"สารสกัดในเห็ดเมา" ช่วยรักษาโรคซึมเศร้าได้จริงหรือ? | รู้ทันกันได้

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 ก.ค. 2023
  • ปัจจุบันโรคซึมเศร้าถือเป็นภัยเงียบที่พบมากขึ้น และเป็นที่น่ากังวลไม่แพ้กันกับการเจ็บป่วยทางร่างกาย บางรายสามารถรักษาให้หายได้ด้วยการใช้ยาเพียงตัวเดียว แต่บางรายก็ต้องเปลี่ยนวิธีการรักษาไปเรื่อย ๆ เพื่อให้การรักษาดีขึ้น ซึ่งก็มีงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ลงในวารสารทางการแพทย์ New England Journal of Medicine ถึงผลการศึกษาในการนำสารสกัดจากเห็ดเมา หรือ เห็ดขี้ควายมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้าขั้นรุนแรง ทั้งนี้สารสกัดในเห็ดเมา หรือเห็ดขี้ควายมีส่วนช่วยรักษาโรคซึมเศร้าได้อย่างไร การใช้งานสารสกัดจากเห็ดเมาให้ความแตกต่างจากการใช้ยารักษาโรคซึมเศร้าตัวอื่น ๆ อย่างไร ร่วมพูดคุยกับ นายแพทย์ธีรนันท์ มิตรภานนท์ จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น โรงพยาบาลแพทย์รังสิต
    ชมย้อนหลังรายการ "วันใหม่วาไรตี้" ในช่วง "รู้ทันกันได้" ได้ที่ www.thaipbs.or.th/WanmaiVariet...
    #เห็ดเมา #โรคซึมเศร้า #สารสกัดในเห็ดเมา
    ----------------------------------
    👉 กด Subscribe ติดตามรายการดี ๆ ของช่อง ได้ที่ : thaip.bs/YSBht5j
    และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
    Website : www.thaipbs.or.th
    Facebook : www. ThaiPBS
    Twitter : / thaipbs
    Instagram : / thaipbs
    LINE : www.thaipbs.or.th/AddLINE
    TikTok : / thaipbs
    TH-cam : / thaipbs

ความคิดเห็น • 7

  • @MettaDojo
    @MettaDojo 26 วันที่ผ่านมา

    “For the first time we find that psilocybin works differently from conventional antidepressants - making the brain more flexible and fluid, and less entrenched in the negative thinking patterns associated with depression,” said David Nutt, DM, head of the Imperial Centre for Psychedelic Research

  • @user-yd1zr4gw5p
    @user-yd1zr4gw5p 4 หลายเดือนก่อน

    ❤เยี่ยมมากค่ะ❤

  • @mr.g6627
    @mr.g6627 2 หลายเดือนก่อน +4

    หมอกลัวขายยาไม่ออก 😂

  • @THAK.ANAN.MAKSANG
    @THAK.ANAN.MAKSANG 7 หลายเดือนก่อน +1

    เห็ดกับกัญชาเป็นของคู่กันครับ แต่ทุกๆธรรมชาตินั้นย่อมให้คุณและโทษเสมอ ดังนั้นจงใช้อย่างมีสติและเคารพธรรมชาติ

  • @MettaDojo
    @MettaDojo 29 วันที่ผ่านมา +3

    แปลกดีที่คุณหมอดูกังวลกับ "ผลข้างเคียง" มากกว่าศักยภาพในการรักษาซึมเศร้า ทั้งๆ ที่ "ผลข้างเคียง" ที่ว่า อยู่ได้แค่ 5-6 ชั่วโมงแล้วก็หายไปเอง แต่ซึมเศร้าเป็นเกือบตลอดชีวิต ถ้าผู้ป่วยจะได้รับ "ผลข้างเคียง" ซัก 5-6 ชั่วโมงแล้วมีโอกาสหายขาดจากซึมเศร้าได้ มันไม่คุ้มหรือครับคุณหมอ? และยังมีการรักษาด้วยไมโครโดสที่ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ แล้วทำไมไม่พูดถึงล่ะครับ?

  • @fishomobile6214
    @fishomobile6214 หลายเดือนก่อน

    🤔🤔🤔🤔🤍