สรุป สถิติ - วิธีการสร้าง ตารางแจกแจงความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์ | ม.6 | TUENONG

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 19 มิ.ย. 2024
  • สรุปสั้นวันนี้ขอมาสอนบท การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ โดยจะสรุป ประเด็กสำคัญใน เรื่อง การสร้างตารางแจกแจงความถี่ อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์ ความถี่สะสมสัมพัทธ์ พร้อมตัวอย่างเสริมความเข้าใจ สั้นๆ เป็นแนวทางสำหรับน้องๆ ที่ระดับ ม.6 ที่กำลังเรียนเรื่องนี้อยู่จะได้เข้าใจก่อนทำโจทย์ในเรื่องนี้ได้
    💕สนับสนุนพวกเราผ่านการซื้อของใน Shopee
    shope.ee/VV7ypL8Iz
    📕สามารถสมัครสมาชิกได้ที่ :
    / @tuenong
    0:00 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
    0:38 กำหนดจำนวนอันตรภาคชั้น
    0:59 กำหนดค่าเริ่มต้น ค่าสุดท้าย
    1:38 คำนวณความกว้างอันตรภาคชั้น
    2:37 กำหนดอันตรภาคชั้น
    3:54 ตรวจสอบเงื่อไนข้อมูล
    4:25 สร้างตารางแจกแจงความถี่
    4:48 ตัวอย่าง การสร้างตารางแจกแจงความถี่
    7:42 ความถี่สะสม
    9:06 ความถี่สัมพัทธ์
    9:51 ความถี่สะสมสัมพัทธ์
    11:24 สรุป ตารางแจกแจงความถี่
    🔥ดูเนื้อหาอื่นๆในบทนี้ได้ใน playlist
    • [TUENONG] สถิติศาสตร์แ...
    🌟อ่านเนื้อหาฉบับเต็มบนเว็บไซต์ได้เลยที่
    tuenong.com/คณิตศาสตร์-ม-ปลาย/
    🎵ติดต่องานโฆษณา
    E-mail : tuenong.th@gmail.com

ความคิดเห็น • 16

  • @user-zv5cy5kp6u
    @user-zv5cy5kp6u ปีที่แล้ว +3

    5ครับ

    • @TUENONG
      @TUENONG  ปีที่แล้ว

      ถูกต้องแล้วครับเก่งมาก ☺️❤️

  • @narisara_.3434
    @narisara_.3434 7 หลายเดือนก่อน +2

    เข้าใจง่ายมากๆเลยค่า❤

    • @TUENONG
      @TUENONG  7 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับ ❤️

  • @user-tl1hb6tr9d
    @user-tl1hb6tr9d 9 หลายเดือนก่อน +5

    ขอบคุณที่มาช่วยเหลือชีวิตก่อนสอบนะคะ😭🤍🤍

    • @TUENONG
      @TUENONG  9 หลายเดือนก่อน +1

      ขอให้โชคดีในการสอบนะครับ ❤️

  • @user-cf8se7ru8f
    @user-cf8se7ru8f 9 หลายเดือนก่อน +1

    สอนนดีมากกก ใครเพิ่งเข้ามาแนะนำสุดๆๆ

    • @TUENONG
      @TUENONG  9 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากนะครับ กลับมาดูได้เสมอเลยนะ ☺️🥹

  • @Meaning_telling
    @Meaning_telling 7 หลายเดือนก่อน +1

    เข้าใจง่ายมากกก

    • @TUENONG
      @TUENONG  7 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากนะครับ 🙏🏻

  • @Fc-bb8wz
    @Fc-bb8wz 4 หลายเดือนก่อน +1

    1

  • @cc_slt3531
    @cc_slt3531 ปีที่แล้ว +1

    7:34 5ครับ

    • @TUENONG
      @TUENONG  ปีที่แล้ว

      ถูกต้องครับเก่งมาก

  • @user-qo6cn7ko8q
    @user-qo6cn7ko8q 10 หลายเดือนก่อน

    ทำไมขั้นที่4 ถึงต้อง+1แล้วต่อมาก็-1ครับ

    • @TUENONG
      @TUENONG  9 หลายเดือนก่อน +5

      จริงแล้วมันเป็นเกณฑ์ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้สามารถหาได้ง่ายขึ้นเท่านั้นครับ สามารถเลือกจำไปใช้ได้เลย
      แต่ถ้าอยากจะคิดอย่างนี้ก็ได้
      จากตัวอย่าง ความกว้างของอันตรภาคชั้นคือ 9 แสดงว่าต้องมีจำนวน 9 จำนวนอยู่ในขอบเขตช่วงนี้
      สมมติว่าค่าตำสุด เริ่มเติม ที่ 85
      ถ้านัด 9 จำนวนก็คือ 85 85 87 88 99 90 91 92 93
      สามารถนับได้ใช่ไหมครับ แต่ว่าถ้ามีอันตรภาคชั้น 100 ก็คงมานั้งนับทุกเลขไม่ไหว
      พี่ก็เลขให้เทคนิคว่า เราสามารถบวก เลขจำนวนอันตรภาคชั้นไปเลย
      ก็คือ 85 + 9 ซึ่งเท่ากับ 94
      จะเห็นว่ามันไม่ตรงกับจำนวนที่เรานับใช่ไหม เพราะการบวก มันคือการเพิ่มจาก 85 ไม่ได้นับ 85 ไปด้วย
      เทคนิคจึงต้องมีการ -1 ออก เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริง
      เราจะเลือกนับจำนวนให้เท่ากันอันตรภาคชั้นก็ได้ อาจจะใช้เวลาหน่อยแต่ก็ชัวร์ดีครับ
      ถ้ายังไม่เข้าใจบอกพี่ได้นะ ❤️🙏🏻☺️