Pi

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 15 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 263

  • @MLHFmath
    @MLHFmath  ปีที่แล้ว +26

    สมัคร Membership! >>> www.youtube.com/@mlhfmath/join

    • @เสวกเอี่ยมทอง
      @เสวกเอี่ยมทอง ปีที่แล้ว

      ตอนนี้มึงคิดว่าฉลาดเพราะมึงเอาความคิดคนโบราณมาดูถูกต่อจากนี้อีกสัก100ปีมึงเองก็กากไอ้ควาย

    • @You_so_wannabe
      @You_so_wannabe ปีที่แล้ว

      @@เสวกเอี่ยมทองบ่นไรไอโj่

    • @ikromsroitamma6420
      @ikromsroitamma6420 ปีที่แล้ว +1

      ​@@เสวกเอี่ยมทอง เป็นอะร๊ายยยยย

    • @Natthabhumi
      @Natthabhumi 6 หลายเดือนก่อน

      เขาทำคริปให้ความรู้มันไปหนักหัวพ่อมุงหรอ

    • @SakuraGaokaOfSiamII
      @SakuraGaokaOfSiamII 3 วันที่ผ่านมา

      ​@@เสวกเอี่ยมทอง กลับมาสิไอ้นี่

  • @cepaallica1730
    @cepaallica1730 ปีที่แล้ว +16

    ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ อย่างนี้นะครับ ผมเป็นคนที่ไม่เก่งคณิตเลย จนตอนนี้อายุเป็นวัยกลางคนแล้ว แต่ก็สนใจเรื่องนี้อยู่เสมอ มีความไม่เข้าใจในวิชาคณิตอยู่ตั้งหลายอย่าง สมัยนี้ดีที่มีสื่อง่ายๆ ให้ดู ขอบคุณแทนคนอื่นที่ได้ดูคลิปนี้ด้วยครับ

  • @KaiyasidKLF
    @KaiyasidKLF ปีที่แล้ว +5

    ดูตามแล้วสนุกและน่าเรียนรู้มากๆเลย ดีใจมากๆที่มีช่องแบบนี้ในภาษาไทย ทำต่อไปนะครับผมมีเงินผมจะรีบมาสมัครเลย เลิฟมาก

  • @catdbb1654
    @catdbb1654 ปีที่แล้ว +18

    ผมเคยหาค่า พายได้โดยบังเอิญครับ ผมลองเอา อินทริเกตแบบกำหนดเขตมาหาพื้นที่วงกลมดู ได้เป็นสมการ 2*integate(rถึง-r) ของ (√r^2-x^2) ถ้าเราแทน r = 1 เป็นวงกลมหนึ่งหน่วยเราก็จะได้ค่าพายครับ หรือ 2*integate(1ถึง-1) ของ (√-x^2) ผมไม่เคยแก้สมการนี้ได้เองนะครับ ผมใช้คอมคำนวณเอาครับ ผลลัพธ์ออกมาก็ =π เลยครับ แต่ผมไม่ได้คิดได้คนแรกนะครับ ผมพึ่งมารู้ที่หลังว่าทีคนเคยคิดแบบนี้ไว้แล้วตอนหลังครับ

    • @pmtjza
      @pmtjza ปีที่แล้ว +4

      วิธีพิสูจน์สูตรของปีทาโกรัสมี 30 กว่ารูปเเบบครับ 😂 อันนี้ผมมาเล่าสู่กันฟัง ไม่แปลกเลยที่ซ้ำกันบ้าง

  • @suvichachapitak
    @suvichachapitak 10 หลายเดือนก่อน +2

    สุดยอดจริงครับ คุณคงเรียนคณิตศาสตร์ได้เร็วมากคับ

  • @anunrattana6583
    @anunrattana6583 ปีที่แล้ว

    ขอขอบคุณ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากเลยนะครับ :)

  • @WijitMahamat
    @WijitMahamat 11 หลายเดือนก่อน

    Thanks!

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  11 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณที่ช่วยอุดหนุนครับ :D

  • @gai_visual1764
    @gai_visual1764 ปีที่แล้ว

    Thanks

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณนะครับ :)

  • @llll2449able
    @llll2449able 10 หลายเดือนก่อน +3

    ดูมาสองคลิป
    ผมนับถือเจ้าของคลิปมากครับ
    เก่งมากๆ ต้องอ่านหนังสือขนาดไหน👍

  • @wisanuvsnnu4504
    @wisanuvsnnu4504 ปีที่แล้ว +15

    ประวัติศาสตร์ดี ข้อมูลดี แต่ว่าไม่ควรเปรียบเทียบกันเพราะเป็นความรู้ที่ต่างกันหลายพันปี และ หากไม่มีคนแรกที่คิด ก็ยากที่คนสุดท้ายจะสำเร็จ เรายังใช้ชีวิตกับพื้นฐานความรู้เหล่านี้ของคนเมื่อหลายพันปีก่อนทิ้งไว้ให้ ต้องขอบคุณที่เขาคิดแล้วเราได้ใช้ เพราะการคิดไพ 35 หลักวันนั้นกลายเป็นพื้นฐานของควอนตัมคอมพิวเตอร์ นั่นคือ 25ปี ที่เขาเสียสละให้องค์ความรู้นี้ผมมองว่าคุ้มค่า ขอบคุณคลิปดีๆ

    • @wd4409
      @wd4409 ปีที่แล้ว +13

      การเปรียบเทียบเป็นเรื่องปกติ
      แม้แต่คุณก็กำลังเปรียบเทียบอยู่นะ

    • @oooeeeppp
      @oooeeeppp ปีที่แล้ว

      แล้วทำไมถึงไมควรืถ้าเฟตุผบที่ว่าไม่มีคนสมัยก่อนคิดสมัยรี้ไม่ทีใช้ นี่ไม่คิดว่าเป็รเฟตุผขที่ควรให้ในกรณีไม่คสรเปรียบเทียบ

    • @rotjakonx6878
      @rotjakonx6878 ปีที่แล้ว

      พี่งงหรือไม่เข้าใจคลิปหรือเปล่าครับ 555555

    • @montonyodpunya4229
      @montonyodpunya4229 ปีที่แล้ว +2

      ไม่รู้เรื่อง ?@@oooeeeppp

    • @nigoolchumsena9950
      @nigoolchumsena9950 29 วันที่ผ่านมา

      @@wisanuvsnnu4504 ดูให้เป็นความรู้ อยากเห็นที่มาที่ไปมันก็ต้องยกมาเปรียบกัน

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับสำหรับความรู้

  • @fr4zce120
    @fr4zce120 ปีที่แล้ว +5

    คลิปดีมากๆ เลย ทำต่อไปเรื่อยๆ นะครับ

  • @KraPaoMuaKrob
    @KraPaoMuaKrob ปีที่แล้ว +10

    ผมเคยเห็นต่างชาติเค้าใช้ 355/113 เขาบอกว่ามันถูกต้องถึงทศนิยมหลักที่ 6 เลยครับ

  • @zerotow451
    @zerotow451 11 หลายเดือนก่อน

    เป็นคลิปที่ดูสนุกดีครับ

  • @YB-bl1cc
    @YB-bl1cc 5 หลายเดือนก่อน +2

    เเล้วเราจะรู้ได้ไงครับว่าค่าที่เขาหาได้ถูกครับ มีวิธีตรวจสอบยังไงครับ

  • @chanudomsuwankaison5025
    @chanudomsuwankaison5025 ปีที่แล้ว +3

    ตอนนี้ผมอยู่ม.6แล้ว สนุกกับวิชาคณิตศาสตร์ มากเลยครับ ขอบคุณครับที่ทำคลิปแบบนี้มา
    ผมชอบซีรี่ย์ เลิกท่อง มากเลยครับ
    และถ้าพี่มีเรื่องน่าสนใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ในวิชาฟิสิกส์ก็คงดีนะครับ

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว +1

    ตอนที่ผมคิด..#เอกภพเป็นกลางสสารเคลื่อนผ่านความไม่ต่อเนื่องเวลาของกาลเวลา..ออกผมก็เป็นบ้าคน😅😅😅ดีใจเกินทุกวันนี้เฉยๆเเละ😅😅ข้อความแปลได้เลยนะ..แปลยังไงก็เห็นภาพ😊มันคือรูหนอนย้ายจักวาลลงมาผิวโลก
    #สสารที่เลียนแบบกันตั้งแต่กำเนิด..❤❤❤
    #ผมเชื่อว่าทุกพลังงานที่เอกภพสร้างเราสามารถเลียนแบบได้..

    • @nattapolpunpaen2539
      @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว +1

      จะรอก็แต่ผู้ทรงภูมิปัญญา..เข้ามาเห็นที่ผมเขียนไว้ในยูทูป😊

  • @ครูไก่โต้งฉัตรชัยดอนโคตรจั-ฟ6ช

    ขอบคุณมากจ้า

  • @Chatchade
    @Chatchade ปีที่แล้ว

    อยากให้พี่ทำที่มามี่ไปของประจุไฟฟ้า กฎของคูลอมบ์ครับพี่ ผมโคตรชอบสิ่งที่พี่ทำเลยดูทุกคลิป

  • @tankantee
    @tankantee 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับ

  • @RRDWWKE
    @RRDWWKE ปีที่แล้ว

    ชอบๆ ชอบมากเข้าใจง่าย😊😊 เเต่ขอแนวฟิสิกส์สาดหน่อยได้ไหม อยากเข้าใจฟิสิกส์บาง😢

  • @suthonlimchawalit9257
    @suthonlimchawalit9257 ปีที่แล้ว

    บรรยายดีมากครับ ไม่เยิ่นเย้อ เข้าประเด็นเลย

  • @yotesvp6539
    @yotesvp6539 8 หลายเดือนก่อน

    สุดงับ🎉🎉🎉

  • @gordonsimon2038
    @gordonsimon2038 ปีที่แล้ว

    ยอดเยี่ยม

  • @tomtutormathonline1818
    @tomtutormathonline1818 ปีที่แล้ว

    เล่าเก่งมาก

  • @DeH-v4r
    @DeH-v4r ปีที่แล้ว

    ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 92ปี จวบจนปัจจุบัน ยายออก มาได้2ปี 2477,11/13,33,55 ภาษาไทย พยัญชนะไทย44ตัว 22 ขึ้นไป

  • @pakorsompan1045
    @pakorsompan1045 ปีที่แล้ว +1

    สงสัยอยู่อย่างนึง ถ้าหาค่าพายได้มากขนาดนั้น เราจะรู้ได้ไงว่าค่าที่หาได้มันถูกต้อง

  • @NickyDIY101
    @NickyDIY101 ปีที่แล้ว +4

    สงสัยลึกๆว่า ค่าpi จริงๆมันเป็นตรรกะยะ แบบที่โลกปัจจุบันยังเข้าไม่ถึง เป็นไปได้มั้ยครับ อาจไม่ใข่ระบบบวกลบคูณหารหรือ แบบคณิตบนโลกของเรา
    รู้สึกว่าวงกลมสวยๆ มันไม่น่าเกิดจากจำนวนทศนิยมไม่ซ้ำ หรือจริงๆมันเป็น รากที่x ของy สักอย่าง

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว +4

      ด้วยวิธีที่เราใช้นิยาม pi กับนิยามจำนวนอตรรกยะ ยังไง pi ก็เป็นอตรรกยะครับ
      แต่ถ้าเราอยู่ในเอกภพอื่น ที่ space ไม่ได้เรียบมากๆแบบของเรา ค่า pi จะเป็นเท่าไหร่ก็ได้ครับ
      นึกภาพแทรมโพลีนที่ยุบตัวลงไปนิดนึง มันก็จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าตอนที่มันไม่ยุบ แต่ว่ามีเส้นรอบวงยาวเท่าเดิมครับ

    • @ภาณุวัฒน์ธานา
      @ภาณุวัฒน์ธานา ปีที่แล้ว

      ไม่แน่นะ ค่า 3 ของชาวบาบิโลน อาจจะไม่เท่ากับ 3.0000…. ของโลกปัจจุบันก็ได้

  • @gai_visual1764
    @gai_visual1764 ปีที่แล้ว

    ช่องนี้มีซีรี่สอนเลขไหมครับ ชอบการนำเสนอมากๆ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว

      คงจะไม่ได้เน้นสอนการบ้าน หรือสอนให้ไปสอบครับ จะเน้นสอนให้เข้าใจ เห็นภาพกว้างๆมากกว่า

    • @gai_visual1764
      @gai_visual1764 ปีที่แล้ว +1

      หมายถึงสอนเป็นสเตป เท่านั้นแหละครับไม่ได้คาดหวังให้เป็นติวเตอร์ 555

    • @Jihad_Bankai
      @Jihad_Bankai ปีที่แล้ว

      @@MLHFmathสอนพิสูจน์สูตร คณิต ฟิกสิกส์ ม4-6 คับ😊

    • @Jihad_Bankai
      @Jihad_Bankai ปีที่แล้ว

      @@MLHFmathตอนนี้ อยากรู้การพิสูจน์ของ F=GMm/r^2 มากครับ 😊

  • @YCGator
    @YCGator ปีที่แล้ว +1

    ยอมรับเรื่องคณิตศาสตร์ ผมไปได้ไกลแค่ บวก ลบ คูณ หาร 555+😅😅😅

  • @sodasouth8032
    @sodasouth8032 ปีที่แล้ว

    2:00 Usumaki byeuku

  • @ร้านแคทฯ
    @ร้านแคทฯ ปีที่แล้ว +1

    ทศนิยมจำนวนหลักล้าน ต้องมีประโยชน์แน่ เมื่อเราเริ่มเดินทางออกนอกโลกไปไกลๆ องศา มุม พื้นที่ระหว่างดวงดาว มัน ขนาดไหน

  • @carrotnaa5322
    @carrotnaa5322 ปีที่แล้ว

    อยากให้เล่าเรื่อง ค่าคงที่ e ให้ฟังหน่อยครับ ไปฟังพี่ป๋องแป๋งก็ยังไม่เคลียร์เท่าไหร่ อยากรู้ว่ามันใช้ทำอะไรได้บ้างอ่าครับ ส่วนตัวไม่เคยได้ใช้ค่าคงที่eเลย จะใช้แค่ตอนสอบแคลคูลัส

    • @chontupadongthuang1454
      @chontupadongthuang1454 ปีที่แล้ว

      ตัวอย่างการใช้ค่า e สำหรับวิศวกรรมสื่อสารก็คือเเปลงฟูเรียร์ครับ จะเเปลงสัญญาณทางเวลาให้เป็นสัญญาณที่อยู่ในโดเมนความถี่เพื่อวิเคราะห์ว่าสัญญาณมีองค์ประกอบความถี่อะไรบ้าง นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการคำนวณค่าอื่น ๆ อีกมากมายในทางวิศวกรรม เช่นการสร้างฟังก์ชันการเเจกเเจงข้อมูลเเบบเกาส์เซียน หรือระฆังคว่ำ, การมอดูเลชันสัญญาณดิจิทัล ฯลฯ

  • @kpkidpan3720
    @kpkidpan3720 ปีที่แล้ว

    อยากรู้ครับ ที่เห็นทศนิยมหลายๆหลัก เค้าพิสูจน์ยังไงว่าถูกถึงหลักไหน หรือหาสมการนั้นไปเรื่อยๆแล้วค่อยมาเก็บผลต่อทีหลัง

  • @11.somponsosawang41
    @11.somponsosawang41 ปีที่แล้ว

    ผมเป็นคนชอบเรื่องคณิตศาสตร์มากกกกแล้วในไทยช่องที่จะการอธิบายให้น่าสนใจทั้งยังมีภาพแระกอบต่างให้สวยขนาดนี้หายากมาก กดติดตามกันสิ่ครับรออะไร ไม่ต้องดูเอาเข้าใจก็ได้ดูเอาสนุกยังได้เลย🎉

  • @tonydebua
    @tonydebua ปีที่แล้ว +1

    7:28 ที่เริ่มการหาค่า Pi ของ Newton .. นิวตันทราบได้อย่างไรครับว่าพื้นที่วงกลม = Pi . r^2 ถึงเริ่มต้นจากตรงนั้น

    • @You_so_wannabe
      @You_so_wannabe ปีที่แล้ว +1

      พิมพ์ในยูทูปเลยครับ“Area of a circle, formula explained”อันนี้ผมคิดว่าเป็นการพิสูจน์ที่ง่ายที่สุดแล้วละครับ

    • @tonydebua
      @tonydebua ปีที่แล้ว

      @@You_so_wannabe เป็นคลิปที่ดีครับ อย่างนี้แสดงว่าโลกของเรารู้จักสูตรพื้นที่วงกลมมาตั้งแต่ก่อนยุคนิวตันแล้ว นิวตันถึงเริ่มต้นจากสูตรนี้เพื่อมาหาค่า Pi

    • @chittapolsooksanit7535
      @chittapolsooksanit7535 ปีที่แล้ว +2

      ผมคิดและเดาว่านักคณิตศาสตร์ทราบอยู่แล้วครับว่าสูตรคำนวณพื้นที่วงกลมคืออะไร เพราะเขาเทนค่าเส้นรอบ/ศก. = pi แต่นิวตันแค่ต้องการพิสูจน์ค่า pi ให้ใกล้เคียงที่สุดเท่านั้นเอง

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว +3

      เรื่องพื้นที่วงกลมนี่ จริงๆแล้วมาก่อนค่า pi อีกครับ
      ที่อาคีมีดีสเค้าวาดรูปหลายเหลี่ยมครอบวงกลม จริงๆแล้วก็เพื่อหา พท. วงกลมครับ ซึ่งเราเอามาตีความเป็นค่า pi อีกทีนึง

  • @มงคล-ฌ1ข
    @มงคล-ฌ1ข ปีที่แล้ว +1

    อีกนานเลยงะ

  • @bingo-o4v
    @bingo-o4v ปีที่แล้ว

    อยากให้ทำคลิปเเนวเล่าเรื่องอีก

  • @NongJJ0307
    @NongJJ0307 6 หลายเดือนก่อน +1

    11:24 ข้าม😅

  • @suraponinjumnong6089
    @suraponinjumnong6089 ปีที่แล้ว

    ผมคิดได้จริงๆ อ่านเรื่องลิขสิทธิ์ ถ้าเป็นสูตรไม่สามารถจดได้ สูตรของผมจะยืนยันได้ว่าสูตรค่าPi หาได้จากธรรมะของพระองค์ท่านจริงๆ และไม่ว่าใครจะหาได้หลักละเอียดที่เท่าไหร่สูตรผมจะถูกกว่าเขา2-4หลัก(ต้องพิสูจน์ก่อนเป็นเพียงความคิดผม)ครับผม ส่วนอีกสูตรจะสามารถกำหนดทศนิยมได้เลยว่าตัวเลขนั้นคืออะไร (อันนี้คิดเองไม่ได้ใช้ธรรมะ แต่ก็มีส่วนเกี่ยวต่อเนื่องกันครับผม)

    • @Jihad_Bankai
      @Jihad_Bankai ปีที่แล้ว

      ค่า Pi มีสูตรว่าอะไรครับ งง

    • @tirajetwangngae5523
      @tirajetwangngae5523 ปีที่แล้ว

      อะไร๊

    • @antionec5650
      @antionec5650 2 หลายเดือนก่อน

      อะไรเนี่ย

  • @redgameth2945
    @redgameth2945 11 หลายเดือนก่อน

    พี่ครับทำคลิปเกี่ยวกับว่าการนำค่าpiมาเป็นสูตรได้ไหมครับ
    ผมสงใสว่าสมการวงกลมต่างๆเขาคิดมาจากอะไรนะครับ ทำไมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เกิดจากr²พอคูณpiเข้าไปแล้วเป็นวงกลม ขอบคุณครับ

  • @PPP-NSWER
    @PPP-NSWER ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับคลิปที่มีทั้งสาระดีๆและวิธีการนำเสนอที่ไม่เครียดจนเกินไปนะครับ ขออนุญาตเสนอเรื่อง Quantum Teleportation นะครับ🫶🏻

  • @ktbaccount695
    @ktbaccount695 ปีที่แล้ว

    สุดยอดคนไทยชาติไทยทองคำตกไปอยู่ชาติทั่วโลกที่เป็นมิตรจริงแท้ของคนไทยชาติไทยมีน้ำใจเผยแพร่ทองคำคุณค่าทองคำมีมิตรชาติทั่วโลกจริงสุดยอดคนไทยชาติไทยจริง

  • @AnupatChimpan
    @AnupatChimpan ปีที่แล้ว +3

    ดูจบผมแบบเยดเข้ แคล ม.6 ที่จารย์ผมสอนไม่รู้เรื่อง พี่ทำให้ผมเข้าใจในเวลาไม่ถึง 20 นาที โคตรง่ายยย ลองทำโจทย์แพท 1 รู้สึกว่าสามารถทำไปให้ถูกทางได้เลย ฟินมากตอนนี้😊😊

  • @pixelchaaa
    @pixelchaaa ปีที่แล้ว +6

    . __
    ตัวนี้>> TJ (ให้ดูติดกัน) ปมเรียกว่าค่า พาย ซึ่งมีค่าประมาณ 22 ส่วน 7 นะครับ เขียนได้ว่า
    22
    -----
    7
    หรือ 3.14 นะครับ

    • @pixelchaaa
      @pixelchaaa ปีที่แล้ว +1

      เอาแค่นี้เหละ เผื่อไปเผลอสปอยคริป 😅😅😅

  • @kriangkraiSteve
    @kriangkraiSteve ปีที่แล้ว +1

    สงสัยว่า 4ล้านล้่นเหลี่ยม นี่วาดยังไง

  • @pongtarattantiapigul2813
    @pongtarattantiapigul2813 ปีที่แล้ว

    ไม่แน่ใจว่าสมัยนิวตัน มีเครื่องหมาย integrate หรือเปล่าครับ

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว +1

      นิวตันมีสัญญลักษณ์แบบของเค้าเอง ที่ไม่เหมือนกับที่เราใช้ตอนนี้ครับ

    • @Icterman
      @Icterman ปีที่แล้ว +1

      ก็อทฟรีท วิลเฮ็ล์ม ฟ็อน ไลบ์นิทซ์ (ชาวเยอรมัน: Gottfried Wilhelm von Leibniz) เป็นหนึ่งในสองผู้คิดค้นวิชาแคลคูลัส ร่วมกับช่วงเวลาเดียวกับนิวตัน ระบบเครื่องหมายของวิชาแคลคูลัสที่เราใช้งานอยู่ในปัจจุบันคือระบบของไลบ์นิทซ์ครับ

    • @pongtarattantiapigul2813
      @pongtarattantiapigul2813 ปีที่แล้ว

      @@Icterman ใช่ครับผมก็จำได้ว่าไลนิสเป็นคนคิดเครื่องหมายที่เราใช้กัน ส่วนของนิวตัน ใช้คนคิดยุ่งยากมาก เหมาะกับคอมพิวเตอร์

  • @Moodeng-r2e
    @Moodeng-r2e ปีที่แล้ว

    ผมสนใจเกี่ยวกับพายมากๆครับ

  • @suddhipong
    @suddhipong 3 หลายเดือนก่อน

    หากย้อนเวลาได้จะตั้งใจเรียน คณิตศาส ม.ปลาย

  • @he700cc6
    @he700cc6 ปีที่แล้ว

    ดูจบ ผมก็สนุก ระคนกับความศร้านิดๆ ตรงที่คำนวนๆเยอะ ลองใจกับตัวเองดู ถึงพนุนามก็ยังร้องอ่อๆพอเข้าใจ แต่ไปถึงแคลคูลัส ผมต้องจำใจกดข้าม เพราะเรียนไม่ถึงวิชานี้ เศร้าตรงนี้แหละ ที่ส่งตัวเองไปเรียนถึึงตรงนั้นไม่ได้ 55555+

    • @Icterman
      @Icterman ปีที่แล้ว

      ศึกษาเพิ่มเติมได้ครับ ผมก็ศึกษาเพิ่มเติมเอา ทั้งแคลคูลัส สถิติ ฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์ ฟิสิกส์อนุภาค บัญชี Excel การเขียนสคริปต์ การนำเสนอ การตัดต่อ การถ่ายภาพ ฯลฯ

  • @arynn_chan
    @arynn_chan ปีที่แล้ว

    ใช้ 22/7 บ่อยมาก เพราะมันตัดเลขง่ายดี 555555

  • @NickyDIY101
    @NickyDIY101 ปีที่แล้ว

    ตอนเรียน แคล1,2,3 ในมหาลัยก็เรียนนะ แต่ไม่ได้รู้สึกเพลิดเพลินเหมือนฟังคลิปนี้

  • @backroomgamerth1742
    @backroomgamerth1742 ปีที่แล้ว +2

    3.1415926535897932384626433832795028841971693993751058209749445923078164062862089986280348253421170679821480865132823066470938446095505822317253594081284811174502841027019385211055596446229489549303819644288109756659334461284756482337867831652712019091456485669234603486104543266482133936072602491412737245870066063155881748815209209628292540917153643678925903600113305305488204665213841469519415116094330572703657595919530921861173819326117931051185480744623799627495673518857527248912279381830119491298336733624406566430860213949463952247371907021798609437027705392171762931767523846748184676694051320005681271452635608277857713427577896091736371787214684409012249534301465495853710507922796892589235420199561121290219608640344181598136297747713099605187072113499999983729780499510597317328160963185950244594553469083026425223082533446850352619311881710100031378387528865875332083814206171776691473035982534904287554687311595628638823537875937519577818577805321712268066130019278766111959092164201989

    • @nattapolpunpaen2539
      @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว +1

      หัวจะปวด

    • @kcgamingthai4319
      @kcgamingthai4319 10 หลายเดือนก่อน +1

      สุดยอดครับ ผมละขี้เกียจแทน 😂

  • @Foke1989
    @Foke1989 ปีที่แล้ว

    บ้านผมก็มีพายนะอร่อยด้วย😋😋

  • @วิโรจน์เปี่ยมวิริยะ

    นิวตันเจ๋งโคตร

  • @pieak4066
    @pieak4066 ปีที่แล้ว

    จริง ๆ ไม่ใช่แค่ pi. แต่มันคือทุกค่า เช่น 1 m เราก็หาค่าใกล้สุดคือ 0.9999.. m. ไม่ได้

  • @silanithimutrakul2312
    @silanithimutrakul2312 ปีที่แล้ว

    เทพสุดคือสูตรของรามานุจันทร์ใช่ไหม?

  • @user-dv8nh3eg6j
    @user-dv8nh3eg6j ปีที่แล้ว +2

    เสียงไมค์พี่ดูแปลกๆ

  • @necromeowcer
    @necromeowcer ปีที่แล้ว

    นิวตันเปลี่ยนจากช่วง 0 ถึง 1 เป็น 0 ถึง 0.5 มันดีกว่ายังไงเหรอครับ ทำไมถึงดีกว่า ลู่เข้าเร็วขึ้นหรือยังไง

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว

      ลู่เข้าเร็วขึ้นครับ ตอนเราแทนค่ากลับหลังอินทิเกรตเสร็จ แต่ละเทอมมันจะคูณด้วย 1/2^n แทนที่จะเป็น 1^n เราเลยใช้จำนวนเทอมน้อยลงกว่าเดิมเยอะ

  • @IHATEYOUTUBESHORT
    @IHATEYOUTUBESHORT ปีที่แล้ว +1

  • @rutchanontaraporn7441
    @rutchanontaraporn7441 10 หลายเดือนก่อน

    11:24

  • @ChotigaDantarnthong
    @ChotigaDantarnthong 4 หลายเดือนก่อน

    ปกติที่ผมคิด π=22หรือ3.144
    ___
    7

  • @Pause.Asterite
    @Pause.Asterite ปีที่แล้ว

    ทำไมอย่างหลุมดำที่เคยมีมวลมาก่อน
    ถึงมีความเป็น infinity ที่จุด singuraity ครับ

    • @rsujijangrai9670
      @rsujijangrai9670 ปีที่แล้ว

      มวลอัดแน่นจัดจนเปนอนันต์

    • @Pause.Asterite
      @Pause.Asterite ปีที่แล้ว

      @@rsujijangrai9670 เลขมันดันจนถึง infinity ได้เลยหรอครับ

  • @ThePormuch
    @ThePormuch ปีที่แล้ว +1

    รอ

  • @DeH-v4r
    @DeH-v4r ปีที่แล้ว

    มาตรฐาน ของ ประชาคมเสรีภาพโลก

  • @Is-3-1945
    @Is-3-1945 ปีที่แล้ว +1

    ผมอาจเป็นคนต่างจากพวกก็ได้ เพราะผม ป.5

  • @ptchannel6990
    @ptchannel6990 ปีที่แล้ว

    เขาเช็คไงครับว่าถูกต้อง

  • @DeH-v4r
    @DeH-v4r ปีที่แล้ว

    Galaxy ภาษา และอารยธรรมของมนุษย์โลก

  • @Engly6
    @Engly6 ปีที่แล้ว +1

    ผมสามารถจำทศนิยมของค่าพายได้ 10,000 หลัก😉

    • @pattap2826
      @pattap2826 ปีที่แล้ว +1

      ทำไงคับเป็นไปได้ไง

    • @beamteetuch8895
      @beamteetuch8895 ปีที่แล้ว

      ไม่ใช่มนุษย์

    • @woowowkwk
      @woowowkwk ปีที่แล้ว

      @@beamteetuch8895 👽

    • @มีตังค์-ฌ9ส
      @มีตังค์-ฌ9ส ปีที่แล้ว +1

      เกิน😂😂😂😂😂😂😂😂

  • @Achirawat-wz2hk
    @Achirawat-wz2hk ปีที่แล้ว

    π 1:24

  • @doina9112
    @doina9112 ปีที่แล้ว

    แล้วสมัยก่อนมีวิธีตรวจสอบยังไงครับว่าทศนิยมถูกต้องกี่ตำแหน่ง?

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว

      อันนี้ไม่แน่ใจเหมือนกันครับ ว่าเมื่อก่อนเค้าตรวจสอบกันรึเปล่า
      แต่อย่างของ ludolph คือเค้าตั้งใจคิดออกมา 35 หลักแต่แรกเลยครับ

  • @satawatkaewka4769
    @satawatkaewka4769 10 หลายเดือนก่อน

    Calculus 1 เกรด C(W) Calculus 2 เกรด C+ แต่เพิ่งรู้ว่ามันง่ายใกล้ตัวก็คลิปนี้แหละ 😂😂

  • @guitarkatoon
    @guitarkatoon 10 หลายเดือนก่อน

    แล้วเขารู้ได้ไงว่ามันถูกครับ😅

  • @chaninwondsanthia7578
    @chaninwondsanthia7578 ปีที่แล้ว

    ชอบครับความรู้ดีๆแต่ชอบกว่าคือตัวถั่วงอก555

  • @liverpoolfowler7587
    @liverpoolfowler7587 ปีที่แล้ว

    ทำไมไม่คิดอัตราส่วนอื่นที่ไม่ใช่ 22/7

  • @tonyv2381
    @tonyv2381 ปีที่แล้ว +88

    ตัวนี้บ้านผมเรียกว่า ปี้ (pi).

  • @oof-e4s
    @oof-e4s ปีที่แล้ว

    11:24ข้าม

  • @NewNew-ww7md
    @NewNew-ww7md ปีที่แล้ว

    ถ้าสิ่งมีชีวิตบนดวงดาวอื่นๆ ไม่ได้ใช้เลขฐาน 10 ค่าการคำนวณทั้งหมดบนโลกดาวดวงนี้ก็ใช้ไม่ได้
    หรือสัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นบนดาวดวงนี้ ไม่ได้ใช้เลขฐาน 10 เหมือนมนุษย์ การคำนวณผลลัพธ์ก็ไม่เหมือนกัน

    • @moleculemcdhol2208
      @moleculemcdhol2208 ปีที่แล้ว

      เลขฐานไหนก็ได้ผลลัพธ์เดียวกันครับ หลักการของเลขฐาน คือมันอาจจะหน้าตาไม่เหมือนกัน แต่มันสื่อถึงสิ่งเดียวกัน เพราะงั้นแม้คอมพิวเตอร์จะทำงานบนเลขฐาน 2 บริหารข้อมูลด้วยเลขฐาน 16 แต่สามารถแสดงให้มนุษย์เข้าใจได้ในรูปแบบเลขฐาน 10

    • @NewNew-ww7md
      @NewNew-ww7md ปีที่แล้ว

      @@moleculemcdhol2208
      สิ่งมีชีวิตดวงดาวอื่น อาจไม่ได้มีฐานการคิดเหมือนมนุษย์ เพราะค่าต่างๆ บนดวงดาวของเขาไม่ใช่โลกของเรา

  • @praram_phouphitakviengtalasi
    @praram_phouphitakviengtalasi ปีที่แล้ว

    แล้วค่า e คำนวณยังไง

  • @chaiyen3751
    @chaiyen3751 9 หลายเดือนก่อน

    4000 ปีก่อน เขารู้จักค่า พายกันแล้ว 2567 แล้ว ประเทศไทยยังมี112 อยู่เลย

  • @pairpairjung
    @pairpairjung ปีที่แล้ว +2

    ค่าพายจริงๆน่าจะเป็นเศษส่วนเลขยกกำลังสั้นๆ หรือสมการสั้นๆที่มีเพียงค่าเดียวเท่านั้นและไม่สามารถหาค่าอื่นที่เป็นจริงกว่านี้ได้ คนที่หาได้ยาวที่สุดยังเป็นเลขทศนิยมซึ่งถ้ามีคนหาทศนิยมสูงสุดได้มากกว่าโดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องฮาร์ดแวร์ก็จะเป็นการทำลายสถิติไปเรื่อยๆ การหาจุดสิ้นสุดของค่าพายที่อาจมีค่าจุดสิ้นสุดหรืออินฟินิตี้ การหาโดยใช้วิธีอินทริเกรตจึงไม่มีทางเป็นไปได้ที่จะหาค่าพายที่แท้จริง เนื่องจากการอินทิเกรตคือการเอาจำนวนสีเหลี่ยมเล็กๆมาบวกกัน เพื่อให้ได้พื้นที่ไต้กราฟ การยิ่งใช้จำนวนนอณุกรมมากเท่าไรก็จะยิ่งได้ความละเอียดมากขึ้นเท่านั้น จำนวนความละเอียดที่เพิ่มเข้าไปจึงไม่สามารถทำได้จนถึงอินฟินิตี้ เพราะอย่าลืมว่าพิ้นที่ไต้กราฟที่ได้จากการอินทิเกรตที่มีความละเอียดยังเป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมเล็กๆซึ่งหากวางในพื้นที่วงกลมพื้นที่สี่เหลี่ยมต้องนำมาบวกกับ c ค่าคงที่ หรือพื้นที่วงกลมที่หายไปบนสี่เหลี่ยมเล็กๆอยู่ดี ที่เราทำได้คือค่าที่ใกล้เคียงที่สุดแต่ยังขาดค่าคงที่ c ซึ่ง ค่า c นี้แหละที่เป็นข้อจำกัดที่วิธีอินทิเกรตไม่สามารถหาค่าพายเพราะต้องอินทิเกรตอนุกรมต้องเป็นอินฟินิตี้ครั้ง ซึ่งเกินข้อจำกัดของทุกฮาร์ดแวร์บนจักวารอยู่แล้ว ก็ยังหาค่า c ที่แน่นอนไม่ได้อยู่ดี มันเป็นไปไม่ได้โดยหลักการอยู่แล้ว นักวิทยาศาสตร์ควรเปลี่ยนไปหาค่าด้วยวิธีอื่น เพราะวิธีนี้ทำได้ก็แค่เพิ่มความละเอียดให้มากขึ้นแต่ยังไม่สามารถหาค่าที่แท้จริงได้

    • @moleculemcdhol2208
      @moleculemcdhol2208 ปีที่แล้ว +4

      1. คุณไม่เข้าใจเรื่องของจำนวนจริง : real number
      2. คุณไม่เข้าใจว่าการ integrate มันมีคอนเส็ปต์ยังไง
      3. คุณไม่เข้าใจคอนเส็ปต์ของ infinity

  • @Blockdit
    @Blockdit ปีที่แล้ว

    รามานุจันคุณหาสูตรมาได้อย่างไร?
    รามานุจัน: ไม่บอก

  • @sonexayu77sengkannaly86
    @sonexayu77sengkannaly86 3 หลายเดือนก่อน

    น่าจะใช่ค่าพีชช่าน่ะ

  • @kantaporn4114
    @kantaporn4114 ปีที่แล้ว

    ดูจบกดsub ให้เลยค่ะเพลินๆ
    อยากฟังเรื่อง Laplace's transform อ่ะคาะ
    เรียนมาแบบงงๆ ใช้งงๆ อยากรู้ที่มาที่ไป 😊

    • @egch1yearago21
      @egch1yearago21 ปีที่แล้ว +1

      ผมเรียน ลาปาซ ทรานซ์ฟอร์ม ใน แคลคูลัส3 สำหรับวิศวกรและคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เรียนจบปุ๊บ ลืมแบบออโตเมติกเลยครับ มันยากมาก จนปัจจุบันไม่ได้ทำงานตรงสาย เลย ไม่ได้ใช้เลยครับ😂

    • @kantaporn4114
      @kantaporn4114 ปีที่แล้ว

      @@egch1yearago21 ตอนเรียนเราก้ช็อคกิน ใช้สอบแค่ไม่กี่ตัว แล้วก้ไม่เผาผีกันอีกเลย แต่อยากรู้ที่มา ที่ไปมันมากกก เขาไปแงะมันออกมายังไง 😵‍💫

    • @MLHFmath
      @MLHFmath  ปีที่แล้ว +1

      ผมอยากทำทั้ง Fourier กับ Laplace transform เลยครับ แต่อาจจะรอนิดนึง ค่อยเป็นค่อยไปครับ :)

    • @kantaporn4114
      @kantaporn4114 ปีที่แล้ว

      @@MLHFmath เริ่ดดด นั่งรอ+กดกระดิ่งเลยค่ะ 55555555

  • @nattawutyimsrinual6616
    @nattawutyimsrinual6616 ปีที่แล้ว

    แล้วค่าพายมันเกิดขึ้นมาได้ยังไงครับ หมายถึงว่ามันมีจุดเริ่มต้นจากอะไร ค่าพายมันมาได้ยังไง คือมันไม่เหมือนการนับจำนวนเนอะ อันนั้นยังพอเห็นเป็นภาพและรู้ที่มาที่ไปได้ แต่ค่าพายมันเริ่มต้นจากอะไร 55555

    • @Baboon123-zs9td
      @Baboon123-zs9td ปีที่แล้ว

      ฟังให้จบคับ

    • @lightreveal1663
      @lightreveal1663 ปีที่แล้ว

      อัตราส่วนของ เส้นรวบวงกลมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง อธิบายให้ง่ายกว่านี้อีก คุณสร้างวงกลมมารูปหนึ่ง แล้วไปวัดเส้นรอบวงได้มา(สมมุติได้ยาว22) แล้ววัดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมเดียวกันนั้น(สมมุติได้7) มีแค่นี้แหละ ไม่ซับซ้อน..แต่ที่มันซับซ้อนคือ22/7นี่มัน เป็นค่าประมาณ ไม่ใช่ค่าที่ถูกต้องเป่ะๆ..คือมันเป็นจำนวนตรรกยะไม่สามารถหาค่าลงตัวเป๊ะๆได้

  • @EkRatana
    @EkRatana ปีที่แล้ว

    แล้วใครเป็นคนรู้ว่า พท.วงกลม = pi r² ครับ

  • @DeH-v4r
    @DeH-v4r ปีที่แล้ว

    Number 1 in 🌏🐬 moon 🌚🌗🪐 super moon Jupiter

  • @Achirawat-wz2hk
    @Achirawat-wz2hk ปีที่แล้ว +1

    π

  • @atavitpongsopon1161
    @atavitpongsopon1161 ปีที่แล้ว +1

    โอโหยากเกินนผม ป4 เอง

  • @parameskitikanchana1574
    @parameskitikanchana1574 ปีที่แล้ว

    ทำไมตัวเลข 22/7 ถึงเท่ากับค่าpi

    • @catdbb1654
      @catdbb1654 ปีที่แล้ว

      มันเท่าแต่ ทศนิยม 2 หลักแรกครับ 3.14 ที่เหลือผิดหมดครับ เค้าพูดในคลิปแล้ว

  • @pukeansa3107
    @pukeansa3107 5 หลายเดือนก่อน

    3.14159...

  • @pieak4066
    @pieak4066 ปีที่แล้ว

    หาค่า pi ละเอียดได้แค่ความยาวพลั้ง

  • @rudolphpotter4167
    @rudolphpotter4167 ปีที่แล้ว

    "Promo sm" 🌈

  • @ナサス砂のキュレーター
    @ナサス砂のキュレーター ปีที่แล้ว

    นี่สินะ... ความรู้สึกขยะแขยงลึกๆเวลาเห็นถั่วงอกในก๋วยเตี๊ยวของฉัน... ชั่งน่าขยะแขยงจริงๆเลย #แคลคูลัส

  • @N_Juntra
    @N_Juntra ปีที่แล้ว

    คนเราก็ชั่งคิดเนาะ จริงๆอยากรู้ว่ายาวแค่ไหนก็แค่ตัดเชือกเป็นวงกลมแล้วไปวัด 55555 คนสมันก่อนเก่งจริงๆ

  • @lightreveal1663
    @lightreveal1663 ปีที่แล้ว

    มันเป็นจำนวนอตรรกยะ

  • @suraponinjumnong6089
    @suraponinjumnong6089 ปีที่แล้ว +5

    ผมเป็นคนไทยที่คิดค่าPi ได้จากธรรมะพระพุทธเจ้า อยากจะสรรเสริญพระพุทธเจ้าแต่ไม่มีเวทีไหนต้อนรับ เขาคงไม่เชื่อ ผมใช้โปรแกรมตรวจสอบเท่าที่มีโปรแกรม ถูกถึงหลักที่48,750 ทุกตัวแล้วครับ ไม่มีsuper computer น่าจะถูกมากกว่านี้ คนต่างชาติคิดได้เขายกย่อง คนไทยคิดได้เหมือนไม่มีค่า ก็คงต้องปล่อยวาง อุเบกขา

    • @touchdeep1
      @touchdeep1 ปีที่แล้ว

      บุดด้าไม่ได้ฉลาดขนาดนั้นครับ ขนาดว่า นิพพาน ยังหลอกคนทั้งโลกได้เลย

    • @nmmn6246
      @nmmn6246 ปีที่แล้ว

      ​@@touchdeep1จริงครับ

    • @napanach
      @napanach ปีที่แล้ว

      @@touchdeep1คุณฉลาดกว่ารามานุจันหรอ เค้ายังบอกเลยว่าอนุกรมอันซับซ้อนนี้ พระผู้เป็นเจ้าส่งผ่านความรู้มาให้เขา ซึ่งแม้ยำกว่านิวตันเยอะ

    • @touchdeep1
      @touchdeep1 ปีที่แล้ว +1

      @@napanach ก่อนผมจะตอบคำถามว่าใครฉลาดกว่า ผมถามง่ายๆครับ คุณพิสูจน์ทางกระบวนการวิทยาศาตร์ได้อย่างไร

    • @touchdeep1
      @touchdeep1 ปีที่แล้ว

      @@napanach ผมแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดให้นะครับ รามานุจัน นับถือศาสนาฮินดูครับ
      รบกวนไปศึกษาหาความรู้มาใหม่ให้ถูกต้องด้วยครับ

  • @sirichai.YipYip
    @sirichai.YipYip ปีที่แล้ว

    π

  • @Kingpin987
    @Kingpin987 ปีที่แล้ว

    รู้จักแต่พายแอปเปิ้ลพาย