ธาตุทั้ง 6 ที่ประกอบขึ้นเป็นร่างกาย | โครงสร้างแห่งสิ่งที่เรียกว่าชีวิต (ช่วงเด่น) | พุทธทาส

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 28 ธ.ค. 2024

ความคิดเห็น • 9

  • @prachanthitapunyo2463
    @prachanthitapunyo2463 22 ชั่วโมงที่ผ่านมา

    🙏🙏🙏🤍🤍🤍🙏🙏🙏

  • @waruneesaelee5133
    @waruneesaelee5133 9 หลายเดือนก่อน

    สาธุ

  • @KiatkawinDhammaLearning
    @KiatkawinDhammaLearning ปีที่แล้ว +2

    สาธุครับ

  • @gks1877
    @gks1877 2 ปีที่แล้ว +4

    สาธุ รู้มานานแล้วค่ะแต่เพื่งมาตระหนักรู้ตอนนี้เมื่อวัยย่างเข้า75 ถือว่ามีบุญ

    • @wiwinai999
      @wiwinai999 11 หลายเดือนก่อน

      ยังทัน สาธุ สาธุ

  • @สุชาติสิงห์โตทอง-ษ9พ
    @สุชาติสิงห์โตทอง-ษ9พ 10 หลายเดือนก่อน +1

    ติดตามตลอดครับคลิปหลวงพ่อพุทธทาส

  • @อัสดง-อ6ล
    @อัสดง-อ6ล 7 หลายเดือนก่อน

    สิ้นสงสัยในเรื่องนี้ ได้ชื่อว่า โสดาบันผู้เข้าสู่กระแสการสิ้นทุข์

  • @กนกวรรณกันทิน-ฮ7ป
    @กนกวรรณกันทิน-ฮ7ป 8 หลายเดือนก่อน

    ค่ะไม่เที่ยง..

  • @uckaramet8402
    @uckaramet8402 10 หลายเดือนก่อน +1

    ความหมายของ อากาสธาตุ ที่พระพุทธเจ้าตรัสซึ่งปรากฏในพระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่ม13 หน้า 113 ข้อ139
    "ดูกรราหุล ก็อากาสธาตุเป็นไฉน? อากาสธาตุเป็นภายในก็มี เป็นภายนอก
    ก็มี. อากาสธาตุที่เป็นภายในเป็นไฉน สิ่งใดเป็นภายใน อาศัยตนเป็นอากาศ มีลักษณะว่าง
    อันกรรมและกิเลสเข้าไปยึดมั่น คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปาก ช่องคอสำหรับกลืนอาหารที่กิน
    ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และช่องสำหรับถ่ายอาหารที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม ออกเบื้องล่าง
    หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างอื่นเป็นภายใน อาศัยตน เป็นอากาศ มีลักษณะว่าง ไม่ทึบ มีลักษณะ
    ไม่ทึบเป็นช่อง มีลักษณะเป็นช่อง อันเนื้อและเลือดไม่ถูกต้อง เป็นภายใน อันกรรมและกิเลส
    เข้าไปยึดมั่น นี้เราเรียกว่าอากาสธาตุ เป็นภายใน. ก็อากาสธาตุเป็นภายในก็ดี เป็นภายนอกก็ดี
    อันใด อากาสธาตุนั้น เป็นอากาศธาตุเหมือนกัน. อากาสธาตุนั้น เธอพึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบ
    ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่ตนของเรา ดังนี้. เพราะบุคคลเห็นอากาสธาตุนั้น ด้วยปัญญาอันชอบตามเป็นจริงอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในอากาสธาตุ จิต
    ย่อมคลายกำหนัดในอากาสธาตุ.
    (ฉบับหลวง เล่ม13 หน้า 113 ข้อ139)"
    นอกจากนี้ ไม่ปรากฏความหมายใดที่แสดงให้เข้าใจว่า เป็นที่ตั้งของธาตุที่เหลือทั้ง5