การออกแบบระบบไฟฟ้า EP24 รางเคเบิล

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 4 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 6

  • @mamshar314
    @mamshar314 2 ปีที่แล้ว +1

    นาที่ 21.10 ระบุขนาดสายตารางที่ 3.6 ไม่ทราบว่าตารางที่ว่าคือตารางอะไรครับ

    • @montringaodat
      @montringaodat  2 ปีที่แล้ว

      ต้องเปิดเอกสารประกอบการสอนประกอบนะครับ

  • @tommobile4591
    @tommobile4591 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คับผมขอสอบถามคับผมจะเดินสายเบอร์95จำนวนสี่เส้นผมตอ้งใช้แบบไหนและขนาดไหนคับ

  • @NagaNongkhai
    @NagaNongkhai 2 ปีที่แล้ว

    *** เริ่มจากนาทีที่ 13:00 ซึ่งเป็นภาพแสดงการติดตั้งสายไฟแบบต่างๆบนรางเคเบิล
    ขอเริ่มจาก 2 ภาพล่างสุด การติดตั้งสายไฟโดยการวางสายบนขี่สายไฟเส้นล่างตามรูปนั้น ในทางปฏิบัติไม่มีใครสามารถทำได้หรอกครับที่จะวางสายไฟขี่กันแบบนั้นตลอดความยาวของสายไฟ สายไฟต้องตกลงมาข้างๆแน่นอน คำว่าจัดกลุ่มสายเป็นรูป 3 เหลี่ยม (Trefoil) มันจะต้องนำสายเฟสเส้นที่ 3 วางบนร่องระหว่างสายเฟสอีก 2 เส้น ถ้ามีสายนิวตรอลด้วยก็จะวางสายนิวตรอลไว้ข้างๆแถวล่างสุดของกลุ่มวงจรแต่ละวงจรนั้น
    *** ทีนี้มาพูดถึงความหมายของคำว่าวางสายไฟแต่ละกลุ่มวงจรห่างกันมีค่าเท่ากับ 2D (2 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางสายไฟรวมฉนวนและเปลือก)
    ดูรูปล่างสุดเป็นตัวอย่าง
    วิธีหาขนาดรางสายไฟ
    *** ให้ใช้ค่าเส้นผ่าศูนย์กลางสายไฟรวมฉนวนรวมเปลือก (D) คูณด้วยจำนวนสายไฟใน 1 ชุดของสายควบ (L1, L2, L3, N ไมนับรวมสายดิน) แล้วคูณด้วยจำนวนชุดของสายควบ
    ยกตัวอย่างจากรูปล่างสุดในคลิปวิดีโอ จะเห็นว่ามีสายควบอยู่ 2 ชุด หาขนาดรางสายไฟก็เอา D*4*2 (4 คือจำนวนสายไฟต่อ 1 ชุดสายควบ ถ้ามีสายนิวตรอลก็ให้นับรวมด้วย ส่วน 2 คือจำนวนชุดของสายควบว่าในวงจรนั้นๆมีสายควบอยู่กี่ชุด) ก็จะได้เท่ากับ 8*D ถ้าดูตามภาพของคลิปมันก็คือการเอาสายไฟทั้ง 8 เส้นลงมาวงเรียงชิดติดกันบนรางนะแหละครับ โดยให้สายนิวตรอล (N) 2 เส้นลงมาวางข้างๆกันตรงกลางระหว่างสายไฟ 2 ชุด นี่เรียกว่า 2D ( สายนิวตรอลให้ถือว่าเป็นสายที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า ดังนั้นจึงถือว่าสายเส้นที่มีไฟห่างกันอยู่ 2 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางสายไฟรวมฉนวน) และอีก 2D ก็ให้นำสายไลน์ L3 ทั้ง 2 ชุดลงมาวางไว้ข้าง L1 ของทั้ง 2 ชุด ก็จะกลายเป็น 2D มี 2 ชุด ก็คือ 4D นั่นเอง รวมกับเส้นผ่าศูนย์กลางของ L1 และ L2 อีก 2 ชุด ก็คือ 4D รวมเส้นผ่าศูนย์กลางทั้งหมดก็จะเป็น 8D ไม่ใช่ 6D ตามที่อาจารย์บอก
    เมื่อได้ค่าเส้นผ่าศูนย์กลางรวมทั้งหมดแล้วเราก็เผื่อขนาดของรางด้วยการนำเส้นผ่า ศ.ก.รวมทั้งหมดหารด้วย 0.8 หรือ คูณด้วย 1.25 ก็จะได้ขนาดของรางเคเบิล

  • @NagaNongkhai
    @NagaNongkhai 2 ปีที่แล้ว

    ยกตัวอย่าง
    ( สาย CV 1C - 240 ตร.มม. x 4 ) x5 ชุด ติดตั้งบนรางเคเบิลแบบขั้นบันได้ แต่ละชุดของสายควบติดตั้งแบบรูป 3 เหลี่ยม (Trefoil) และแต่ละชุดของสายควบวางห่างกันเท่ากับ 2D และขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางรวมฉนวน (D)ของสาย CV 1C - 240 ตร.มม. เท่ากับ 26 มม.
    วิธีหา
    D * จำนวนของสายไฟใน 1 ชุดของสายควบ * คูณจำนวนชุดของสายควบ
    = 26*4*5
    = 520 มม. (เส้นผ่าศูนย์กลางรวมของสายไฟทั้งหมดรวมฉนวน รวมเปลือก)
    หาขนาดของรางเคเบิลเผื่อ 125%
    = 520*1.25
    = 650 มม. ให้ใช้รางความกว้าง 700 มม.

  • @tommobile4591
    @tommobile4591 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คับผมจะเดินสายเบอร์95เข้าจากม้อของการไฟฟ้าไปเข้าตู้เอ็มดีบีผมจะตอ้งใช้นรางแบบไหนและขนาดไหนคับ