ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
กราบสาธุ ครับ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
น้อมกราบ สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะหลวงพ่อ กราบ กราบ กราบ
กราบสาธุครับ
สาธุๆ
กราบสาธุๆๆ
ความเห็นที่2)จิตนั้นมีสามัญลักษณะ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาจิตนั้นมีลักษณะพิเศษคือ โน้มไปรู้อารมณ์ เกิดดับสืบต่อกันอย่างไม่ขาดสาย เป็นประธาน มีรูปนามเป็นเหตุใกล้ด้วยลักษณะพิเศษของจิตที่ต้องรู้อารมณ์ แม้แต่ขณะที่นอนหลับใน“เป็นตาย”โดยที่ไม่ฝันเลย จิตก็ต้องมี“ภวังค์”(ตัวรักษาภพเป็นอารมณ์“ และในขณะที่จิตทิ้งสังขารทั้งหมด เข้าสู่ โคตรภูญาณ มรรคญาณ และผลญาณ จิตก็ต้องหน่วงเอา”นิพพาน“เป็นอารมณ์ดังนั้นจึงไม่มีสภาวะของ”จิตว่าง“ แต่จิตว่างจากอารมณ์บางเหล่าได้เช่นกิเลสตัณหา ขอแนะนำให้ไปอ่าน พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่๑๔ หน้า ๒๑๕ “จูฬสุญญตสูตร” ว่าด้วสุญญตา สูตรเล็ก เพื่อทำความเข้าใจ
ความเห็นที่5)ครูบาอาจารย์ทั้งหลายสายพระป่า จะเข้าใจผิดว่า นิพพานคือนิพพาน นิพพานไม่ใช่อัตตาและไม่ใช่อนัตตา พระป่าต้องเชื่อเช่นนี้ เพราะถ้านิพพานเป็นอนัตตา จะไม่มีดินแดนให้อยู่เมื่อพระอรหันต์ละสังขารไปแล้ว จะไม่มีดินแดนให้ไปเสวย“บรมสุข”จะอธิบาย“นิพพาน”ว่าเป็นอนัตตาได้นานับประการ แต่อธิบายได้ง่ายที่สุดและเป็นตรรกะที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดก็คือ คำสอนของพระพุทธองค์ที่ว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ในหมื่นโลกธาตุแสนโกฏิจักวาลมีธรรมอยู่เพียง2อย่าง คือ สังขาร และ นิพพานถ้าพระพุทธองค์จะทรงหมายเอาว่า มีเพียงสังขารเท่านั้นที่เป็น“อนัตตา” คำสอนต้องว่า“สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา” แต่นี่ พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวง(สังขารและนิพพาน)เป็นอนัตตา”ข้อความที่เข้าใจง่ายเช่นนี้ แต่ที่ไม่ยอมเข้าใจก็เพราะ“ทิฏฐิ”ที่เห็นผิดว่า จิตเที่ยง จิตไม่เคยตาย จิตเป็นอมตะ จิต(วิญญาณ)วนเวียนไปเกิดในสังสารวัฏ ตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย ยิ่งฟังเรื่องพระชาติของพระพุทธชาติ เกิดเป็น เสสันดร เกิดเป็นมโหสถ เกิดเป็นวิธูรบัณฑิต เกิดเป็นเสนกบัณฑิก เกิดเป็นพระเจ้ามหาชนก ก็เลยมีความคิดและความเข้าใจผิดว่า รูป เวทนา สัญญา สังขารเหล่านี้ ย่อมดับไปในชาตินั้นนั้นนั่นแหละ แต่วิญญาณย่อมทอ่งเที่ยงไป เกิดเป็นอะไรต่างๆ ซึ่งเป็นความเห็นที่ผิด ปิดกั้นการบรรลุธรรม
ความเห็นที่4)สุญญตาไม่ได้หมายถึงนิพพาน สุญญตาเป็นส่วนประกอบอันหนึ่งของนิพาน เช่นเดียวกับ อนัตตา ซึ่งพระพุทธองค์ได้ชี้ว่า นิพพานเป็นอนัตตา ฉะนั้นแล้ว อนัตตาเป็นเพียงส่วนประกอบอันหนึ่งของนิพพาน แต่อนัตตาก็ไม่ใช่นิพพาน
ความเห็นที่7)พระพุทธทรงสอนให้ละกิเลส ไม่เคยสอนให้ใช้กิเลสทุกข์ ให้กำหนดรู้ ว่าโดยย่อ อุปทานขันธ์ทั้ง5เป็นตัวทุกข์สมุทัย คือ ตัณหา3 ให้ละนิโรธ คือ นิพพาน ให้ทำให้แจ้งมรรค คือ อริยมรรคมีองค์8 ให้ทำให้เกิดมีขึ้นถ้าพระสอน ไม่ได้สอนให้ปฏิบัติตามมรรค8 คือสอนผิด พระพุทธเจ้าทรงย้ำว่า มรรคมีองค์8 เป็นทางเดียวเท่านั้น ที่ปฏิบัติแล้ว พ้นทุกข์ได้
ความเห็นที่6)คำว่า“จิตเดิมแท้”ไม่มีในพระไตรปิฎกบาลี“เถรวาท” 84,000 พระธรรมขันธ์รับรองว่าหาไม่พบ ให้คิดง่ายๆว่า ถ้าจิตเดิมแท้นั้นบริสุทธิ์ไม่มีกิเลส แล้วภายหลังทำไมเกิดกิเลสขึ้นเล่า? นี่กำลังพูดว่า จิตที่บริสุทธิ์กลับกลายเป็นเต็มไปด้วกิเลสได้ ถ้าเช่นนั้น พระอรหันต์ก็กลับกลายเป็นปุถุชนได้เช่นนั้นหรือ? แล้วจะเสียเวลาปฏิบัติหาทางพ้นทุกข์ทำไมกัน แล้วหลวงพ่อเยื้อนท่านกลายเป็นพระปุถุชนไปหรือยัง?
ความเห็นที่1) จะอธิบายพระธรรมวินัยตามที่พระพุทธเจ้าทรงเทศนาสั่งสอนดังต่อไปนี่จิตมีชื่อเรียกต่างๆดังนี้คือ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญาณธาตุธรรมชาติใดย่อมคิด ธรรมชาตินั้นชื่อว่า จิตธรรมชาติใดย่อมน้อมไปหาอารมณ์ ธรรมชาตินั้นชื่อว่า มโนธรรมชาติฉันทะ คือความพอใจที่มีอยู่ในใจนั้นชื่อว่า มานัสจิตที่รวบรวมไว้ภายในนั่นแหละชื่อว่า หทัยจิตเป็นธรรมชาติที่ผ่องใส จึงชื่อว่า ปัณฑระมนะที่เป็นอายตนะ คือเครื่องต่อ จึงชื่อว่า มนายตนะมนะที่เป็นอินทรีย์ คือครองความเป็นใหญ่ จึงชื่อว่า มนินทรีย์ธรรมชาติใดที่รู้อารมณ์ ธรรมชาตินั้น ชื่อ วิญญาณวิญญาณที่เป็นขันธ์ จึงชื่อว่า วิญญาณขันธ์มนะที่เป็นธาตุชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์ จึงชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุการที่หลวงพ่อเยื้อนพูดว่า “จิตมีวิญญาณจะไม่ว่าง ถ้าจิตว่างจะไม่มีวิญญาณ” จึงเป็นคำพูดที่สับสนไร้ความหมาย เพราะ จิตและวิญญาณคือสิ่งเดียวกัน เรียกชื่อต่างกันตามหน้าที่ ที่ทำ ดังได้อธิบายไว้ข้างบนแล้ว
จะของถามสักนิด ทวิปัญจวิญญาณ มีเจตสิกประกอบดวงละกี่ตัวใช่สัพพจิตตะ7ไหม
@@Nopphadolthongwilai ขออภัย ความรู้ในพระอภิธรรมของผมมีน้อยนิด จะตอบคุณโดยค้นจากพระไตรปิฎกก็สู้ให้คุณหาอ่านเองดีกว่าครับแต่ขอแสดงความเห็นในนามแผงที่ว่า “มีก็ไม่ใช่ไม่มีก็ไม่ใช่”นั้น จัดอยู่ในมิจฉาทิฏฐิ จะว่าใช่ก็ไม่ใช่ จะว่าไม่ใช่ก็ไม่ใช่ เป็นพวกเอาแน่สักอย่างก็ยังไม่ได้ครับ
@@Nopphadolthongwilai ทวิแปลว่า2 ปัญจแปลว่า5 วิญญาณเป็นธรรมชาติที่รู้อารมณ์ฉะนั้นแล้ว ทวิปัจวิญญาณ มีจิตรวมกัน10ดวง เป็นวิบากจิตที่รับรู้อารมณ์ในทวารทั้ง5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย วิบากนั้นจะเป็นกุศลหรือจะเป็นอกุศลก็ตามที่กรรมที่มาให้ผล อย่างเช่น คุณกำลังอ่านพระธรรมนี้ จักษุวิญญาณกำลังรับกุศลวิบากครับ
@@Nopphadolthongwilai ส่วนสัพพจิตตะ“สาธารณะ“ เจตสิก 7 คือ เจตสิกที่เกิดกับทุกจิตทุกดวง ฉะนั้นแล้ว ทวิปัจวิญญาณ10 ก็ประกอบด้วยเจตสิกทั้ง7ดวงนี้แน่นอน คือผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ
กราบสาธุ ครับ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
น้อมกราบ สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ
หลวงพ่อ กราบ กราบ กราบ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
กราบสาธุครับ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
สาธุๆ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
กราบสาธุครับ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
กราบสาธุๆๆ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่2)
จิตนั้นมีสามัญลักษณะ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
จิตนั้นมีลักษณะพิเศษคือ โน้มไปรู้อารมณ์ เกิดดับสืบต่อกันอย่างไม่ขาดสาย เป็นประธาน มีรูปนามเป็นเหตุใกล้
ด้วยลักษณะพิเศษของจิตที่ต้องรู้อารมณ์ แม้แต่ขณะที่นอนหลับใน“เป็นตาย”โดยที่ไม่ฝันเลย จิตก็ต้องมี“ภวังค์”(ตัวรักษาภพเป็นอารมณ์“ และในขณะที่จิตทิ้งสังขารทั้งหมด เข้าสู่ โคตรภูญาณ มรรคญาณ และผลญาณ จิตก็ต้องหน่วงเอา”นิพพาน“เป็นอารมณ์
ดังนั้นจึงไม่มีสภาวะของ”จิตว่าง“ แต่จิตว่างจากอารมณ์บางเหล่าได้เช่นกิเลสตัณหา
ขอแนะนำให้ไปอ่าน พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่๑๔ หน้า ๒๑๕ “จูฬสุญญตสูตร” ว่าด้วสุญญตา สูตรเล็ก เพื่อทำความเข้าใจ
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่5)
ครูบาอาจารย์ทั้งหลายสายพระป่า จะเข้าใจผิดว่า นิพพานคือนิพพาน นิพพานไม่ใช่อัตตาและไม่ใช่อนัตตา พระป่าต้องเชื่อเช่นนี้ เพราะถ้านิพพานเป็นอนัตตา จะไม่มีดินแดนให้อยู่เมื่อพระอรหันต์ละสังขารไปแล้ว จะไม่มีดินแดนให้ไปเสวย“บรมสุข”
จะอธิบาย“นิพพาน”ว่าเป็นอนัตตาได้นานับประการ แต่อธิบายได้ง่ายที่สุดและเป็นตรรกะที่เข้าใจได้ง่ายที่สุดก็คือ คำสอนของพระพุทธองค์ที่ว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ในหมื่นโลกธาตุแสนโกฏิจักวาลมีธรรมอยู่เพียง2อย่าง คือ สังขาร และ นิพพาน
ถ้าพระพุทธองค์จะทรงหมายเอาว่า มีเพียงสังขารเท่านั้นที่เป็น“อนัตตา” คำสอนต้องว่า“สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สังขารทั้งปวงเป็นอนัตตา” แต่นี่ พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวง(สังขารและนิพพาน)เป็นอนัตตา”
ข้อความที่เข้าใจง่ายเช่นนี้ แต่ที่ไม่ยอมเข้าใจก็เพราะ“ทิฏฐิ”ที่เห็นผิดว่า จิตเที่ยง จิตไม่เคยตาย จิตเป็นอมตะ จิต(วิญญาณ)วนเวียนไปเกิดในสังสารวัฏ ตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย ยิ่งฟังเรื่องพระชาติของพระพุทธชาติ เกิดเป็น เสสันดร เกิดเป็นมโหสถ เกิดเป็นวิธูรบัณฑิต เกิดเป็นเสนกบัณฑิก เกิดเป็นพระเจ้ามหาชนก ก็เลยมีความคิดและความเข้าใจผิดว่า รูป เวทนา สัญญา สังขารเหล่านี้ ย่อมดับไปในชาตินั้นนั้นนั่นแหละ แต่วิญญาณย่อมทอ่งเที่ยงไป เกิดเป็นอะไรต่างๆ ซึ่งเป็นความเห็นที่ผิด ปิดกั้นการบรรลุธรรม
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่4)
สุญญตาไม่ได้หมายถึงนิพพาน สุญญตาเป็นส่วนประกอบอันหนึ่งของนิพาน เช่นเดียวกับ อนัตตา ซึ่งพระพุทธองค์ได้ชี้ว่า นิพพานเป็นอนัตตา ฉะนั้นแล้ว อนัตตาเป็นเพียงส่วนประกอบอันหนึ่งของนิพพาน แต่อนัตตาก็ไม่ใช่นิพพาน
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่7)
พระพุทธทรงสอนให้ละกิเลส ไม่เคยสอนให้ใช้กิเลส
ทุกข์ ให้กำหนดรู้ ว่าโดยย่อ อุปทานขันธ์ทั้ง5เป็นตัวทุกข์
สมุทัย คือ ตัณหา3 ให้ละ
นิโรธ คือ นิพพาน ให้ทำให้แจ้ง
มรรค คือ อริยมรรคมีองค์8 ให้ทำให้เกิดมีขึ้น
ถ้าพระสอน ไม่ได้สอนให้ปฏิบัติตามมรรค8 คือสอนผิด พระพุทธเจ้าทรงย้ำว่า มรรคมีองค์8 เป็นทางเดียวเท่านั้น ที่ปฏิบัติแล้ว พ้นทุกข์ได้
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่6)
คำว่า“จิตเดิมแท้”ไม่มีในพระไตรปิฎกบาลี“เถรวาท” 84,000 พระธรรมขันธ์รับรองว่าหาไม่พบ ให้คิดง่ายๆว่า ถ้าจิตเดิมแท้นั้นบริสุทธิ์ไม่มีกิเลส แล้วภายหลังทำไมเกิดกิเลสขึ้นเล่า? นี่กำลังพูดว่า จิตที่บริสุทธิ์กลับกลายเป็นเต็มไปด้วกิเลสได้ ถ้าเช่นนั้น พระอรหันต์ก็กลับกลายเป็นปุถุชนได้เช่นนั้นหรือ? แล้วจะเสียเวลาปฏิบัติหาทางพ้นทุกข์ทำไมกัน แล้วหลวงพ่อเยื้อนท่านกลายเป็นพระปุถุชนไปหรือยัง?
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
ความเห็นที่1) จะอธิบายพระธรรมวินัยตามที่พระพุทธเจ้าทรงเทศนาสั่งสอนดังต่อไปนี่
จิตมีชื่อเรียกต่างๆดังนี้คือ จิต มโน มานัส หทัย ปัณฑระ มนายตนะ มนินทรีย์ วิญญาณ วิญญาณขันธ์ มโนวิญาณธาตุ
ธรรมชาติใดย่อมคิด ธรรมชาตินั้นชื่อว่า จิต
ธรรมชาติใดย่อมน้อมไปหาอารมณ์ ธรรมชาตินั้นชื่อว่า มโน
ธรรมชาติฉันทะ คือความพอใจที่มีอยู่ในใจนั้นชื่อว่า มานัส
จิตที่รวบรวมไว้ภายในนั่นแหละชื่อว่า หทัย
จิตเป็นธรรมชาติที่ผ่องใส จึงชื่อว่า ปัณฑระ
มนะที่เป็นอายตนะ คือเครื่องต่อ จึงชื่อว่า มนายตนะ
มนะที่เป็นอินทรีย์ คือครองความเป็นใหญ่ จึงชื่อว่า มนินทรีย์
ธรรมชาติใดที่รู้อารมณ์ ธรรมชาตินั้น ชื่อ วิญญาณ
วิญญาณที่เป็นขันธ์ จึงชื่อว่า วิญญาณขันธ์
มนะที่เป็นธาตุชนิดหนึ่ง ซึ่งรู้อารมณ์ จึงชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุ
การที่หลวงพ่อเยื้อนพูดว่า “จิตมีวิญญาณจะไม่ว่าง ถ้าจิตว่างจะไม่มีวิญญาณ” จึงเป็นคำพูดที่สับสนไร้ความหมาย เพราะ จิตและวิญญาณคือสิ่งเดียวกัน เรียกชื่อต่างกันตามหน้าที่ ที่ทำ ดังได้อธิบายไว้ข้างบนแล้ว
จะของถามสักนิด ทวิปัญจวิญญาณ มีเจตสิกประกอบดวงละกี่ตัวใช่สัพพจิตตะ7ไหม
ขอบคุณสำหรับการแสดงความคิดเห็นคะ
@@Nopphadolthongwilai ขออภัย ความรู้ในพระอภิธรรมของผมมีน้อยนิด จะตอบคุณโดยค้นจากพระไตรปิฎกก็สู้ให้คุณหาอ่านเองดีกว่าครับ
แต่ขอแสดงความเห็นในนามแผงที่ว่า “มีก็ไม่ใช่ไม่มีก็ไม่ใช่”นั้น จัดอยู่ในมิจฉาทิฏฐิ จะว่าใช่ก็ไม่ใช่ จะว่าไม่ใช่ก็ไม่ใช่ เป็นพวกเอาแน่สักอย่างก็ยังไม่ได้ครับ
@@Nopphadolthongwilai ทวิแปลว่า2 ปัญจแปลว่า5 วิญญาณเป็นธรรมชาติที่รู้อารมณ์
ฉะนั้นแล้ว ทวิปัจวิญญาณ มีจิตรวมกัน10ดวง เป็นวิบากจิตที่รับรู้อารมณ์ในทวารทั้ง5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย วิบากนั้นจะเป็นกุศลหรือจะเป็นอกุศลก็ตามที่กรรมที่มาให้ผล อย่างเช่น คุณกำลังอ่านพระธรรมนี้ จักษุวิญญาณกำลังรับกุศลวิบากครับ
@@Nopphadolthongwilai
ส่วนสัพพจิตตะ“สาธารณะ“ เจตสิก 7 คือ เจตสิกที่เกิดกับทุกจิตทุกดวง
ฉะนั้นแล้ว ทวิปัจวิญญาณ10 ก็ประกอบด้วยเจตสิกทั้ง7ดวงนี้แน่นอน คือ
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ