ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
สำหรับท่านที่สงสัยเรื่องคำ ภ.อังกฤษว่า "Meditation หมายถึง การฝึกสมาธิ ใช่หรือไม่?" ในความจริงแล้ว Meditation ในความหมายทั่วไปไม่ได้หมายถึงการฝึกสมาธิ (แบบสมถภาวนาเพื่อความสงบนิ่ง) แต่ Meditation มีความหมายรวมกว้างๆ ถึง "การภาวนา" ซึ่งการภาวนาในทางพุทธนั้น แบ่งเป็น 2 ประเภท ทั้งสองแบบนี้ มีเป้าหมายที่ต่างกัน1.สมถภาวนา Tranquility Meditation (เพื่อให้จิตใจสงบ)2.วิปัสสนาภาวนา Insight Meditation (เพื่อให้เกิดปัญญาพาไปสู่การพ้นทุกข์ถาวร) โดยทั่วไปแล้ว ผู้คนจำนวนไม่น้อยเข้าใจผิดว่า "การปฏิบัติธรรมทางพุทธ หรือการภาวนา (Meditation) คือ การฝึกสมาธิแบบสมถภาวนา (เพื่อความสงบ) เท่านั้น"ซึ่งจริงๆ แล้ว เป้าหมายปลายทางของการฝึกตนทางพุทธ คือ "วิปัสสนาภาวนา" (เพื่อให้เกิดปัญญา พาไปสู่การพ้นทุกข์ถาวร) ไม่ใช่แค่เพื่อให้จิตใจสงบ!!และพอได้ยินชาวต่างชาติพูดว่า "Meditation" มีประโยชน์อย่างไร?มันดีอย่างไร? พาไปสู่การพ้นทุกข์.... ฯลฯหลายคนก็พากันเข้าใจผิดว่า ชาวต่างชาติเห็นประโยชน์ของ "การฝึกสมาธิ" "การนั่งสมาธิ"หรือบางคนก็แห่กันไป "ทำสมาธิ" "นั่งสมาธิ" (แบบสมถะ) กันยกใหญ่เพราะเข้าใจผิดคิดว่า คำว่า "Meditation" ที่ชาวต่างชาติใช้นั้น แปลว่า การทำสมาธิ การนั่งสมาธิ (แบบสมถะ)เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่ได้ยินคำว่า Meditation ให้พึงระลึกเสมอว่า มันไม่ได้หมายถึง "การฝึกสมาธิ"!!แต่มันหมายถึง "การภาวนา" ซึ่งมี 2 แบบ (สมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา)และในทางพุทธนั้น มีเป้าหมายปลายทางไปที่การฝึกตนเพื่อพ้นทุกข์ซึ่งก็คือ "วิปัสสนาภาวนา" หมายเหตุ :บางครั้งก็มีการใช้คำทับศัพท์เป็นภาษาอังกฤษไปเลย เช่น สมถะ (Samatha) / สมาธิ (Samadhi) / วิปัสสนา (Vipassana) ตัวอย่างเช่น- สมถภาวนา = Samatha Meditation หรือ Samadhi Meditation- วิปัสสนาภาวนา = Vipassana Meditationในกรณีคำว่า "สติปัฏฐาน" ก็ใช้คำทับศัพท์ว่า Satipatthana (สติปัฏฐาน) หรือ Satipatthana Sutta (สติปัฏฐานสูตร)แล้วจะต่อด้วยคำว่า Meditation ก็ได้ เช่น การฝึกสติปัฏฐาน (Satipatthana Meditation)ส่วนการฝึกสติปัฏฐาน แล้วเรียกสั้นๆว่า "การฝึกเจริญสติ" ใช้คำว่า Mindfulness Meditationผู้สนใจประเด็นนี้และรวมทั้งเรื่องคำภ.อังกฤษเกี่ยวกับคำว่าภาวนา สมถะ วิปัสสนา ฯลฯ สามารถฟังได้จาก th-cam.com/video/C2lVNOHP36g/w-d-xo.htmlและ th-cam.com/video/36shnIRg_Xs/w-d-xo.html----------------------------------------การฝึกเจริญสติ (Mindfulness Meditation) ก็คือการฝึกแบบวิปัสสนาภาวนาตามหลักสติปัฏฐาน สำหรับผู้สนใจเพิ่มเติมในเรื่องความแตกต่างของ สมถภาวนา VS วิปัสสนาภาวนา ขอแนะนำให้ฟัง th-cam.com/video/Nsu0TT9z5m4/w-d-xo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน 1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน" ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] th-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.htmlซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้ เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้ไม่เกินคลิปหมายเลข 7.8 หรือใกล้เคียงกันนั้น ก็จะเป็นการปูพื้นฐานจนเกือบครบถ้วนแล้วส่วนคลิปหลังจากนั้น ก็เป็นการขยายความบ้าง เป็นส่วนเสริมบ้าง หรือเป็นการตอกย้ำบ้างเพราะฉะนั้น ไม่ได้หมายความว่า "มือใหม่" จะต้องดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] จนหมดให้ครบถึงคลิปสุดท้ายแล้วจึงค่อยลงมือเริ่มฝึกฝน ไม่ใช่แบบนั้น!!คือ ดูไปเรื่อยๆ สัก 2-3 คลิป จนเริ่มรู้หลักการคร่าวๆรู้วิธีฝึกคร่าวๆ แล้วก็เริ่มเอาวิธีการไปลงมือฝึกได้เลยแล้วพอว่างๆ ก็ค่อยๆ มาดูคลิปเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ เมื่อพอจะเริ่มเข้าใจวิธีฝึก ก็ให้ลงมือฝึกฝนบ่อยๆ หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้ ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]th-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
สำหรับท่านที่สงสัยเรื่องคำ ภ.อังกฤษว่า "Meditation หมายถึง การฝึกสมาธิ ใช่หรือไม่?"
ในความจริงแล้ว Meditation ในความหมายทั่วไป
ไม่ได้หมายถึงการฝึกสมาธิ (แบบสมถภาวนาเพื่อความสงบนิ่ง)
แต่ Meditation มีความหมายรวมกว้างๆ ถึง "การภาวนา"
ซึ่งการภาวนาในทางพุทธนั้น แบ่งเป็น 2 ประเภท
ทั้งสองแบบนี้ มีเป้าหมายที่ต่างกัน
1.สมถภาวนา Tranquility Meditation (เพื่อให้จิตใจสงบ)
2.วิปัสสนาภาวนา Insight Meditation (เพื่อให้เกิดปัญญาพาไปสู่การพ้นทุกข์ถาวร)
โดยทั่วไปแล้ว ผู้คนจำนวนไม่น้อยเข้าใจผิดว่า
"การปฏิบัติธรรมทางพุทธ หรือการภาวนา (Meditation)
คือ การฝึกสมาธิแบบสมถภาวนา (เพื่อความสงบ) เท่านั้น"
ซึ่งจริงๆ แล้ว เป้าหมายปลายทางของการฝึกตนทางพุทธ
คือ "วิปัสสนาภาวนา" (เพื่อให้เกิดปัญญา พาไปสู่การพ้นทุกข์ถาวร)
ไม่ใช่แค่เพื่อให้จิตใจสงบ!!
และพอได้ยินชาวต่างชาติพูดว่า "Meditation" มีประโยชน์อย่างไร?
มันดีอย่างไร? พาไปสู่การพ้นทุกข์.... ฯลฯ
หลายคนก็พากันเข้าใจผิดว่า ชาวต่างชาติเห็นประโยชน์ของ "การฝึกสมาธิ" "การนั่งสมาธิ"
หรือบางคนก็แห่กันไป "ทำสมาธิ" "นั่งสมาธิ" (แบบสมถะ) กันยกใหญ่
เพราะเข้าใจผิดคิดว่า คำว่า "Meditation" ที่ชาวต่างชาติใช้นั้น
แปลว่า การทำสมาธิ การนั่งสมาธิ (แบบสมถะ)
เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่ได้ยินคำว่า Meditation ให้พึงระลึกเสมอว่า
มันไม่ได้หมายถึง "การฝึกสมาธิ"!!
แต่มันหมายถึง "การภาวนา" ซึ่งมี 2 แบบ (สมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา)
และในทางพุทธนั้น มีเป้าหมายปลายทางไปที่การฝึกตนเพื่อพ้นทุกข์
ซึ่งก็คือ "วิปัสสนาภาวนา"
หมายเหตุ :
บางครั้งก็มีการใช้คำทับศัพท์เป็นภาษาอังกฤษไปเลย
เช่น สมถะ (Samatha) / สมาธิ (Samadhi) / วิปัสสนา (Vipassana)
ตัวอย่างเช่น
- สมถภาวนา = Samatha Meditation หรือ Samadhi Meditation
- วิปัสสนาภาวนา = Vipassana Meditation
ในกรณีคำว่า "สติปัฏฐาน" ก็ใช้คำทับศัพท์ว่า Satipatthana (สติปัฏฐาน)
หรือ Satipatthana Sutta (สติปัฏฐานสูตร)
แล้วจะต่อด้วยคำว่า Meditation ก็ได้
เช่น การฝึกสติปัฏฐาน (Satipatthana Meditation)
ส่วนการฝึกสติปัฏฐาน แล้วเรียกสั้นๆว่า "การฝึกเจริญสติ"
ใช้คำว่า Mindfulness Meditation
ผู้สนใจประเด็นนี้และรวมทั้งเรื่องคำภ.อังกฤษเกี่ยวกับคำว่าภาวนา สมถะ วิปัสสนา ฯลฯ
สามารถฟังได้จาก th-cam.com/video/C2lVNOHP36g/w-d-xo.html
และ th-cam.com/video/36shnIRg_Xs/w-d-xo.html
----------------------------------------
การฝึกเจริญสติ (Mindfulness Meditation) ก็คือการฝึกแบบวิปัสสนาภาวนาตามหลักสติปัฏฐาน
สำหรับผู้สนใจเพิ่มเติมในเรื่องความแตกต่างของ สมถภาวนา VS วิปัสสนาภาวนา
ขอแนะนำให้ฟัง th-cam.com/video/Nsu0TT9z5m4/w-d-xo.html
สำหรับผู้ที่สนใจฝึกฝนเจริญสติ (สติปัฏฐาน) ตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน
1. การเริ่มต้นฝึกฝนในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
หากสะดวกหรือสนใจที่จะได้เรียนรู้โดยตรงกับครูอาจารย์ต่างๆ
ก็ลอง search หาใน google ว่าสะดวกจะไปที่ไหน หรือลองดูจาก link นี้
facebook.com/Sanamnai/photos/a.365802240102946.108142.361998700483300/1319466311403196/?type=3
เป็นสถานที่ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ในแนวทางของหลวงพ่อเทียน
2. หรือหากจะเริ่มต้นฝึกฝนโดยดูคลิปต่างๆ จาก channel "มือใหม่หลวงพ่อเทียน"
ก็ให้เข้าไปที่ [ส่วนที่ 1] th-cam.com/play/PL85WQjF_Yosp_X82mqKLaEx2g-cIyvh5f.html
ซึ่งจะรวบรวมประเด็นต่างๆ ที่มือใหม่ควรจะรู้
เราพยายามจัดเรียงลำดับของคลิปไว้ตามหมายเลข
เพื่อลำดับความเข้าใจให้มือใหม่ไม่สับสน ไล่ดูไปเรื่อยๆ ตามลำดับที่เรียงไว้
ไม่เกินคลิปหมายเลข 7.8 หรือใกล้เคียงกันนั้น
ก็จะเป็นการปูพื้นฐานจนเกือบครบถ้วนแล้ว
ส่วนคลิปหลังจากนั้น ก็เป็นการขยายความบ้าง
เป็นส่วนเสริมบ้าง หรือเป็นการตอกย้ำบ้าง
เพราะฉะนั้น ไม่ได้หมายความว่า "มือใหม่"
จะต้องดูคลิปใน [ส่วนที่ 1] จนหมดให้ครบถึงคลิปสุดท้าย
แล้วจึงค่อยลงมือเริ่มฝึกฝน ไม่ใช่แบบนั้น!!
คือ ดูไปเรื่อยๆ สัก 2-3 คลิป จนเริ่มรู้หลักการคร่าวๆ
รู้วิธีฝึกคร่าวๆ แล้วก็เริ่มเอาวิธีการไปลงมือฝึกได้เลย
แล้วพอว่างๆ ก็ค่อยๆ มาดูคลิปเพิ่มเติมไปเรื่อยๆ
เมื่อพอจะเริ่มเข้าใจวิธีฝึก ก็ให้ลงมือฝึกฝนบ่อยๆ
หากมีข้อสงสัยอะไร ก็ทิ้งคำถามไว้ที่ใต้คลิปนั้น
เราก็จะพยายามหาคำแนะนำของครูอาจารย์มาช่วยคลี่คลายให้
3. หรือหากมีเวลาพอสมควร พอที่จะดูคอร์สการบรรยายที่ยาวหน่อยได้
ก็อยากให้ดูการสอนกรรมฐานแบบเข้าใจง่ายใน [ส่วนที่ 2]
th-cam.com/play/PL85WQjF_Yosrqwu1E23iCftSJobZU6sK8.html
จะช่วยปูพื้นฐานอย่างละเอียด ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง