ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
แรงจี คือ แรงที่ทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งๆ (ความเร็ว 0 เมตร ต่อวินาที) เคลื่อนที่ไปจนเมื่อสิ้นนาทีที่ 1 วัตถุนั้นมีความเร็ว 9.8 เมตรต่อวินาที (32.2 ฟุตต่อวินาที)แรงดังกล่าวมีค่าเท่ากับแรงดึงดูดของโลก จึงเรียกแรงดังกล่าวว่ามีขนาด 1 จี แรงที่กระทำสวนกลับ ในขนาดเท่ากันเป็นแรงที่มีผลต่อร่างกาย ซึ่งจะเกิดมากน้อยเพียงใดจะขึ้นอยู่กับขนาดและทิศทางของแรงที่กระทำต่อร่างกาย แบ่งได้เป็น แรงจีบวก (Positive G) และ แรงจีลบ (Negative G)แรงจีบวก คือ แรงจีที่กระทำต่อร่างกายตามแนวศีรษะสู่เท้าเรียกว่า ใช้สัญญลักษณ์ +Gz ซึ่งเป็นปัญหาต่อการบินมากที่สุด เกิดขณะกำลังนำเครื่องบินเลี้ยว หรือบินเป็นรูปครึ่งวงกลม, ศีรษะนักบินหันเข้าหาจุดศูนย์กลาง แรงหนีศูนย์กลางจะกระทำตามแนวศีรษะไปสู่เท้า โดยแรงจีบวกจะส่งผลกระทบต่อนักบินดังนี้1. ผลต่อการเคลื่อนไหว (mobility effects) น้ำหนักของคนเท่ากับมวลคูณด้วยอัตราเร่ง อัตราเร่งในแรงดึงดูดของโลกคือ 1 จี แรงดึงดูดของพื้นโลกเท่ากับ 1 จี น้ำหนักจึงเท่ากับมวล ดังนั้นถ้าอัตราเร่งมากกว่า 1 จี น้ำหนักจะเพิ่มขึ้น เช่นน้ำหนัก 60 กิโลกรัม จะเพิ่มเป็น 300 กิโลกรัมที่ 5 จี มีผลต่อการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งภายนอกและภายในร่างกาย โดยเฉพาะเลือดจะมีน้ำหนักมากไม่สามารถไหลขึ้นไปส่วนศีรษะและสมองได้2. ผลต่อการหายใจ (respiratory effects) เกิดการหายใจลำบากเพราะกะบังลมทรวงอกมีน้ำหนักมากขึ้น อาจทำให้ปอดแฟบได้โดยเฉพาะถ้าขณะนั้นหายใจด้วยออกซีย์เจน 100%3. ผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular effects) แรงดันเลือดสู่สมองลดลง 22 มม.ปรอท ในทุกๆ จีที่เพิ่มขึ้น มีผลทำให้รบกวนการมอง และอาจหมดสติได้4. ผลต่อการมองเห็น (visual effects) เกิดจากความบกพร่องในการไหลเวียน และกระจกตาบิดเบี้ยว (lens displacement) ทำให้สายตามัว จนกระทั่งมองไม่เห็น5. ผลต่อระบบควบคุมการทรงตัว (vestibular effects) เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการหลงสภาพการบินเนื่องจากการทำงานผิดปรกติของอวัยวะควบคุม การทรงตัว (1)แรงจีลบ คือ แรงกระทำต่อร่างกายในทิศทางจากเท้าไปศีรษะ เรียกว่า “แรงจีลบ” (negative G) ใช้สัญญาลักษณ์ -Gz, เกิดในขณะการนำเครื่องบินลดระดับอย่างรวดเร็ว มีผลต่อร่างกายดังนี้แรงจีลบ1. ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ขณะที่เกิดแรงจีลบซึ่งกระทำในทิศสวนทางกับแรงจีบวก มีผลทำให้เลือดขึ้นไปคั่งอยู่ในส่วนที่เหนือหัวใจขึ้นไป คือในสมอง ตาและใบหน้า เลือดคั่งในหลอดเลือดของสมองอาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะอย่างมากร่างกายทนได้ไม่ดีเพียงแค่ -2 ถึง -3 Gz ในบางคนก็ทนไม่ได้2. การมองเห็นเป็นสีแดง (red out) เกิดจากการที่มีเลือดคั่งมากในหลอดเลือดที่เลี้ยงจอตา (retinal vessel) ทำให้ลักษณะของการมองเห็นสว่างขึ้น จนกระทั่งมองเห็นเป็นสีแดง3. การตกเลือด เนื่องจากแรงจีลบ ทำให้มีการเพิ่มการไหลของเลือดสู่ส่วนบนของร่างกาย แรงดันเลือดในสมองสูงขึ้น อาจทำให้มีการแตกของหลอดเลือดฝอยเล็กๆ ในสมองบางบริเวณ โดยเฉพาะการตกเลือดใต้เยื่อบุตา (subconjunctival hemorrhage) ถ้ารุนแรงอาจทำให้หลอดเลือดดำใหญ่ใน สมองแตก ถึงเสียชีวิตได้4. ผลของการกระตุ้นปุ่มคาโรติด (baro- receptor effect) ในกรณีที่เกิดการเพิ่มแรงดันในสมองสูงขึ้น ทำให้มีการกระตุ้นจุดรับการกระตุ้น (receptor) ที่ carotid sinus อาจทำให้หัวใจหยุดเต้น 10-15 วินาที ขาดเลือดไปเลี้ยงสมองทันทีทันใด
ตอบสั้นๆคือไม่ตอบยาวๆคือ ม่ายยยยยย
รายการดีมีสาระ นักพากย์ก็เก่ง คนคิดคอนเท้นก็เทพ CG ก็ดูเข้าใจง่าย ช่างเป็นชาเนิลที่ดีต่อโลกมาก 👏
แอดน่ารักกก
7:23 แอดแน่นอนน่ารักอ่ะ
ขนาดผมเป็นนักเรียนaerospace engineering ยังมาดูอ่ะครับ ให้ข้อสรุป ดีมากครับ
โหสุดยอดเลยครับ สาขา วิศวกรรมอวกาศใช่ไหมครับพี่ พี่เรียนที่ไหนหรอครับ สนใจครับ
India ครับ
ส่วนใหญ่สองปีกครับ หั่นออกมาได้สองน่อง ปีกก็เอาไปชุบแป้งทอด น่องก็เอาไว้ทำไก่วิ้งแซ่บ
หิวใช่ไหม
1:52 ม่ายยยย เสียงเเอดน่ารัก55
7:02แอดนี่เองงง น่ารัก
คำตอบยาวๆคือ ม่ายยยยย 😂😂
ดีมีประโยชน์
ผมชอบดูช่องนี้มาก
ชอบเสียงคับ
แรงหนีศูนย์ถ่วงค่ะ..ตอนเหวี่ยงแก้วน้ำ
centrifugal force แรงหนีศูนย์กลางครับ
ช่องเครื่องบินจริงๆ 😂
แต่เราชอบ
7:21แรงหนีศูน(แรงหนีศูนย์กลางของจุดหมุน)
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
@@sodasouth8032ลองดู6:57แล้วสมุติว่าจุดหมุนอยู่ทาง ขวามือของจอ จะมีแรงเหวี่ยงไปด้าน ซ้ายมือของจอ นักบินจึงบิดเครื่องบินตามเข็มนาฬิกาเพื่อต้านแรงหนีศูนผู้โดยสารจึงไม่รู้สึกอะไรเลย แต่ถ้าจุดหมุนอยู่ทาง ซ้ายมือของจอ คุณก็พูดถูก
แรงหนีศูนย์ถูกแล้วครับ
มาแล้ววว
8:35 กระแสลมกรด=ลมสินค้าไหม ใครรู้บอกที ใครเรียนเรื่องนี้แล้วบอกได้
ลมกรดเป็นลมระดับสูง เป็น10กิโลเมตรเลย ลมกรดแรงพอๆกับเฮอริเคนเลย ความเร็ว 200 ถึง 400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พัดผ่านโลกอยู่ตลอด ลมสินค้าเป็นลมระดับต่ำเป็นลมประจำฤดูกาล พัดในแถบเส้นศูนย์สูตร ชาวเรือใช้ประโยชจากลมนี้เคยมีเหตุการเครื่องบินทิ้งระเบิดของสหรัฐจะบินไปทิ้งระเบิดนาปามที่ญี่ปุ่นแต่บินเท่าไหร่ก็ไปไม่ถึงสักที ทั้งๆที่มันก็อยู่ข้างหน้านั่นเอง เพราะดันไปบินสวนกับลมกรดเข้า
@@โรตีมิวสิคขอบคุณครับ
เเรงเหวี่ยงครับ
1:48 ใครย้อนดูเกิน1รอบบ้าง
4:14เเอดนั้นมัน7ไม่ใช่8😂😂
เเรงGครับ จะเกิดก็ต่อเมื่อเครื่องบินใช่ความเร็ว1000 กม ขึ้นไป
มั่วเลยครับเเรงg หรือ G-Force สามารถเกิดได้เเม้บินด้วยความเร็วต่ำ เพราะมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยความเร็วอย่างเดียวเเต่ปัจจัยที่ทำให้เกิดเเรงจีได้ก็คือ ขนาดของเครื่องบิน น้ำหนักของเครื่องบิน ขนาดความยาวปีก รูปร่างลักษณะของเครื่องบิน มันไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ความเร็วอย่างเดียว บางทีไม่จำเป็นต้องเป็นเครื่องบินอย่างเดียวหรอกครับที่มีเเรงจี วัตถุทุกอย่างที่มีความเร็วเเละมีการเปลี่ยนทิศทางจะทำให้เกิดเเรงจีได้ หรืออีกกรณีนึงคือการที่เกิดอัตตราเร่งของวัตถุสูงจะทำให้เกิดเเรงจีได้เหมือนกันครับ
ขอบคุณครับ
ขอตอบชื่อคลิปว่า ต้องเรียกว่าคู่ ภาพทางขวาถึงมีเเค่หนึ่ง
แรงGครับ
ลองคิดเล่นถ้าเกิด เกิดสายฟ้าฟาด แต่ความแรงของมันผิดปกติเป็นอย่างมาก ความแรงถึง 1,000,000 โวลต์ จะเกิดอะไรขึ้น เครื่องบินจะระเบิดเลยหรือปล่าว หรือ ทุกสิ่งทุกอย่างจะดับหมด
เม้น 15 ครับ
แรงเหวี่ยง
มุขใช้ได้นี่
เรียกว่า "แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง"
แรงดึงเข้าสู่ศูนย์กลาง
คลิปเขาถามชื่อของแรงหนะครับ ส่วนจะดึงหรือดันเป็นเรื่องของทิศทาง(เวคเตอร์)เทียบจุดอ้างอิง 😅
ที่คุนพูดมาผมรู้ตอนผมยุ ป 3 คับ
ใช่แรงเหวี่ยงหรือแรงหนีศูนย์กลางป่ะ
ถูกต้องแล้วครับ
@@timmie701 นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
เเรงเฉื่อย
7:25แรงG
นึกว่าเรียกเป็นชั้น เช่น ปีกสองชั้น
แรงกดอากาศหรอคะ
แง้มาเเล้ว
7:45 G Froce รึป่าว
ใช่แล้วว
G Force*
เขียนผิดเองง
ทำไมเวลายิงปืน เครื่องบินป้กสองชั้นถึงไม่ติดใบพัด
ปกคลิปน่าจะเป็น 1ชั้น 2ชั้น นะครับ
เเรง G ครับ
แรง G ครับ
7:24 แรงเหวี่ยงที่เกิดจากความเร็วบวกกับองศาการเลี่ยวของเครื่องบิน เรียกง่ายๆว่าแรง G ครับ #ถูกมั้ยว่ะ555
กำลังจะเม้นใช่แล้วครับเขาเรียกว่าแรงG
Dark night ขอบคุณครับ
4 G แรงมาก
7:25 ใช่แรง G ไหม
เครื่องบินตกบ่อย
7:20 เเรงเหวี่ยงไหม
แรง G รึเปล่า
centrifugal force ครับ แรงหนีศูนย์กลางครับ
เคยดูโฆษณาเหล้าสมัยก่อน ตัวละครพูดว่า สั้นๆ”คุณภาพต้องพิถีพิถัน” อีกคนถามเลยว่าแล้วยาวๆล่ะคนเดิมก็เลยตอบกวนๆว่า “คุณนาภาพพพต้องงงงงพีๆๆๆๆถีๆๆๆๆๆพิๆๆๆๆๆถันๆๆๆๆๆ”
เเรงหนีจุดศูนย์กลาง ครับเเอด
แรงหนีศูนย์กลางป่าวคับ
ดูดีๆโว้ยมันไม่ใช่!! ปากแก้วเปิดออกด้านนอกมันไม่ใช่แรงหนีโว้ย
อยากรู้ว่าถ้าเครื้องบินเป็นระบบปิดจะไปนอกโลกได้มั้ยครับ
เเรงยกไม่พอ
ไม่ได้ครับปีกต้องมีอากาศสร้างแรงยกให้มากพอกว่า นน.ตัวเองครับ อวกาศไม่มีอากาศ
คนพากช่องนี้มี 3คนป่าวครับ เหมือนมีผู้หญิง2ชาย1
1:52 กดอันซับได้ปะ
55555555555
ทำไมเครื่องบินไม่ทำหน้าต่างใหญ่
น่าจะเกี่ยวกับแรงดันครับ
เปลืองเงินครับเรื่องวัสดุครับ จุดที่เป็นหน้าต่างจะสังเกตุมี2ชั้นและยังต้องทำบานเลื่อยเปิดปิดอีก
7:24คือแรง G FORG
G force ไม่ใช่ G forg
คนถือแก้วหมุนนี่ใช่คนพากษป่ะ
ข้อ 11 คือแรงจีคับ
แรง ทะลุฟ้า ดูดม้าทะลุฟรอย
มันเรียกว่าเเรงเหวี่ยง
เพิ่งรู้เรื่องตะขอตรงปีกก็วันนี้แหละ นึกในใจ นึกว่าเอาไว้ยก เครื่องบินไรงี้ 555+
เเรงจีครับ
เเรงเหวี่ยง
แรงสู่จุดศูนย์กลางหรอ ?
แรงหนีศูนย์กลางครับ ที่ทำให้น้ำไม่หกส่วนแรงสู่ศูนย์กลางทำให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือโค้ง
เขาเรียกว่าแรงเหวียงหนีศูนย์
เฮ้อ..นกก็มีปีกข้างเดียว คนก็มีขาเดียว
แรง G หรือแรงโน้มถ่วง และแรงเหวี่ยง
แอดเป็นภรรยานักบินป่าวครับ555
Fokker dr1กำลังงงกับสิ่งนี้
แรงหนีศูนย์กลาง
เม้นแรก..ง่อว
4:14คือข้อ7 ที่เสียงออกมานั้น คือเสียงตดแอดเอง แป้ด 🤣🤣🤣
centrifugal force แรงหนีศูนย์กลาง
7.22 แรงG
น่าจะเอาไปเปิดบนเครื่องบิน
เม้นแล้วนะว่า คุณใช้คำผิดไปหรือเปล่า คือ ,,เครื่องบินทุกลำจริง ๆ แล้วมีปีกข้างเดียว,, ที่ถูก มันน่าจะใช้คำว่า ,,เครื่องบินทุกลำจริง ๆ แล้วมีปีกเดียว,, เพราะที่จริงแล้ว ถ้ามีปีกข้างเดียวมันจะบินไม่ได้
บี สุราษ เห็นด้วยค่ะ มีปีกเดียว ไม่ใช่ข้างเดียว
เห็นด้วยครับ
เสียงน่าร๊าก
แรง gครับ
4:14 แปด??
จุดศูนย์ถ่วงครับ
WOW
แรงหนีจุดศูนย์กลาง
Likeที่832
ใครอยากรู้เรื่องเครื่องบินลึกมากๆติดตามได้ครับทีมงานถอดเครื่องบิน JJSfacebook.com/884250328406676/posts/1400223966809307/
คองคอดของโซเวียดพี่
เล่าผิด ต้อง6เเล้ว7สิครับบอันนี้6ไป8เลย
ใส่รูปผิดกับหัว
11. แรงต้าน g
แรงเสียดถาน
แรง G
เเรงG
แรงG
เขาเรียกแรงGมั้ง
เเรงหนีจุดศูนกลาง
มี2ข้างนะ ซ้ายกะขวา
เหมือนคลิปอธิบายไว้แล้วว่าปีกซ้ายกะปีกขวานับเป็น1
อะไรคือ1ปีกมันก็ตกสิ
แรงหนี้ศูนย์กลาง
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรง หนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
ไม่รู้แต่คูณเราได้ไง????????????????????????????????😑😕
แรงg
เนื้อหาไม่ตงกับชื่อคิป
แรงเหวี่ยงหรอ
งงกับชื่อคลิป
4ปีกกับ4ปีกไม่ใช้หรอ
ปีกเดียว(ซ้ายขวา=1) แพนหางไม่เกี่ยว
นี่คนปกติเขาไม่รู้เรื่องจริงดิ เรื่องที่ว่าทำไมเครื่องบินบินขึ้นอวกาศไม่ได้อ่ะ มันโคตรจะBasicเลยน่ะเรื่องนี้อ่ะ
เม้นแรก 😍
ดูจบคลิป ยังไม่เห็นจะอธิบายเรืองเครื่องบินจริงๆแล้วมีปีกข้างเดียวหรืออธิบายไปแล้วในคลิปแต่ผมไม่ทันรู้
เหมือนตั้นคำถามขึ้นมาให้งง วกวนเองครับ ปีกก็คือปีก เครื่องบินมีปีก 2 ข้างซ้ายและขวา แค่นั้นแหละครับ แล้วที่นี้แล้วแต่ว่าจะนับยังไง บ้างทีก็นับว่าปีกทั้งซ้ายและขวา เท่ากับ1ปีก เพราะบ้างทีเขาจะสร้างปีกเป็นชิ้นเดียวเลยครับ แล้วเอาลำตัวมาวางทับตรงกลาง เลยนับเป็นมีแค่1ปีก-ส่วนว่า มีปีกข้างเดียวบินได้ไหม ตอบตามทฤษฏีคือไม่ได้ครับ แต่ตามความจริงที่เคยเกิดมาเคยมีเครื่องเอฟ15 ครับที่บินได้ด้วยปีกข้างเดียว แต่มันก็เป็นอุบัติเหตุและไม่ได้วางแผนให้เกิดขึ้น ซึ่งเครื่องบินที่จะทำได้ต้องมีความเฉพาะมากๆครับ-เครื่ิองโบราณที่มีปีก2ชั้น อันนั้นเพราะสมัยก่อนเครื่องบินเครื่องยนต์และลำตัวน้ำหนักเยอะครับ ปีกจะทำจากวัสดุที่เบาจึงเพิ่มเป็น2 ชั้นทำให้ลอยขึ้นให้ได้ดีขึ้น แต่ก็มีข้อเสียคือควบคุมยากและต้านอากาศทำให้บินช้าครับ มาปัจจุบันก็เลิกใช้เพราะแก้ นน.ลำตัวได้แล้วเครื่องยนต์เบาลงก็ไม่จำเป็นต้อง2ชั้น
แรงจี คือ แรงที่ทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งๆ (ความเร็ว 0 เมตร ต่อวินาที) เคลื่อนที่ไปจนเมื่อสิ้นนาทีที่ 1 วัตถุนั้นมีความเร็ว 9.8 เมตรต่อวินาที (32.2 ฟุตต่อวินาที)แรงดังกล่าวมีค่าเท่ากับแรงดึงดูดของโลก จึงเรียกแรงดังกล่าวว่ามีขนาด 1 จี แรงที่กระทำสวนกลับ ในขนาดเท่ากันเป็นแรงที่มีผลต่อร่างกาย ซึ่งจะเกิดมากน้อยเพียงใดจะขึ้นอยู่กับขนาดและทิศทางของแรงที่กระทำต่อร่างกาย แบ่งได้เป็น แรงจีบวก (Positive G) และ แรงจีลบ (Negative G)
แรงจีบวก คือ แรงจีที่กระทำต่อร่างกายตามแนวศีรษะสู่เท้าเรียกว่า ใช้สัญญลักษณ์ +Gz ซึ่งเป็นปัญหาต่อการบินมากที่สุด เกิดขณะกำลังนำเครื่องบินเลี้ยว หรือบินเป็นรูปครึ่งวงกลม, ศีรษะนักบินหันเข้าหาจุดศูนย์กลาง แรงหนีศูนย์กลางจะกระทำตามแนวศีรษะไปสู่เท้า โดยแรงจีบวกจะส่งผลกระทบต่อนักบินดังนี้
1. ผลต่อการเคลื่อนไหว (mobility effects) น้ำหนักของคนเท่ากับมวลคูณด้วยอัตราเร่ง อัตราเร่งในแรงดึงดูดของโลกคือ 1 จี แรงดึงดูดของพื้นโลกเท่ากับ 1 จี น้ำหนักจึงเท่ากับมวล ดังนั้นถ้าอัตราเร่งมากกว่า 1 จี น้ำหนักจะเพิ่มขึ้น เช่นน้ำหนัก 60 กิโลกรัม จะเพิ่มเป็น 300 กิโลกรัมที่ 5 จี มีผลต่อการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งภายนอกและภายในร่างกาย โดยเฉพาะเลือดจะมีน้ำหนักมากไม่สามารถไหลขึ้นไปส่วนศีรษะและสมองได้
2. ผลต่อการหายใจ (respiratory effects) เกิดการหายใจลำบากเพราะกะบังลมทรวงอกมีน้ำหนักมากขึ้น อาจทำให้ปอดแฟบได้โดยเฉพาะถ้าขณะนั้นหายใจด้วยออกซีย์เจน 100%
3. ผลต่อหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular effects) แรงดันเลือดสู่สมองลดลง 22 มม.ปรอท ในทุกๆ จีที่เพิ่มขึ้น มีผลทำให้รบกวนการมอง และอาจหมดสติได้
4. ผลต่อการมองเห็น (visual effects) เกิดจากความบกพร่องในการไหลเวียน และกระจกตาบิดเบี้ยว (lens displacement) ทำให้สายตามัว จนกระทั่งมองไม่เห็น
5. ผลต่อระบบควบคุมการทรงตัว (vestibular effects) เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการหลงสภาพการบินเนื่องจากการทำงานผิดปรกติของอวัยวะควบคุม การทรงตัว (1)แรงจีลบ คือ แรงกระทำต่อร่างกายในทิศทางจากเท้าไปศีรษะ เรียกว่า “แรงจีลบ” (negative G) ใช้สัญญาลักษณ์ -Gz, เกิดในขณะการนำเครื่องบินลดระดับอย่างรวดเร็ว มีผลต่อร่างกายดังนี้
แรงจีลบ
1. ผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ขณะที่เกิดแรงจีลบซึ่งกระทำในทิศสวนทางกับแรงจีบวก มีผลทำให้เลือดขึ้นไปคั่งอยู่ในส่วนที่เหนือหัวใจขึ้นไป คือในสมอง ตาและใบหน้า เลือดคั่งในหลอดเลือดของสมองอาจทำให้เกิดอาการปวดศีรษะอย่างมากร่างกายทนได้ไม่ดีเพียงแค่ -2 ถึง -3 Gz ในบางคนก็ทนไม่ได้
2. การมองเห็นเป็นสีแดง (red out) เกิดจากการที่มีเลือดคั่งมากในหลอดเลือดที่เลี้ยงจอตา (retinal vessel) ทำให้ลักษณะของการมองเห็นสว่างขึ้น จนกระทั่งมองเห็นเป็นสีแดง
3. การตกเลือด เนื่องจากแรงจีลบ ทำให้มีการเพิ่มการไหลของเลือดสู่ส่วนบนของร่างกาย แรงดันเลือดในสมองสูงขึ้น อาจทำให้มีการแตกของหลอดเลือดฝอยเล็กๆ ในสมองบางบริเวณ โดยเฉพาะการตกเลือดใต้เยื่อบุตา (subconjunctival hemorrhage) ถ้ารุนแรงอาจทำให้หลอดเลือดดำใหญ่ใน สมองแตก ถึงเสียชีวิตได้
4. ผลของการกระตุ้นปุ่มคาโรติด (baro- receptor effect) ในกรณีที่เกิดการเพิ่มแรงดันในสมองสูงขึ้น ทำให้มีการกระตุ้นจุดรับการกระตุ้น (receptor) ที่ carotid sinus อาจทำให้หัวใจหยุดเต้น 10-15 วินาที ขาดเลือดไปเลี้ยงสมองทันทีทันใด
ตอบสั้นๆคือไม่
ตอบยาวๆคือ ม่ายยยยยย
รายการดีมีสาระ นักพากย์ก็เก่ง คนคิดคอนเท้นก็เทพ CG ก็ดูเข้าใจง่าย ช่างเป็นชาเนิลที่ดีต่อโลกมาก 👏
แอดน่ารักกก
7:23 แอดแน่นอนน่ารักอ่ะ
ขนาดผมเป็นนักเรียนaerospace engineering ยังมาดูอ่ะครับ ให้ข้อสรุป ดีมากครับ
โหสุดยอดเลยครับ สาขา วิศวกรรมอวกาศใช่ไหมครับพี่ พี่เรียนที่ไหนหรอครับ สนใจครับ
India ครับ
ส่วนใหญ่สองปีกครับ หั่นออกมาได้สองน่อง ปีกก็เอาไปชุบแป้งทอด น่องก็เอาไว้ทำไก่วิ้งแซ่บ
หิวใช่ไหม
1:52 ม่ายยยย เสียงเเอดน่ารัก55
7:02แอดนี่เองงง น่ารัก
คำตอบยาวๆคือ ม่ายยยยย 😂😂
ดีมีประโยชน์
ผมชอบดูช่องนี้มาก
ชอบเสียงคับ
แรงหนีศูนย์ถ่วงค่ะ..ตอนเหวี่ยงแก้วน้ำ
centrifugal force แรงหนีศูนย์กลางครับ
ช่องเครื่องบินจริงๆ 😂
แต่เราชอบ
7:21แรงหนีศูน(แรงหนีศูนย์กลางของจุดหมุน)
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
@@sodasouth8032ลองดู6:57แล้วสมุติว่าจุดหมุนอยู่ทาง ขวามือของจอ จะมีแรงเหวี่ยงไปด้าน ซ้ายมือของจอ นักบินจึงบิดเครื่องบินตามเข็มนาฬิกาเพื่อต้านแรงหนีศูนผู้โดยสารจึงไม่รู้สึกอะไรเลย แต่ถ้าจุดหมุนอยู่ทาง ซ้ายมือของจอ คุณก็พูดถูก
แรงหนีศูนย์ถูกแล้วครับ
มาแล้ววว
8:35 กระแสลมกรด=ลมสินค้าไหม ใครรู้บอกที ใครเรียนเรื่องนี้แล้วบอกได้
ลมกรดเป็นลมระดับสูง เป็น10กิโลเมตรเลย ลมกรดแรงพอๆกับเฮอริเคนเลย ความเร็ว 200 ถึง 400 กิโลเมตรต่อชั่วโมง พัดผ่านโลกอยู่ตลอด ลมสินค้าเป็นลมระดับต่ำ
เป็นลมประจำฤดูกาล พัดในแถบเส้นศูนย์สูตร ชาวเรือใช้ประโยชจากลมนี้
เคยมีเหตุการเครื่องบินทิ้งระเบิดของสหรัฐจะบินไปทิ้งระเบิดนาปามที่ญี่ปุ่น
แต่บินเท่าไหร่ก็ไปไม่ถึงสักที ทั้งๆที่มันก็อยู่ข้างหน้านั่นเอง เพราะดันไปบินสวนกับลมกรดเข้า
@@โรตีมิวสิคขอบคุณครับ
เเรงเหวี่ยงครับ
1:48 ใครย้อนดูเกิน1รอบบ้าง
4:14เเอดนั้นมัน7ไม่ใช่8😂😂
เเรงGครับ จะเกิดก็ต่อเมื่อเครื่องบินใช่ความเร็ว1000 กม ขึ้นไป
มั่วเลยครับเเรงg หรือ G-Force สามารถเกิดได้เเม้บินด้วยความเร็วต่ำ เพราะมันไม่ได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยความเร็วอย่างเดียวเเต่ปัจจัยที่ทำให้เกิดเเรงจีได้ก็คือ ขนาดของเครื่องบิน น้ำหนักของเครื่องบิน ขนาดความยาวปีก รูปร่างลักษณะของเครื่องบิน มันไม่ได้ขึ้นอยู่ที่ความเร็วอย่างเดียว บางทีไม่จำเป็นต้องเป็นเครื่องบินอย่างเดียวหรอกครับที่มีเเรงจี วัตถุทุกอย่างที่มีความเร็วเเละมีการเปลี่ยนทิศทางจะทำให้เกิดเเรงจีได้ หรืออีกกรณีนึงคือการที่เกิดอัตตราเร่งของวัตถุสูงจะทำให้เกิดเเรงจีได้เหมือนกันครับ
ขอบคุณครับ
ขอตอบชื่อคลิปว่า ต้องเรียกว่าคู่ ภาพทางขวาถึงมีเเค่หนึ่ง
แรงGครับ
ลองคิดเล่นถ้าเกิด เกิดสายฟ้าฟาด แต่ความแรงของมันผิดปกติเป็นอย่างมาก ความแรงถึง 1,000,000 โวลต์ จะเกิดอะไรขึ้น เครื่องบินจะระเบิดเลยหรือปล่าว หรือ ทุกสิ่งทุกอย่างจะดับหมด
เม้น 15 ครับ
แรงเหวี่ยง
มุขใช้ได้นี่
เรียกว่า "แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง"
แรงดึงเข้าสู่ศูนย์กลาง
คลิปเขาถามชื่อของแรงหนะครับ ส่วนจะดึงหรือดันเป็นเรื่องของทิศทาง(เวคเตอร์)เทียบจุดอ้างอิง 😅
ที่คุนพูดมาผมรู้ตอนผมยุ ป 3 คับ
ใช่แรงเหวี่ยงหรือแรงหนีศูนย์กลางป่ะ
ถูกต้องแล้วครับ
@@timmie701 นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
เเรงเฉื่อย
7:25แรงG
นึกว่าเรียกเป็นชั้น เช่น ปีกสองชั้น
แรงกดอากาศหรอคะ
แง้มาเเล้ว
7:45 G Froce รึป่าว
ใช่แล้วว
G Force*
เขียนผิดเองง
ทำไมเวลายิงปืน เครื่องบินป้กสองชั้นถึงไม่ติดใบพัด
ปกคลิปน่าจะเป็น 1ชั้น 2ชั้น นะครับ
เเรง G ครับ
แรง G ครับ
7:24 แรงเหวี่ยงที่เกิดจากความเร็วบวกกับองศาการเลี่ยวของเครื่องบิน เรียกง่ายๆว่าแรง G ครับ #ถูกมั้ยว่ะ555
กำลังจะเม้น
ใช่แล้วครับเขาเรียกว่าแรงG
Dark night ขอบคุณครับ
4 G แรงมาก
7:25 ใช่แรง G ไหม
เครื่องบินตกบ่อย
7:20 เเรงเหวี่ยงไหม
แรง G รึเปล่า
centrifugal force ครับ แรงหนีศูนย์กลางครับ
เคยดูโฆษณาเหล้าสมัยก่อน ตัวละครพูดว่า สั้นๆ”คุณภาพต้องพิถีพิถัน” อีกคนถามเลยว่าแล้วยาวๆล่ะคนเดิมก็เลยตอบกวนๆว่า “คุณนาภาพพพต้องงงงงพีๆๆๆๆถีๆๆๆๆๆพิๆๆๆๆๆถันๆๆๆๆๆ”
เเรงหนีจุดศูนย์กลาง ครับเเอด
แรงหนีศูนย์กลางป่าวคับ
ดูดีๆโว้ยมันไม่ใช่!! ปากแก้วเปิดออกด้านนอกมันไม่ใช่แรงหนีโว้ย
อยากรู้ว่าถ้าเครื้องบินเป็นระบบปิดจะไปนอกโลกได้มั้ยครับ
เเรงยกไม่พอ
ไม่ได้ครับปีกต้องมีอากาศสร้างแรงยกให้มากพอกว่า นน.ตัวเองครับ อวกาศไม่มีอากาศ
คนพากช่องนี้มี 3คนป่าวครับ เหมือนมีผู้หญิง2ชาย1
1:52 กดอันซับได้ปะ
55555555555
ทำไมเครื่องบินไม่ทำหน้าต่างใหญ่
น่าจะเกี่ยวกับแรงดันครับ
เปลืองเงินครับ
เรื่องวัสดุครับ จุดที่เป็นหน้าต่างจะสังเกตุมี2ชั้นและยังต้องทำบานเลื่อยเปิดปิดอีก
7:24คือแรง G FORG
G force ไม่ใช่ G forg
คนถือแก้วหมุนนี่ใช่คนพากษป่ะ
ข้อ 11 คือแรงจีคับ
แรง ทะลุฟ้า ดูดม้าทะลุฟรอย
มันเรียกว่าเเรงเหวี่ยง
เพิ่งรู้เรื่องตะขอตรงปีกก็วันนี้แหละ นึกในใจ นึกว่าเอาไว้ยก เครื่องบินไรงี้ 555+
เเรงจีครับ
เเรงเหวี่ยง
แรงสู่จุดศูนย์กลางหรอ ?
แรงหนีศูนย์กลางครับ ที่ทำให้น้ำไม่หก
ส่วนแรงสู่ศูนย์กลางทำให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมหรือโค้ง
เขาเรียกว่าแรงเหวียงหนีศูนย์
เฮ้อ..นกก็มีปีกข้างเดียว คนก็มีขาเดียว
แรง G หรือแรงโน้มถ่วง และแรงเหวี่ยง
แอดเป็นภรรยานักบินป่าวครับ555
Fokker dr1กำลังงงกับสิ่งนี้
แรงหนีศูนย์กลาง
เม้นแรก..ง่อว
4:14คือข้อ7 ที่เสียงออกมานั้น คือเสียงตดแอดเอง แป้ด 🤣🤣🤣
centrifugal force แรงหนีศูนย์กลาง
7.22 แรงG
น่าจะเอาไปเปิดบนเครื่องบิน
เม้นแล้วนะว่า คุณใช้คำผิดไปหรือเปล่า คือ ,,เครื่องบินทุกลำจริง ๆ แล้วมีปีกข้างเดียว,, ที่ถูก มันน่าจะใช้คำว่า ,,เครื่องบินทุกลำจริง ๆ แล้วมีปีกเดียว,, เพราะที่จริงแล้ว ถ้ามีปีกข้างเดียวมันจะบินไม่ได้
บี สุราษ เห็นด้วยค่ะ มีปีกเดียว ไม่ใช่ข้างเดียว
เห็นด้วยครับ
เสียงน่าร๊าก
แรง gครับ
4:14 แปด??
จุดศูนย์ถ่วงครับ
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
WOW
แรงหนีจุดศูนย์กลาง
Likeที่832
ใครอยากรู้เรื่องเครื่องบินลึกมากๆติดตามได้ครับ
ทีมงานถอดเครื่องบิน JJS
facebook.com/884250328406676/posts/1400223966809307/
คองคอดของโซเวียดพี่
เล่าผิด ต้อง6เเล้ว7สิครับบอันนี้6ไป8เลย
ใส่รูปผิดกับหัว
11. แรงต้าน g
แรงเสียดถาน
แรง G
เเรงG
แรงG
เขาเรียกแรงGมั้ง
เเรงหนีจุดศูนกลาง
มี2ข้างนะ ซ้ายกะขวา
เหมือนคลิปอธิบายไว้แล้วว่าปีกซ้ายกะปีกขวานับเป็น1
อะไรคือ1ปีกมันก็ตกสิ
แรงหนี้ศูนย์กลาง
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรงหนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
นั่นมันกรณีที่ปากแก้วอยู่ในทิศตรงกันข้ามครับ แต่ถ้ายื่นปากแก้วออกไปไปในทิศที่ทางเดียวกับแรงมันก็หกออกมา และในคลิปไม่ใช่แรง หนีศูนย์กลางอย่างแน่นอนเพราะปากแก้วออกด้านนอกแต่น้ำไม่หก
ไม่รู้แต่คูณเราได้ไง????????????????????????????????😑😕
แรงg
เนื้อหาไม่ตงกับชื่อคิป
แรงเหวี่ยงหรอ
งงกับชื่อคลิป
4ปีกกับ4ปีกไม่ใช้หรอ
ปีกเดียว(ซ้ายขวา=1) แพนหางไม่เกี่ยว
นี่คนปกติเขาไม่รู้เรื่องจริงดิ เรื่องที่ว่าทำไมเครื่องบินบินขึ้นอวกาศไม่ได้อ่ะ มันโคตรจะBasicเลยน่ะเรื่องนี้อ่ะ
เม้นแรก 😍
ดูจบคลิป ยังไม่เห็นจะอธิบายเรืองเครื่องบินจริงๆแล้วมีปีกข้างเดียว
หรืออธิบายไปแล้วในคลิปแต่ผมไม่ทันรู้
เหมือนตั้นคำถามขึ้นมาให้งง วกวนเองครับ ปีกก็คือปีก เครื่องบินมีปีก 2 ข้างซ้ายและขวา แค่นั้นแหละครับ แล้วที่นี้แล้วแต่ว่าจะนับยังไง บ้างทีก็นับว่าปีกทั้งซ้ายและขวา เท่ากับ1ปีก เพราะบ้างทีเขาจะสร้างปีกเป็นชิ้นเดียวเลยครับ แล้วเอาลำตัวมาวางทับตรงกลาง เลยนับเป็นมีแค่1ปีก
-ส่วนว่า มีปีกข้างเดียวบินได้ไหม ตอบตามทฤษฏีคือไม่ได้ครับ แต่ตามความจริงที่เคยเกิดมาเคยมีเครื่องเอฟ15 ครับที่บินได้ด้วยปีกข้างเดียว แต่มันก็เป็นอุบัติเหตุและไม่ได้วางแผนให้เกิดขึ้น ซึ่งเครื่องบินที่จะทำได้ต้องมีความเฉพาะมากๆครับ
-เครื่ิองโบราณที่มีปีก2ชั้น อันนั้นเพราะสมัยก่อนเครื่องบินเครื่องยนต์และลำตัวน้ำหนักเยอะครับ ปีกจะทำจากวัสดุที่เบาจึงเพิ่มเป็น2 ชั้นทำให้ลอยขึ้นให้ได้ดีขึ้น แต่ก็มีข้อเสียคือควบคุมยากและต้านอากาศทำให้บินช้าครับ มาปัจจุบันก็เลิกใช้เพราะแก้ นน.ลำตัวได้แล้วเครื่องยนต์เบาลงก็ไม่จำเป็นต้อง2ชั้น