คำไทยที่ใช้ยากสุด ปรกติ ปกติ ต่างกันอย่างไร?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 ม.ค. 2020
  • ทำไม ไม่ใช่ใช้ปรกติ ให้เป็นปกติ?
    ปรกติ (สันสกฤต) ใช้ในแง่ ที่ธรรมดา ไม่แปลก ไม่เสียหาย (ขนาด)กลาง เป็นสุขดี = normal, regular, good (condition)
    ส่วนปกติ (บาลี) ใช้ในแง่ ที่พบเห็นบ่อย เกิดบ่อย ทำบ่อย = often, usual, common ดูผ่าน TH-cam: • คำไทยที่ใช้ยากสุด ปรกต...

ความคิดเห็น • 265

  • @LoyAcademy
    @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +126

    เข้าใจว่า ราชบัณฑิตตัดสินใจไม่บรรจุความแตกต่างของ ๒ คำนี้ ในพจนานุกรมฯ โดยให้ใช้แทนกันได้ เพราะมันยากเกินไปสำหรับคนทั่วไป แต่ในงานตีพิมพ์ เช่น วารสารราชบัณฑิต ยังแยกแยะ ๒ คำนี้อย่างถูกต้อง

    • @natthapolsrathongtien3994
      @natthapolsrathongtien3994 3 ปีที่แล้ว +4

      ขอสอบถามหน่อยครับ ทำไมในคลิปวิดีโอที่อาจารย์สอน ถึงใช้ adverb เป็นคำว่า "วิเศษณ์" ครับ ตอนผมเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ผมเห็นอาจารย์หรือตามเว็บไซต์นิยมใช้คำว่า "กริยาวิเศษณ์" กัน หรือว่า "กริยาวิเศษณ์" เป็นการขยายเพื่อช่วยเพิ่มความเข้าใจหรือเปล่าครับ ขอบคุณครับ

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +11

      @@natthapolsrathongtien3994 มันคืออันเดียวกัน แต่ ในภาษาอังกฤษ adverb ขยาย adjustive ได้ด้วยครับ

    • @natthapolsrathongtien3994
      @natthapolsrathongtien3994 3 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณอาจารย์อีกครั้งครับ

    • @bulletbang96
      @bulletbang96 3 ปีที่แล้ว +6

      " กอปร " คำนี้เป็นคำโบราณ อ่านว่า " ประกอบใช่ไหมครับ ซึ่งคำพวกนี้เป็นคำเฉพาะมักจะอยู่ในพวกบทกวี ซึ่งน้อยน้อยนักจะรู้จัก แต่ทำไมคำถึงไปปรากฏในหนังสือพิมพ์ และวารสารต่างๆ
      ( ถ้าคนไม่รู้จะว่า = กอ - ปอน )

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +15

      @@bulletbang96 อ่านว่า กอบ แต่แปลว่า ประกอบ

  • @winai182
    @winai182 2 ปีที่แล้ว +9

    ท่านลอยพูดจานิ่มนวลเสมอต้นเสมอปลาย
    แสดงว่าชีวิตท่านเป็นคนสุขุม จะทุกข์สุข
    ท่านจะวางตัวเรียบๆวางมาดสุขุมลุ่มลึก
    เสียดายที่ต่างวัยต่างถิ่น
    ไม่งั้นคงไปมาหาสู่กันเป็นอย่างดี

    • @user-ut2fb1eh7m
      @user-ut2fb1eh7m 2 ปีที่แล้ว

      อาจารย์ที่สอนคำนวณก็พูดนิ่มๆแบบนี้ละจ๊ะ

  • @DJ-334
    @DJ-334 2 ปีที่แล้ว +5

    ขอบคุณมากครับ ได้ความรู้จริงๆครับ ทำให้นึกถึงประโยคที่ว่า คนไม่ปรกติ มักมีพฤติกรรมผิดปรกติ เป็นเรื่องปกติ

  • @NongMoo
    @NongMoo 2 ปีที่แล้ว +1

    ภาษาไทยใช้ยากจริงครับ โดยเฉพาะการเขียน

  • @ufo4604
    @ufo4604 3 ปีที่แล้ว +2

    นับถือๆๆอาจารย์ไม่ค่อยอยู่เมืองไทย สอนอยู่ ตปท.เป็นส่วนมากแต่สนใจความรู้และใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องแบบครูแท้ๆ ที่ ครูในไทยเองยังมีมากมายและเด็กรุ่นใหม่ใช้ภาษาไทยในไทยก็พร่องๆอยู่มาก อาจารย์สายวิทย์แต่ภาษาไทยไม่บกพร่องภาษาไท หายากๆๆ ขอบคุณๆๆ🙏🏻🙏🏻🙏🏻💐💐💐💐💐💐👍👍👍👍👍👍👍👏👏👏👏👏👏👏👏👏👏🤩🤩🤩🤩🤩🤩🤩🤩👌

  • @user-mb3pv4bk8k
    @user-mb3pv4bk8k ปีที่แล้ว

    ...คำเหมือนที่แตกต่างในความหมาย.
    ...หรือความหมายที่แตกต่างคำไม่เหมือน.
    ...หรือคำไม่เหมือนกัน ไม่แตกต่างกับความหมาย.
    ...หรือความหมายเดียวกันเเตกต่างคำเหมือน.
    ...ภาษาไทยยากในความหมาย? ของคำเขียน เพราะส่วนมากไม่เก่งภาษาไทย และอ่านน้อย.
    ...ขอบคุณที่ให้ความรู้ของอาจารย์ไว้ ให้เข้าใจยิ่งๆขึ้นไป ...

  • @lamthapsuchada1279
    @lamthapsuchada1279 2 ปีที่แล้ว +11

    ขอขอบคุณอาจารย์ลอย สำหรับความรู้ในการใช้ภาษาไทย มีประโยชน์มากๆครับ

  • @kritsakornch4225
    @kritsakornch4225 3 ปีที่แล้ว +12

    เคลียที่สุด,
    กระทรวงศึกษาฯกรุณาเลียนแบบไปใช้ด่วน

  • @koonyar5552
    @koonyar5552 3 ปีที่แล้ว +1

    คุณย่าภูมิใจใน ลูกไทยหลานไทยอย่าง​ อ.&น้องมรรค​ ขอครอบครัวท่านอยู่เย็นเป็นสุขไร้โรคาพาธและปลอดภัยจากภยันตรายทั้งปวง.(หลานคุณย่าชื่อนะโม&ปุญโญ​ gen​ alpha อยากให้มีความเพียรอย่างน้องมรรคบ้าง​ มาหาคุณย่าไม่บ่อยนักจึงปลูกฝังให้เป็นแมลงผึ้งยาก​ มักจะเป็นแมลงวัน​แทน​ แต่คุณย่าก็จะเพียรต่อไป​ แต่ที่ได้คือจะให้สวดมนต์หน้าหิ้งพระ&กราบรูปบรรพบุรุษเป็นอันดับแรก)​

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ มรรคเพียรเฉพาะบางเรื่องครับ

  • @krompic100
    @krompic100 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากที่ทำให้เข้าจได้ลึกซึ้งขึ้นและสามารถที่จะนำไปใช้ให้ถูกต้องได้..แต่ก็คงจะอธบายให้คนอื่นเข้าใจไม่ได้เหมือนท่านอาจารย์ลอยนะครับ...ในภาษาไทยนี่กมีหลายคำที่คนเก่าแก่สร้างคำขึ้นมาให้ใช้แต่คนไทยก็เอาไปใช้กันสับสนหรือผิดไปจากความหมาย เช่นคำว่า สวม - ใส่..แขวน - ห้อย ถู - เช็ด เลอะเทอะ เปรอะเปื้อน มีลักษณะการใช้เป็นอย่างไรก็ใช้ผิดอยู่

  • @toywatch1056
    @toywatch1056 2 ปีที่แล้ว +1

    ความเข้าใจผิดที่คนส่วนมาก ทำ/ใช้กัน ก็จะกลายเป็นถูกต้องในภายหลัง
    (โดยเฉพาะในสังคมภาษาที่ไม่ได้ยึดหลักไวยากรณ์อย่างเคร่งครัด)
    ความจริงนี้ จะเกิดขึ้นต่อไปกับคำไทยหลายๆคำ โดยเฉพาะคำว่า "เศรษฐกิจ" อ่านว่า เสด-ถะ-กิด ... แต่คนไทยสมัยนี้ รวมถึงนักข่าว นักการเมือง และคนไทยส่วนมาก จะอ่านออกเสียงกันว่า เสด-ตะ-กิด ... เป็นต้น

  • @H2554
    @H2554 3 ปีที่แล้ว +19

    ขอบคุณอาจารย์ครับ..
    1. ถ้าคะแนนสูงสุดคือห้าดาว
    คลิปวันนี้ยกให้อาจารย์ทั้ง 5 ดาว
    2. ทำให้นึกถึงสมัยหนึ่งมีรายการ "ภาษาไทยวันละคำ, วันนี้นำเสนอคำว่า..."
    3. อาจารย์ นำเสนอแนวนี้บ่อยๆ ก็จะเป็นอีกหนึ่งของการให้ "วิทยาทาน"

  • @LoyAcademy
    @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +38

    ๑๐๑ อ่านว่า หนึ่ง-ร้อย-เอ็ด ถูกต้องตามหลักภาษาไทยแล้วครับ แต่คนไทยส่วนมากอ่านว่า หนึ่ง-ร้อย-หนึ่ง จนจะกลายเป็นถูกไปแล้ว
    ผมเองก็บอกคนขับรถไป สุขุมวิท-หนึ่ง-ร้อย-หนึ่ง ถ้าบอกไปสุขุมวิท-หนึ่ง-ร้อย-เอ็ด เดี๋ยวไปไม่ถูกครับ

    • @user-zg2nl8vy4e
      @user-zg2nl8vy4e 3 ปีที่แล้ว +24

      หนึ่งร้อยหนึ่ง หรือ สิบหนึ่ง ยี่สิบหนึ่ง ฯ ใช้ในหน่วยทหารเรือครับ เพราะ เอ็ด กับ เจ็ด ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารเมื่อต้องใช้การเข้ารหัส แสง

    • @aronel2244
      @aronel2244 3 ปีที่แล้ว +11

      ภาษาพูดควรมีการวิวัฒน์ครับ ร้อยหนึ่งพูดง่ายฟังง่ายกว่า ร้อยเอ็ดควรเลิกใช้ครับ ภาษาพูดกะเขียน ไม่ต้องไปยึด เช่น น้ำ ถ้ายึดให้ถูกต้องเขียนว่า น้าม เอาไรเป็นหลักละครับ

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +6

      @@aronel2244 ผมเห็นด้วย คุณควรเสนอราชบัณฑิตครับ

    • @akawutchuenchom3260
      @akawutchuenchom3260 3 ปีที่แล้ว +1

      แล้ว 1001 อ่านว่าอย่างไรครับ
      อย่างในชื่อนิยาย พันหนึ่งราตรี ถูกมั้ยครับ

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +5

      @@akawutchuenchom3260 ที่ถูกคือ หนึ่งพันเอ็ด แต่ผมชอบอ่าน หนึ่งพันหนึ่ง ฟังง่ายดีครับ

  • @AliceAlive
    @AliceAlive 2 ปีที่แล้ว +4

    แสดงว่าอาจารย์สมัยประถมผมสอนมาดี ให้จำคู่กับภาษาอังกฤษแบบอ.สอนเลย ใช้ถูกต้องง่ายขึ้น

  • @somchaisornman8862
    @somchaisornman8862 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @prigpaipraya5374
    @prigpaipraya5374 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณคลิปค่ะ

  • @jfhfkdhxgv6357
    @jfhfkdhxgv6357 3 ปีที่แล้ว +1

    ชัดเจนเลยครับ

  • @dashic2431
    @dashic2431 3 ปีที่แล้ว +1

    เข้าใจเลย 🙏

  • @pisit3832
    @pisit3832 2 ปีที่แล้ว

    ขอขอบคุณมากค่ะอาจารย์.

  • @oodbm3
    @oodbm3 2 ปีที่แล้ว

    กระจ่างเลยคร้บอาจารย์

  • @laokamhom435
    @laokamhom435 2 ปีที่แล้ว

    แจ่มแจ้งค่ะอาจารย์

  • @chrispanchit5551
    @chrispanchit5551 3 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดมากเลยครับอาจารย์

  • @user-no8io2rg6d
    @user-no8io2rg6d 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับที่ให้ความรู้

  • @user-me3fg8ib2p
    @user-me3fg8ib2p 3 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมากครับ

  • @klongnoi8946
    @klongnoi8946 3 ปีที่แล้ว +1

    สุดยอดครับอาจารย์

  • @chatchawal1954
    @chatchawal1954 3 ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยม ชัดเจน

  • @REDDEVIL-gf7tm
    @REDDEVIL-gf7tm 2 ปีที่แล้ว +1

    ขออนุญาตครับ ขอเฉลยคำ
    ตอบ คำถามของผมในคลิป
    *ถอยรถเข้าซอง(ไว้ที่นี่ครับ)
    #ใช้มีดตัดสายยางประมาณ
    1.5ม เอาแกลลอนน้ำมันตั้ง
    ไว้บนขอบกะบะให้ตรงกับจุด
    ฝาถังที่รถ แล้วเอาปลายสายด้านหนึ่ง ใส่ในช่อง เติมน้ำมัน
    อีกปลายใส่ในแกลลอนน้ำมัน
    ตัดสายยางอีกท่อน0.50เมตร
    แหย่ลงในแกลลอน ครึ่งเดียว
    ใช้ผ้าอุด ที่ฝาแกลลอน ไม่ให้
    ลมรั่วได้ จากนั้นเป่าสายที่สั้น
    น้ำมันจะไหลลงสู่ถังเก็บในรถ
    โดยง่าย ไม่เปื้อนปาก เหมือนดูดครับ ลองทำดูครับผม.
    ใครมีวิธีที่ดีกว่า ก็แจมมานะ!

  • @woongwon6333
    @woongwon6333 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ เข้าใจชัดเจนเลย

  • @toungw
    @toungw 2 ปีที่แล้ว

    ที่ อจ นำเสนอมามีประโยชน์มากครับ
    แต่ที่ผมเคยเรียนมาสมัยเด็ก และจำมาตลอดคือ
    ครูผมสอนว่า คำอ่านว่า ปรก-กะ-ติ หรือ ปก-กะ-ติ ไม่มี
    มีแต่ ปรก-ติ หรือ ปะ-กะ-ติ
    ถ้าอ่านว่า ปรก-กะ-ติ ต้องเขียนเป็น ปรกกติ

  • @singchaichantosa4596
    @singchaichantosa4596 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับผม

  • @kinkulap
    @kinkulap 2 ปีที่แล้ว

    ดีมากเลยครับขอบคุณอาจารย์มากๆ

  • @sufareweedunyamat5030
    @sufareweedunyamat5030 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ สำหรับความรู้

  • @user-jy3cy8mu2e
    @user-jy3cy8mu2e 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณครับครู

  • @user-gk1qj7nh2m
    @user-gk1qj7nh2m 2 ปีที่แล้ว

    เหมือนคำว่า วันหน้า วันหลัง คำว่าวันหน้า คือโอกาส ที่ไม่บ่อยนัก นานๆ ครั้ง หรือจะไม่มีเลยก็ได้ ส่วนคำว่าวันหลัง เจอกันบ่อยๆ เป็นประจำ ใช้เป็นลำดับได้ เจอกันทุกวัน วันหลังก็ได้

  • @armwisemind
    @armwisemind 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบพระคุณครับอาจารย์ ชัดเจนมากครับ

  • @ofEL
    @ofEL 4 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ

  • @chairakdokyisun7625
    @chairakdokyisun7625 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณอย่างสูงครับอาจารย์

  • @rosewiii1064
    @rosewiii1064 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความเข้าใจครับ

  • @GXSTUDY
    @GXSTUDY 3 ปีที่แล้ว +2

    ขอบพระคุณอาจารย์ลอยครับ

  • @user-ii9dx1cz1u
    @user-ii9dx1cz1u 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ

  • @Thongchaibhut
    @Thongchaibhut 3 ปีที่แล้ว +4

    เช่นเดียวกันผมก็นับถืออาจารย์มากและยิ่งดีใจที่รู้สึกใกล้ชิดกับอาจารย์มากขึ้นทั้งๆที่ไม่รู้จักกัน เพราะผมรู้จักพี่บอย สิริวัฒน์ แดงบุพผาครับ คนสุโขทัยครับ

  • @ranggojj991
    @ranggojj991 2 ปีที่แล้ว

    แจ่มแจ้งแดงแจ๋เลยครับอาจารย์🙏👍

  • @SiriSTAMP
    @SiriSTAMP 2 ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้เหมือนเคย

  • @yangyi2473
    @yangyi2473 3 ปีที่แล้ว +6

    แาจารย์​ลอยท่านสุดยอด​ แบ่งปันเรื่องดีๆ

  • @user-mq6bk3vm7c
    @user-mq6bk3vm7c 3 ปีที่แล้ว +1

    ได้ความรู้ดีขอบคุณค่ะ

  • @aaaaaazaa2658
    @aaaaaazaa2658 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ😊

  • @primprapa2210
    @primprapa2210 7 วันที่ผ่านมา

    ขอบคุณสำหรับความรู้ค่ะ🥰

  • @mzzh4482
    @mzzh4482 2 ปีที่แล้ว

    ผมก็หาคำตอบมานาน ขอบคุณครับ

  • @vktha469
    @vktha469 3 ปีที่แล้ว +1

    สงสัยมานาน กระจ่างแล้ว ขอบคุณมากครับ

  • @kiloPhyll
    @kiloPhyll 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณสำหรับความรู้นี้ครับอาจารย์
    ผมนึกถึงคำว่า "ศีล" ที่แปลว่า ปรกติ = มาตรฐานความดีงามพื้นฐานของมนุษย์ (ขั้นต่ำของความเป็นมนุษย์) กับ ปกติ = ทำเป็นประจำแล้วก็ชิน
    ก็เลยใช้ได้ทั้ง ปรกติ และ ปกติ
    (ศีล สะกดแบบสันสกฤต, สีล สะกดแบบบาลี)

  • @sompornwichayapong5513
    @sompornwichayapong5513 2 ปีที่แล้ว

    ชอบพระคุณอาจารย์ให้ความกระจ่าง

  • @banphe3476
    @banphe3476 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณความรู้ดีดีมีสาระติดตามตลอด

  • @Papparadie
    @Papparadie 3 ปีที่แล้ว +1

    ผมได้ยินมานานมากแล้ว 2 คำนี้ตั้งแต่เด็กๆ ก็ยังนึกสงสัยอยู่เหมือนกัน ว่า เขาใช้กันยังไงมันแตกต่างกันอย่างไร จะไปถามใคร ก็ไม่รู้ ว่า เขาจะตอบถูกหรือไม่ เพราะคนสมัยปัจจุบันนี้ แม้จะพูดรอเรือลอลิง รอกล้ำต่างๆ ก็ยังไม่ค่อยจะพูดกัน จนได้มาฟังเฉลยวันนี้เอง ถึงได้รู้ความหมายของทั้งสองคำ ขอบคุณมากครับที่ให้ความรู้ ทำให้ผมหายสงสัย

  • @jongkonneesottipinta6938
    @jongkonneesottipinta6938 2 ปีที่แล้ว +1

    ชอบมาค่ะ กระจ่างเลย

  • @Starlight-pi8ln
    @Starlight-pi8ln 3 ปีที่แล้ว +1

    ชอบคลิปนี้มากๆค่ะ
    อธิบายได้ยี่ยมมาก
    ขอบคุณค่ะ

  • @bloodsword6959
    @bloodsword6959 2 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากครับ ตอนผมเรียนประถมผมเคยคิดว่าปรกติคือคำโบราณ สมัยนี้ใช้ปกติแทน ความหมายเดียวกัน จนมาเจอคลิปนี้ได้ความรู้มากขึ้นครับ

  • @Patty052
    @Patty052 2 ปีที่แล้ว +1

    เป็นความรู้ที่ดีมากเลยค่ะ ขอบคุณค่ะ

  • @Luangphol
    @Luangphol 3 ปีที่แล้ว +2

    ขอความรู้แบบนี้อีกเยอะๆเลยครับ

  • @suchadameow6772
    @suchadameow6772 2 ปีที่แล้ว

    ทุกครั้งที่ได้ฟัง คือทุกครั้งที่ได้
    ความรู้เพิ่มเติม จึงไม่ใช่เป็น
    การรบกวนเวลาแม้แต่นิดเดียว

  • @user-ur9jz2yw4m
    @user-ur9jz2yw4m 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณที่ให้ความกระจ่างคะ

  • @user-yo2vp3wk5f
    @user-yo2vp3wk5f 2 ปีที่แล้ว

    ถูกใจการ ทำคลิปย่อดีมาก

  • @user-fi9ud1ju9k
    @user-fi9ud1ju9k 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ...ไดัรับความรู้เพิ่มเติมดีมากค่ะ

  • @wonsilapattawee8134
    @wonsilapattawee8134 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณอาจารย์มากๆค่ะ หนูก็พึ่งจะรู้ค่ะ ขอบคุณจริงๆ

  • @nilkhann7385
    @nilkhann7385 3 ปีที่แล้ว +2

    ได้ดูอาจารย์คลิปแรก เรื่องไม้โปร ชอบการบรรยายของอาจารย์มากๆ เลยครับ

  • @vorsirichor6881
    @vorsirichor6881 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ คุณลอย คลิปของคุณมีประโยชน์ ครับ ได้ความรู้ สนับสนุนให้มีอยู่ต่อไปนานๆ ครับ

  • @torilodestar8176
    @torilodestar8176 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะอาจารย์ 🙏🏻
    😊 ฟังอาจารย์ สนุกดีค่ะ

  • @netichaimanijajwalsgool4208
    @netichaimanijajwalsgool4208 11 หลายเดือนก่อน

    ดีมากเลยครับ ผมก็เพ่งรู้ลึกๆแบบนี้เหมือนกันครับ

  • @kanchanuthai1060
    @kanchanuthai1060 3 ปีที่แล้ว +6

    ขอบพระคุณครับ
    ภาษาไทยเราเรียนไม่จบจริงๆ
    ผมชอบการนำเสนอนี้มาก

  • @soponkonjun9699
    @soponkonjun9699 2 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณมากเลยครับ ชัดเจนครับอาจารย์ ผมเข้าใจว่ามันมีความหมายเดียวกันมาตลอดเลย

  • @tachamaskongnunta3902
    @tachamaskongnunta3902 4 ปีที่แล้ว +10

    เคยเข้าใจว่า เหมือนกัน เท่ากันใช้แทนกันได้ ขอคุณครับ

  • @user-xk1mn5ov2s
    @user-xk1mn5ov2s 2 ปีที่แล้ว +1

    เช่น วันนี้มันมาทำงานสายดูแล้วมันผิดปรกติแต่มันก็ยังเดินมาปกติไม่รีบร้อนอะไรเลย

  • @LoyAcademy
    @LoyAcademy  2 ปีที่แล้ว +1

    ตัวอย่าง ปี 2564 ก๋วยเตี๋ยวน้ำใส หมู ลูกชิ้น ถั่วงอก ขนาดชามปรกติ ที่ชานเมืองใหญ่ปกติหาซื้อได้ในราคา 40 บาท

  • @ChomChom_Chompu
    @ChomChom_Chompu 2 ปีที่แล้ว

    ว้าวมากเลยค่ะ ขอบคุณที่ถ่ายทอดความรู้ กระจ่างเลย มันต้องมีความต่างสิเนอะ นอกจากเป็นบาลีสันสกฤต 👍🏻👍🏻👍🏻

  • @rambodiehardwarrior749
    @rambodiehardwarrior749 2 ปีที่แล้ว +1

    บอกตรงๆว่า ส่วนตัวแล้วไม่เคยใช้คำว่า 'ปรกติ' เลย จะใช้แต่คำว่า 'ปกติ' .. ไทยเรายืมทั้งภาษาบาลี และสันสกฤต มาใช้ มีหลายคำมากๆๆๆ เช่น กรรมฐาน/กัมมัฏฐาน, สัพพสัตว์/สรรพสัตว์ ฯลฯ ความจริงน่าจะประกาศใหรู้ทั่วกันไปเลย ว่า อยาดจะใช้คำไหนก็ได้ เขียนมาเถอะ.. น่าจะดี

  • @tigerthaiger3281
    @tigerthaiger3281 3 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณที่นำความรู้มาบันทึกไว้-สำหรับคนรุ่นหลังได้ศึกษาและเข้าใจ-คารวะจอมยุทธคับ

  • @ConsciousOfSiam
    @ConsciousOfSiam 4 ปีที่แล้ว +5

    อาจารย์อธิบายได้เคลียทุกตัวอย่างเลยครับ​ ผมนี่อมยิ้มทุกตัวอย่าง​ เป็นจริงอย่างที่อาจารย์ว่ามา ชอบครับขอติดตามครับ​ ขอบคุณครับ

  • @somsakbubphachat1317
    @somsakbubphachat1317 2 ปีที่แล้ว +3

    อาจารย์อธิบายได้ปรกติดีครับ ทำคลิปแบบนี้เป็นปกติก็ยิ่งดีครับ

  • @breendjira7899
    @breendjira7899 2 ปีที่แล้ว +4

    ขอบคุณอาจารย์ลอยค่ะ และหวังว่าจะได้ติดตามชมเรื่องราวของท่านอาจารย์วิสุทธิ์อีกนะคะ

  • @user-yg4he7vi6x
    @user-yg4he7vi6x 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่ะที่มาให้ความรู้ ตอนแรกคิดว่าเป็นคำเดียวกันแค่ออกเสียงผิด

  • @zayabrb8758
    @zayabrb8758 2 ปีที่แล้ว +1

    เพิ่งได้ติดตามผลงานจากยูทูปไม่นาน ได้ความรู้มากมาย ขอบคุณอาจารย์ลอยมากค่ะ ขอให้ทำคลิปต่อไปอีกนะคะ เดี๋ยวจะตามไปเฟสต่อค่ะ

  • @user-nz4qn2wu6f
    @user-nz4qn2wu6f 2 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ครับบ ชัดถ้อยชัดคำ จำได้ดี มีความรู้เพิ่มครับ

  • @jirandamatsumoto3078
    @jirandamatsumoto3078 2 ปีที่แล้ว

    ยากมากที่สุดจริง ๆ ค่ะ ขอบคุณที่นำมาสอนนะคะ เป็นประโยชน์มากค่ะ

  • @nopparutyangyuensuk2217
    @nopparutyangyuensuk2217 3 ปีที่แล้ว +3

    สงสัยมานานแล้ว เคยถามคนรู้ภาษาไทยดี บอกว่าเหมือนกัน ขอบคุณสำหรับ vdo นี้

  • @vinitasaowalak8244
    @vinitasaowalak8244 11 หลายเดือนก่อน

    แบบผมและสีผมทำให้ดูหนุ่มขึ้นมากทีเดียว/ชอบค่ะ อาจารย์ดูดีมาก ติดตามนะคะ

  • @garunsensathien4695
    @garunsensathien4695 3 ปีที่แล้ว +1

    ผมเคยสงสัยมานานแล้วครับ ว่าจะใช้ต่างกันยังไง ฟังแล้วเข้าใจครับ ขอบคุณครับ

  • @user-if7tp6op6e
    @user-if7tp6op6e 3 ปีที่แล้ว +3

    อาจารย์พูดและยกตัวอย่างให้เข้าใจได้ง่าย น้ำเสียงชวนฟัง ที่สำคัญเป็นความรู้ที่ยากถ้าจะค้นหาทั่วไป.. เพิ่งได้ชมคลิปอาจรย์มา2-3คลิปชอบมากและจะติดตามต่อไปครับ...

  • @ufo4604
    @ufo4604 3 ปีที่แล้ว +2

    อาจารย์ลอยเข้าใจจับความสงสัยคำสองคำนี้ เยี่ยมๆๆขอบคุณที่หาความกระจ่างที่เคยเรียนมานานแล้วคืนตำราพระอาจารย์ไปหมดแล้วด้วย👏👏👏👏👏😂😅🤣👍👍👍👍👍 ขอบคุณๆๆ🙏🙏🙏

  • @user-gz5yc4hi7e
    @user-gz5yc4hi7e 2 ปีที่แล้ว

    ขอขอบพระคุณอาจารย์อย่างสูงครับ ได้รับความรู้เป็นประโยชน์อย่างละเอียดครับ ขออนุญาตนำไปเผยแผ่ต่อครับผม

  • @anchanapanich8788
    @anchanapanich8788 3 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ พอดีลูกเรียนชั้นประถมอยู่ครับ หลายครั้งยังรู้สึกอายๆว่าความรู้ภาษาไทยเราทำไมมันแย่อย่างนี้ คำๆนี้ก็เหมือนกัน ได้ความรู้มากๆเลยครับ...

  • @panyaaprecha2636
    @panyaaprecha2636 2 ปีที่แล้ว

    เยี่ยม

  • @sakolkongyok3033
    @sakolkongyok3033 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณที่ให้ความรู้ภาษาไทยครับ ผมชอบภาษาไทยในทางบทกลอนคล้องจอง แต่ไม่สนใจในรายละเอียดมากนัก เอาแค่พูดได้ เขียนได้ ก็ดีใจมากแล้ว

  • @ThakornChoblao
    @ThakornChoblao 3 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากครับ สำหรับคำตอบในสิ่งที่ลืมสงสัย จนอาจจะใช้ผิดใข้ถูกมานาน และ เจตนาที่ดีมุ่งหมายเพื่อให้ผู้ฟังผู้ดูเกิดการพัฒนาทางความรู้เพิ่มพูนทางปัญญา ^_^

  • @tanginsuran1060
    @tanginsuran1060 2 ปีที่แล้ว +1

    ทำไมคุณครูภาษาไทยไม่เคยสอนเลยสมัยเริ่มเรียนภาษาไทยตั้งแต่ป.1 จนจบ ปวช. 🤔❤

  • @jajamarujumbo
    @jajamarujumbo 3 ปีที่แล้ว +1

    ชีวิตมันง่ายมาตลอด จนมาดูคลิปนี้

  • @wisapromsanpung5398
    @wisapromsanpung5398 2 ปีที่แล้ว

    สวัสดีค่ะ อาจารย์ ลอย ชอบอาจาย์มากดิฉันเป็นคนรุ่นเก่าที่เรียนมาน้อยอยากเรียนแต่ไม่มีโอกาสติดตามอาจารย์มานานประทับใจตั้งแต่ข่าวลูกเครื่องดื่มชูกำลังขับรถชนตำรวจดูย้อนหลังทุกคลิปข่าวมากมายหลายคนพูดแต่ดิฉันไม่เชื่อเลย แต่เชื่ออาจารย์ ละเอียด ชัดเจนมีเหตุผล
    ขอบคุณมากเลยค่ะที่มาให้ความรู้

  • @pitiphatdurasavin5265
    @pitiphatdurasavin5265 2 ปีที่แล้ว

    ขอขอบคุณครับ อ.ลอย ภาษาไทยไม่ง่ายอย่างที่คิด แม้นแต่ทุกวันนี้ตัว ร. ล.ในภาษาพูดยังเหลือน้อยแล้วครับ

  • @paitachP
    @paitachP 3 ปีที่แล้ว +3

    โอ้ว ยอดเยี่ยมเลย เข้าใจแล้วครับ ขอบคุณมาก

    • @chuchvalkunklin2003
      @chuchvalkunklin2003 3 ปีที่แล้ว

      ต้นศัพท์เหมือนกันแต่เรามาทำและใช้ให้มันต่างกันเอง

  • @user-xo8vv3ro7s
    @user-xo8vv3ro7s 3 ปีที่แล้ว +5

    สุดยอดมากครับอาจารย์ ได้ทั้งความรุ้และความเข้าใจ แต่ยอมรับเลยว่า ถึงเข้าใจแล้วก็ยังใช้แยกยากเหมือนกัน มันฟังดูมึนๆว่าจะใช้ยังไง ขอบคุณครับ

  • @user-dk7kd7zm6p
    @user-dk7kd7zm6p 3 ปีที่แล้ว +2

    เรียนอาจารย์ที่เคารพ
    เนื่องจากผมดูคลิปไปได้6-7นาที รู้สึกสับสนและมึนงงเป็นอย่างมาก อาจมีสาเหตุมาจากผมขาดความรู้ตามพื้นฐานวิชาการด้านนี้
    จึงเรียนมาเพื่อขออนุญาตหยุดดูสักครู่ให้คลายจากความสับสนมึนงง
    เมื่อหายสับสนมึนงงเป็นปรกติแล้ว จึงจะดูต่อตามปกติ (กดติดตามแล้วครับ)
    ด้วยความเคารพอย่างสูง
    ..................................................................

    • @LoyAcademy
      @LoyAcademy  3 ปีที่แล้ว +1

      นึกถึงตัวอย่างก๋วยเตี๋ยวละกัน แบบปรกติ กับแบบปกติ ที่ผมอธิบาย

  • @hungdk516
    @hungdk516 2 ปีที่แล้ว

    ชอบใจๆ ขอบคุณ เพิ่งกระจ่าง 555