SEMec Centre (Statistical Channel)
SEMec Centre (Statistical Channel)
  • 39
  • 166 673

วีดีโอ

How to predict the quality of Red Wine by using Python (AI)?
มุมมอง 9411 หลายเดือนก่อน
#AI #python #vscode #spider #machinelearning #regression #predictions #redwine #quality #drthipsk #semec ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองหลาง กทม.10310 Tel :089-4099945 Em...
การสร้างนิยามศัพท์เฉพาะ | How to create a definition of a context term
มุมมอง 596ปีที่แล้ว
การสร้างนิยามศัพท์เฉพาะจากข้อคำถาม #create #meaning #context #definition #specifically #basicstatistics #ioc ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองหลาง กทม.10310 Tel :089-409994...
สถิติวิจัย | รุ่นพี่กลุ่มเด็กเรียน 200% HM16 แนะนำรุ่นน้อง BN7 ทำงานวิจัย
มุมมอง 62ปีที่แล้ว
รุ่นพี่แนะแนวรุ่นน้อง เทคนิคที่ช่วยสานสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่รุ่นน้อง ให้กระชับมากขึ้น และช่วยให้รุ่นน้องเห็นแนวทางในการทำวิจัย ทำได้ถูกทาง ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทอง...
ICOES Talk at Indonesia
มุมมอง 44ปีที่แล้ว
After speaking in topic that we are prepared, I and Dr. Ahmad Shukri Yazid talk on the stage and answer the questions from the audiences. ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองห...
Big Thanks for lovely song by Big Brother
มุมมอง 13ปีที่แล้ว
Big Brother from UK good take care me all trip in Utah, USA. He is my best friends in SEM Boot Camp class at Brigham Young University.
Exploratory Factor Analysis (English Version) by DrThipSK
มุมมอง 156ปีที่แล้ว
ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองหลาง กทม.10310 Tel :089-4099945 Email: semeccentre@gmail.com Line ID: thip_chigo
As Keynote Speaker in 1st International Conference of Economic Studies (ICOES) in Indonesia
มุมมอง 36ปีที่แล้ว
As Keynote Speaker in 1st International Conference of Economic Studies (ICOES) in Indonesia ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองหลาง กทม.10310 Tel :089-4099945 Email: semeccen...
การศึกษาและวิเคราะห์การจัดการโซ่อุปทาน ด้านความคุ้มค่าในการลงทุน: กรณีศึกษา ธุรกิจร้านสะดวกซัก
มุมมอง 473ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นางสุมิตา นอบน้อม (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง บทคัดย่อสารนิพนธ์ การวิจัยเชิงคุณภาพเรื่อง การศึกษาและวิเคราะห์การจัดการโซ่อุปทาน ด้านความคุ้มค่าในการลงทุน: กรณีศึกษา ธุรกิจร้านสะดวกซัก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลรายละเอียดที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจลงทุนของผู้ประกอบก...
สถิติวิจัย I T-test Analysis in International Class by Dr ThipSK
มุมมอง 135ปีที่แล้ว
ติดตามคอร์สสอนด้านสถิติ วิจัย ธุรกิจ บัญชี ภาษี การตลาด และ AI & IOT ได้จากลิ้งค์ด้านล่างนี้นะคะ สถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre #ศูนย์บ่มเพาะธุรกิจ #Startup TeachSEMbyDr.Thip?mibextid=ZbWKwL Address: 106/3 ซอยรามคำแหง 43/1 แขวง/เขตวังทองหลาง กทม.10310 Tel :089-4099945 Email: semeccentre@gmail.com Line ID: thip_chigo
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งสินค้าระหว่างลูกค้ากับหน่วยธุรกิจ
มุมมอง 137ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นางสาวอมรวดี ชินครุ่ย (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งสินค้า ระหว่างลูกค้ากับหน่วยธุรกิจ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งสินค้าระหว่า...
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโลจิสติกส์ของผ้ประกอบการค้าส่งผลไม้ ในพื้นที่ภาคตะวันออก
มุมมอง 127ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นายอรรถวิท วงษา (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง. บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการ ค้าส่งผลไม้ในพื้นที่ภาคตะวันออก เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ (1) ศึกษาระดับการตัดสินใจเลือกใช้บริการโลจิสติกส...
คุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงานกลุ่มธุรกิจส่งออกใน EEC
มุมมอง 120ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นางสาววิลาสินี สุทธิผล (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อความพึงพอใจและความผูกพันของพนักงานกลุ่มธุรกิจส่งออกในโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคุณภาพชีวิตในกา...
คุณภาพชีวิตและแรงจูงใจที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์การของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร
มุมมอง 152ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นายธไนศวรรย์ รัตนพาหุ (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยเรื่อง คุณภาพชีวิตในการทำงานและแรงจูงใจที่ส่งผลต่อความผูกพันองค์การของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานและแรงจูงใจที่ส่งผลต่...
การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานของธุรกิจร้านสะดวกซักในพื้นที่ต่างจังหวัด กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี
มุมมอง 91ปีที่แล้ว
ชื่อผู้วิจัย นางสาว ภูริชา ทองอยู่คง (2565) อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ดร.สุทธาทิพย์ กำธรพิพัฒนกุล สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยรามคำแหง บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานของธุรกิจร้านสะดวกซักในพื้นที่ต่างจังหวัด กรณีศึกษาจังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวโน้ม สภาพโดยรวม การจัดการโซ่อุปทาน ปัญหาและอุปสรรค และการวิเคราะห์...
การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานของธุรกิจร้านสะดวกซักในเมือง : กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร
มุมมอง 97ปีที่แล้ว
การศึกษาการจัดการโซ่อุปทานของธุรกิจร้านสะดวกซักในเมือง : กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร
การศึกษาความสอดคล้องของการจัดการโซ่อุปทานระบบคลาวด์กลางภาครัฐกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
มุมมอง 57ปีที่แล้ว
การศึกษาความสอดคล้องของการจัดการโซ่อุปทานระบบคลาวด์กลางภาครัฐกับแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
สถิติวิจัย I 8 ปีกับผลงานการสอนวิจัยและการวิเคราะห์ให้กับ 35 มหาวิทยาลัยทั่วโลก TeachSEM by DrThipSK
มุมมอง 234ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I 8 ปีกับผลงานการสอนวิจัยและการวิเคราะห์ให้กับ 35 มหาวิทยาลัยทั่วโลก TeachSEM by DrThipSK
การตัดสินใจเลือกใช้บริการเรือ Liveaboards ในเขตทะเลอันดามัน โดยใช้ Multinomial Logistic Regression
มุมมอง 174ปีที่แล้ว
การตัดสินใจเลือกใช้บริการเรือ Liveaboards ในเขตทะเลอันดามัน โดยใช้ Multinomial Logistic Regression
สถิติวิจัย I บรรยากาศของสถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre รามคำแหง 43/1
มุมมอง 58ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I บรรยากาศของสถาบันวิจัยและพัฒนาธุรกิจ SEMec Centre รามคำแหง 43/1
สถิติวิจัย I รุ่นพี่ RU LOG BangNa 6 แนะนำรุ่นน้อง RU LOG HuaMark 16 ทำวิจัย IS
มุมมอง 624ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I รุ่นพี่ RU LOG BangNa 6 แนะนำรุ่นน้อง RU LOG HuaMark 16 ทำวิจัย IS
สถิติวิจัย I แนวคิดการทำวิจัย I Research Concept
มุมมอง 2.1K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I แนวคิดการทำวิจัย I Research Concept
สถิติวิจัย I As a keynote speaker at ICOES 2018 in Indonesia
มุมมอง 832 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I As a keynote speaker at ICOES 2018 in Indonesia
Repacement Macbook 2010 Battery
มุมมอง 1342 ปีที่แล้ว
Repacement Macbook 2010 Battery
สถิติวิจัย I As a keynote speaker ICTTEET 2017 @Malaysia
มุมมอง 762 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I As a keynote speaker ICTTEET 2017 @Malaysia
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ MRA I Multiple Regression Analysis
มุมมอง 27K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ MRA I Multiple Regression Analysis
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติสหสัมพันธ์ I Correlation
มุมมอง 23K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติสหสัมพันธ์ I Correlation
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ One-Way ANOVA
มุมมอง 11K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ One-Way ANOVA
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ Pair-Sample T-Test
มุมมอง 6K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ Pair-Sample T-Test
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ t-test
มุมมอง 11K2 ปีที่แล้ว
สถิติวิจัย I การวิเคราะห์สถิติ t-test

ความคิดเห็น

  • @dadapoint
    @dadapoint 11 วันที่ผ่านมา

    ❤ รักเลย อาจารย์สอนดีครับ

  • @nikornpangchantho9299
    @nikornpangchantho9299 29 วันที่ผ่านมา

    ด้านบรรจุภัณฑ์ก็ sig หรอครับ

    • @nikornpangchantho9299
      @nikornpangchantho9299 29 วันที่ผ่านมา

      อ้อ อจ อธิบายเพิ่มละ พอดีผมเม้นท์เลย

  • @sptca
    @sptca หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะ อธิบายดีจัง😊

  • @user-eg8fd3im5r
    @user-eg8fd3im5r หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากเลยค่ะ อาจารย์ เข้าใจขึ้นมาเยอะเลย

  • @jum-kamonwan
    @jum-kamonwan 2 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ควรทบทวนมีหลายจุดที่ต่างกับอาจารย์ท่านอื่นที่เคยฟังมา มีจุดเล็กๆที่ ….

  • @Samerplai
    @Samerplai 2 หลายเดือนก่อน

    ขอบพระคุณมากจิงๆค่ะ

  • @231-ti1sh
    @231-ti1sh 3 หลายเดือนก่อน

    สวัสดีครับ อาจารย์ ขอสรุปข้อมูลตามความเข้าใจของผม ดังนี้ 1. การทำวิจัยควรจะต้องมีการค้นคว้างานวิจัยที่เป็นต้นแบบ (Masterpiece) เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัย 2. ตัวแปรต้น และตัวแปรตามนั้นเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก ต่อการทำวิจัยที่จะทำให้งานวิจัยไปต่อได้ หรือไม่ได้ 3. การตรวจสอบงานวิจัยที่เราจะทำว่ามีคนอื่นๆที่ได้ทำหัวข้อวิจัยลักษณะแบบนี้ บริบทแบบนี้ไปแล้วหรือยัง ไม่เช่นนั้นงานวิจัยจะไม่ผ่านการอนุมัติ และการทำวิจัยเชิงปริมาณสิ่งสำคัญที่สุดคือเราต้องสามารถทำแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดได้จริงเอที่จะทำให้งานวิจัยของเราประสบผลสำเร็จ

  • @2529-ge7lv
    @2529-ge7lv 3 หลายเดือนก่อน

    arch concept: สรุปใจความสำคัญ 1)วิเคราะห์ จากปัญหา ซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างต่อองค์กร (ซึ่งจำเป็นต้องทำการวิจัย) 2)หาสาเหตุ ที่ทำให้เกิดปัญหานั้น 3)การหาสาเหตุ หรือ เหตุผลของปัญหานั้น ก็ต้องมาจากากรดำเนินการ หาข้อมูลจากบุคคลที่มีส่วนสำคัญ หรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น 4)การหาข้อมูล ได้มาจากการทำแบบสอบถาม (วิจัยเชิงปริมาณ) หรือ การสัมภาษณ์ (วิจัยเชิงคุณภาพ) 5)การทำแบบสอบถาม หรือ การสัมภาษณ์ กับกลุ่มประชากร (กลุ่มตัวอย่าง) 6)นำผลของการทำแบบสอบถาม ไปวิเคราะห์ทางสถิติ

  • @surasakJanthasen
    @surasakJanthasen 3 หลายเดือนก่อน

    Research concept: สรุปใจความสำคัญ 1)วิเคราะห์ จากปัญหา ซึ่งเป็นปัญหาที่มีผลกระทบในวงกว้างต่อองค์กร (ซึ่งจำเป็นต้องทำการวิจัย) 2)หาสาเหตุ ที่ทำให้เกิดปัญหานั้น 3)การหาสาเหตุ หรือ เหตุผลของปัญหานั้น ก็ต้องมาจากากรดำเนินการ หาข้อมูลจากบุคคลที่มีส่วนสำคัญ หรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้น 4)การหาข้อมูล ได้มาจากการทำแบบสอบถาม (วิจัยเชิงปริมาณ) หรือ การสัมภาษณ์ (วิจัยเชิงคุณภาพ) 5)การทำแบบสอบถาม หรือ การสัมภาษณ์ กับกลุ่มประชากร (กลุ่มตัวอย่าง) 6)นำผลของการทำแบบสอบถาม ไปวิเคราะห์ทางสถิติ

  • @yimkiss
    @yimkiss 3 หลายเดือนก่อน

    เป็นคลิปที่ทำให้รู้ความรู้ด้านการทำวิจัยเพิ่มเติมเยอะมากๆค่ะสำหรับพื้นฐาน โดยสรุปคือ การทำวิจัยคือการหาสิ่งที่เราอยากรู้ และหาสาเหตุที่เราอยากจะรู้ โดยจะมี 2 แบบ คือ การทำวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยรวมแล้วถ้าใครอยากใช้เวลาในการทำวิจัยน้อย ให้เลือกแบบเชิงปริมาณ ค่ะ

  • @229PINYADABOONNAK
    @229PINYADABOONNAK 3 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณอาจารย์ที่สรุปภาพรวมการทำการวิจัยทำให้ทราบว่าควรเลือกหัวข้อวิจัยอะไร โดยเริ่มจากหาปัญหาที่เราอยากหาสาเหตุ และนำมาเป็นหัวข้องานวิจัย หลังจากนั้นก็นำขั้นตอนการทำวิจัยเข้ามาใช้เพื่อให้ทำงานวิจัยได้อย่างเป็นระบบระเบียบ จนกระทั้งขั้นตอนการนำข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์ผลและทำการสรุปผลงานวิจัย

  • @saruitavattanapasan-ut5wr
    @saruitavattanapasan-ut5wr 5 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณคะอาจารย์ จะสอบเช้านี้แล้ว

  • @mjakrit
    @mjakrit 5 หลายเดือนก่อน

    ทำตามอาจารย์ จนเสร็จลุล่วงเลยครับขอบคุณมากครับ

  • @user-ic9jy9uf5l
    @user-ic9jy9uf5l 5 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากเลยครับ เข้าใจมากละเอียดมากๆๆ

  • @user-ew6ug4rh9u
    @user-ew6ug4rh9u 6 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์ค่ะถ้าค่า IOS ติดเครื่องหมาย ลบ ผลที่ได้ ต้องอ่านค่าอย่างไรค่ะ เช่น -0.80 แสดงว่าข้อประเมินนั้นต้องปรับปรุงไม่ผ่าน ใช่หรือไม่ค่ะ อาจารย์ขอขอบคุณค่ะ

    • @teachsembydrthipsk
      @teachsembydrthipsk 6 หลายเดือนก่อน

      ค่า IOS คือค่าใดอะไรคะ?

  • @parchanel
    @parchanel 6 หลายเดือนก่อน

    ชัดเจนมากค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

  • @suriyasirisuk7468
    @suriyasirisuk7468 6 หลายเดือนก่อน

    ขออนุญาตครับอาจารย์ ถ้าตรวจสอบเงื่อนไขทั้ง5ข้อแล้วมี1ใน5ข้อไม่ผ่านเงื่อนไข สามารถใช้ได้ไหมครับ ขอบคุณครับ

  • @suriyasirisuk7468
    @suriyasirisuk7468 6 หลายเดือนก่อน

    ขออนุญาตครับอาจารย์ เรียนปรึกษาอาจารย์ ในโปรแกรม spss ถ้าใช้ Alalyze>Nonparametric Test> Chi-Square ได้ไหมครับ ลองทำแบบ Analyze>Descriptive Statistic>Crosstabs ผลออกมาไม่เหมือนกัน ขอบคุณครับ

  • @kessalawantetthong
    @kessalawantetthong 8 หลายเดือนก่อน

    การทำ IOC จะต้องแปลงจากข้อคำถามให้เป็นศัพท์เฉพาะ โดยจะต้องหา Key Word - นิยามศัพท์ทั่วไปควรหา 3-4 เล่ม สโคปคืออะไร - นิยามศัพท์เฉพาะคือ การนิยามทั่วไปมาเติมความเฉพาะเจาะจง หรือ การเติมบริบท - การคิดนิยามศัพท์ก็จะต้องมาดูว่าแมสกับข้อคำถามที่ตั้งไว้หรือไม่ - สร้างนิยามศัพท์เฉพาะก่อนหรือสร้างข้อคำถามก่อนก็ได้ ได้ทั้ง 2 แบบ จะได้ควบคู่กับการหาคำศัพท์ - ต้องดูตัวแปรหลักว่ามีตัวแปรย่อยกี่ตัว และนำมาเรียบเรียงอีกที

  • @user-ih9fc1gw7z
    @user-ih9fc1gw7z 8 หลายเดือนก่อน

    การหาข้อคำถาม--หลังจากได้ข้อคำถาม 1)หา keywords ของข้อคำถามนั้นๆ 2)แปลงจากข้อคำถามเหล่านี้->นิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์เฉพาะ คือ การนำนิยามทั่วไปมาเติมความเฉพาะเจาะจงให้สอดคล้องกับบริบทและต้องมีความสอดคล้องกับข้อคำถามทุกๆข้อเหมือนกัน มีองค์ประกอบคือ 1. นิยามทั่วไป -การหา: อ่านงานวิจัยของเล่มอื่นๆว่าตีความนิยามศัพท์เฉพาะนั้นไว้อย่างไร -ควรหาประมาณ 3-4 เล่ม เพื่อดูแต่ละเล่มให้นิยามประมาณไหน ตีความประมาณไหน

  • @user-mm1kn9qy6w
    @user-mm1kn9qy6w 8 หลายเดือนก่อน

    นิยามศัพท์เฉพาะ - การทำข้อคำถามต้องหาคีย์เวิร์ดมาใส่ ต้องแปลงจากข้อคำถามมาเป็นนิยามศัพท์เฉพาะ - นิยามศัพท์เฉพาะต้องหานิยามทั่วไปจากวิจัยที่เราหาที่มีตัวแปรเหมือนกัน หาสักประมาณ 3-4 เล่ม ว่านิยามที่เขาให้มีสโคปมากแค่ไหน - นิยามศัพท์เฉพาะคือนำนิยามทั่วไปมาเติมความเฉพาะเจาะจง (บริบท) - นิยามศัพท์ต้องแมชกับข้อคำถามด้วย - จะสร้างนิยามศัพท์เฉพาะก่อนหรือสร้างข้อคำถามก่อนก็ได้ ได้ทั้ง 2 แบบ แต่ต้องให้มันสอดคล้องกัน - เมื่อเราได้ตัวแปรย่อยครบทุกองค์แล้ว ก่อนเขียนตัวแปรใหญ่

  • @arunratsupengkam2439
    @arunratsupengkam2439 8 หลายเดือนก่อน

    การพัฒนาข้อคำถาม หรือการทำ IOC ได้ คือเราต้องมีนิยามศัพท์เฉพาะ นิยามศัพท์เฉพาะ หมายถึง นิยามทั่วไปมาเติมความเฉพาะเจาะจง (บริบท) ให้เป็นนิยามของเรา นิยามทั่วไป หาได้จากงานวิจัยเล่มอื่นๆ ที่มีตัวแปรเดียวกับเรา การหานิยามศัพท์ทั่วไปควรหา 3-4เล่ม เพื่อดูว่าเขาตีความว่ายังไง ให้สอดคล้องกับนิยามศัพท์นั้นๆ อาจารย์ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดเจน ทำให้เข้าใจมากขึ้นค่ะ 🙏🏻

  • @user-kd5tf5uo8r
    @user-kd5tf5uo8r 8 หลายเดือนก่อน

    การทำ IOC นั้นต้องหาคีย์เวิร์ดจากนิยามคำศัพท์ให้มีความสอดคล้องกับข้อคำถาม โดยต้องแปลงจากข้อคำถามเป็นนิยามศัพท์เฉพาะ เพื่อนำนิยามคำศัพท์ทั่วไป มาเพิ่มความเฉพาะเจาะตามบริบทที่เราศึกษาลงไป ดังนั้นข้อคำถามและนิยามคำศัพท์เฉพาะจะสอดคล้องกัน

  • @user-dg9lf6gz7s
    @user-dg9lf6gz7s 8 หลายเดือนก่อน

    ทำ IOC อย่างไร หา Key Word จากข้อคำถาม แล้วแปลงคำข้อคำถามเป็นนิยามศัพท์เฉพาะ เกิดจาก นิยามทั่วไป โดยการหาจากการอ่านงานวิจัยเล่มอื่น ๆ ที่ทำตัวแปรเดียวกับเรา แล้วนำนิยามทั่วไปนี้ไปเติมความเฉพาะเจาะจง (context:บริบท) และต้องสอดคล้องกับข้อคำถาม Note#1: ได้ข้อคำถามมาคิด ได้ความหลากหลายแล้วจึงเลือกทำเป็น นิยามศัพท์เฉพาะ Note#2: ให้นำที่ได้ข้อคำถาม มาเติมต่อท้ายข้อคำถามด้วย Note#3: หากตัวแปรใหญ่มีหลายตัวแปรย่อย ให้นำมาเรียบเรียง แล้ว Highlight ที่เหมือนกันมาเลือกทำ

  • @GISSVET
    @GISSVET 9 หลายเดือนก่อน

    ค่า ioc ต้องเอามาบวกกันทุกข้อแล้วหารด้วยจำนวนข้อเพื่อเป็นค่าเฉลี่ยไหมคะ หรือแค่ดูเป็นรายข้อคะ

    • @teachsembydrthipsk
      @teachsembydrthipsk 9 หลายเดือนก่อน

      วิธีที่ถูกต้องคือ ใช้ผลรวมของคะแนนของผู้ทรงแต่ละท่านในข้อนั้นๆ หารด้วยจำนวนผู้ทรง

  • @user-jh4nd6vd2s
    @user-jh4nd6vd2s 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับอาจารย์

  • @varichaiful
    @varichaiful 9 หลายเดือนก่อน

    อธิบายได้ชัดเจน เข้าใจได้ไม่ยาก

  • @krumeentanyaporn871
    @krumeentanyaporn871 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ เข้าใจขึ้นเยอะเลยค่ะ

  • @mosrp1990
    @mosrp1990 10 หลายเดือนก่อน

    หลังจากได้ดู VDO ของท่านอาจารย์แล้ว ผมขอสรุปข้อมูลตามความเข้าใจได้ดังนี้ครับ 1. การทำวิจัย IS ต้องมีการค้นคว้างานวิจัยที่เป็นต้นแบบ (Masterpiece) เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการทำวิจัยของเรา 2. ความสำคัญของตัวแปรต้น และตัวแปรตามนั้นเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากต่อการทำวิจัย หากกำหนดตัวแปรผิด หรือไม่สอดคล้องกันอาจจะทำให้งานวิจัยไปต่อไม่ได้ 3. การทำวิจัยเชิงปริมาณสิ่งสำคัญที่สุดคือเราสามารถทำแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดได้จริงหรือไม่ เพราะหากไม่สามารถทำได้จริงจะทำให้งานวิจัยไม่ประสบผลสำเร็จ และสิ่งสุดท้าย และสำคัญที่สุดคือการตรวจสอบงานวิจัยที่เราจะทำว่ามีคนได้ค้นคว้าหรือทำหัวข้อวิจัยลักษณะแบบนี้ บริบทแบบนี้ไปแล้วหรือยัง ไม่เช่นนั้นงานวิจัยจะไม่สามารถถูกอนุมัติให้ผ่านไปได้

  • @mosrp1990
    @mosrp1990 10 หลายเดือนก่อน

    ได้ดูคลิป VDO แล้วพบว่า สิ่งที่ท่านวิทยากรจะนำเสนอ ก็คือการค้นหาตัวแปร เช่น ตัวแปร X คือสาเหตุ และตัวแปร Y คือ ปัญหา โดยสามารถรวบรวมข้อมูลได้โดยการทำแบบสอบถาม หรือการสัมภาษณ์ ซึ่งต้องมีการระบุกลุ่มตัวอย่างขึ้นมาว่าคือใคร เช่นพนักงานในบริษัท และระบุปัญหาลงในแบบสอบถามเพื่อนำมารวบรวม และวิเคราะห์ปัญหา โดยต้องรู้ว่าสาเหตุ มีอิทธิพล หรือส่งผลต่อ ให้เกิดปัญหาอย่างไร โดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างอาจจะคัดเลือกจากประชากรที่เป็นตัวแทนที่ดี หรือใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ โดยกล่าวสรุปได้ว่าการ ทำแบบสอบถาม คือ วิจัยเชิงปริมาณ และการสัมภาษณ์ คือ วิจัยเชิงคุณภาพ

  • @arunratsupengkam2439
    @arunratsupengkam2439 10 หลายเดือนก่อน

    งานวิจัย มี 2แบบคือ งานวิจัยเชิงคุณภาพ และ งานวิจัยเชิงปริมาณ ในคลิปวิดิโอนี้ ทำให้เราได้ทราบถึง การศึกษาหาสาเหตุของปัญหาที่เราสนใจ โดยการ ทำแบบสอบถาม(เชิงปริมาณ) หรือสัมภาษณ์(เชิงคุณภาพ) เพื่อให้ได้ข้อมูล และนำมาทำตามขั้นตอน และแบบแผนในงานวิจัย โดยกำหนดตัวแปร Y = ปัญหา, X = สาเหตุ และ X ส่งผลต่อ Y

  • @sawitreepanya936
    @sawitreepanya936 10 หลายเดือนก่อน

    จากคลิปวีดีโอ ทำให้เข้าใจว่าการทำวิจัยต้องค้นหาสาเหตุของปัญหา ด้วยการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งงานวิจัยมี 2 แบบ คือ 1. วิจัยเชิงปริมา -> ใช้แบบสอบถาม 2. วิจัยเชิงคุณภาพ -> ใช้การสัมภาษณ์ ทำให้รู้ concept ในการนำระบบแบบแผนเจ้ามาใช้ในการวิจัย ในการกำหนดตัวแปร สาเหตุ=X, ปัญหา=Y (จากเหตุไปหาผล หรือสิ่งที่เราค้นพบ) X ส่งผลต่อ Y เพื่อนำข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติ และท้ายสุดทำให้รู้ว่าไม่ควรทำวิจัยเชิงคุณภาพหากมีเวลาจำกัด

  • @user-kd5tf5uo8r
    @user-kd5tf5uo8r 10 หลายเดือนก่อน

    หลังจากที่ได้ดูคลิปนี้ทำให้เราได้รู้ว่า การทำวิจัยแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือวิจัยเชิงคุณภาพ และวิจัยเชิงปริมาณ โดยเราต้องหาปัญหาที่ต้องการศึกษาในงานวิจัย และกำหนดสาเหตุของปัญหาให้เป็นตัวแปร X และปัญหาเป็นตัวแปร Y เพื่อเก็บข้อมูลตามวิจัยของแต่ละประเภท โดยการวิจัยเชิงคุณภาพไม่ค่อยนิยมเท่าไหร่ เนื่องจากต้องใช้ระยะเวลาในการสัมภาษณ์ทำให้ต้องใช้เวลาเก็บข้อมูลนาน ส่วนใหญ่จะเน้นการวิจัยเชิงปริมาณด้วยวิธีเก็บข้อมูลแบบสอบถาม หลังจากที่ได้ข้อมูลประชากรและกลุ่มตัวอย่างแล้วจึงจะนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อประมวนผลตามข้อมูลที่เก็บได้

  • @arunratsupengkam2439
    @arunratsupengkam2439 10 หลายเดือนก่อน

    จากการศึกษาคลิปนี้แล้ว ทำให้เราทราบว่าการสืบค้นข้อมูลมีความสำคัญอย่างมากสำหรับนักวิจัยที่จะทำงานวิจัย สาระสำคัญในการสืบค้นข้อมูล มีอยู่ 3 key point 1. เพื่อหา Masterpiece มาใช้ในการทำงานวิจัยของเรา เพื่อที่จะทำให้เราเข้าใจได้ง่ายขึ้น 2. ต้องการหางานวิจัยเพื่อมาสนับสนุนสมมุติฐานที่เราต้องการ และพัฒนากรอบแนวคิดงานวิจัย 3. เพื่อตรวจสอบว่างานวิจัยของเราซ้ำกับคนอื่นไหม ซึ่งเราจะสืบค้นได้จาก วิทยานิพนธ์, ดุษฎีนิพนธ์ฉบับเต็ม (Full Paper) และบทความวารสาร (Journal) สำหรับแหล่งในการสืบค้นข้อมูล - ฐานข้อมูลคลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - DPU e-Theses - ฐานข้อมูลมหาวิทยาลัยศิลปากร - คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง - EBSCO host - ThaiLIS TDC - ThaiJo ฐานข้อมูลวารสารวิชาการ - ศูนย์ข้อมูลการวิจัย - Google Scholar - EBSCO host - SCIENCEDIRECT - Proquest Dissertations & Theses อาจารย์แนะนำวิธีการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ ได้อย่างละเอียด และทำให้เห็นภาพมากขึ้นค่ะ ขอบคุณมากค่ะ

  • @kessalawantetthong
    @kessalawantetthong 10 หลายเดือนก่อน

    จากวีดีโอสรุปได้ว่า Key Point 1.ค้นหาวิจัยต้นแบบ (Master piece)เพื่อเป็นแนวทางในการทำวิจัย 2.คิดสมมติฐานและกรอบแนวคิดของวิจัยที่สนใจจะทำ และหาวิจัยคู่แบบทั้งในบริบท และ ตัวแปรที่สอดคล้องกัน 3.ควรใช้งานวิจัยปีวิจัยไม่เกิน 5 ปี วิจัยแบบออกเป็น 2 ประเภท 1. วิจัยเชิงปริมาณ 2. วิจัยคุณภาพ ตัวแปร มี 2 ประเภท ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และจะมีตัวแปรพิเศษ คือตัวแปรขั้นกลาง คือคือตัวแปรที่ส่งผลต่อตัวแปรต้น และตัวแปรตาม ประชากร คือประชาชนในประเทศ เราต้องหาสถิติ เพื่อที่จะได้รู้กลุ่มตัวอย่าง เพื่อนำมาใช้ในงานวิจัย หลักในการเขียนปัญหาที่มาและความสำคัญ จะเขียน 2-3 หน้า 3 ย่อหน้า และประเด็นของปัญหา 5-10 บรรทัด ส่วนแหล่งส์บค้นงานวิจัย 1.สืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ ในมหาลัย 2.สืบค้น บทความวารสาร งานวิจัยในประเทศ 3.สืบค้น บทความ วารสารงานวิจัยต่างประเทศ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการทำวิจัยอย่างมาก ได้รู้เรื่องเทคนิคต่างๆ การคิดหัวข้อในการปักหมุด และ ได้หาวิจัยที่เกี่ยวข้อง

  • @user-ih9fc1gw7z
    @user-ih9fc1gw7z 10 หลายเดือนก่อน

    **สาระสำคัญ*** วัตถุประสงค์มี3key หลัก 1)เพื่อศึกษาแนวทางการทำวิจัย เพื่อเป็นงานวิจัยต้นแบบของเรา เพื่อทำความรู้จักงานวิจัย (ค้นหา ดุสดีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์) 2)ช่วยให้เราค้นหาตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรต้น เพื่อให้เราสามารถพัฒนากรอบแนวคิด ไปสู่กระบวนการทำวิจัยของตัวเอง (ค้นหา บทความวารสารตีพิมพ์แล้วเท่านั้น ไม่เก่าเกิน5ปี)Journal 3) เพื่อตรวจสอบงานวิจัยที่ทำซ้ำซ้อนกับใครแล้วหรือไม่ สิ่งที่ดีมากๆ คือ ข้อมูลใยไฟส์ excel ที่ อ. ให้มา นำไปกรอกข้อมูลและทำความเข้าใจ

  • @user-mm1kn9qy6w
    @user-mm1kn9qy6w 10 หลายเดือนก่อน

    ในการทำงานวิจัยนั้นต้องหาสาเหตุ และผลที่ส่งกระทบจากเหตุไปหาผล จาก x ไปหา y ซึ่ง x ส่งผลต่อ y ใช้ตัวอักษรแทนค่า เพื่อคำนวนผลทางสถิติ ให้ list สาเหตุมาแต่ละข้อ รวมรวบข้อมูลโดยการสอบถามและสัมภาษณ์ จากกลุ่มตัวอย่างโดยการเลือกมาจากประชากร หลังจากที่ชมคลิปนี้แล้วเข้าใจในตัวแปรมากขึ้น มีแนวทางในการหาเหตุและผลของปัญหานั้นๆเพื่อเป็นแนวทางในการทำวิจัยของเรา

  • @user-kd5tf5uo8r
    @user-kd5tf5uo8r 10 หลายเดือนก่อน

    การนำวิจัยที่มีความสมบูรณ์ทางด้านองค์รวมและเนื้อหามาเป็นต้นแบบวิจัยต้นแบบ (Master piece) สามารถดาวน์โหลดวิทยานิพนธ์แบบ Full Paper เพื่อช่วยให้เราค้นหาตัวแปรต้น และตัวแปรตาม เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดของวิจัยให้มี่ความสอดคล้องกับวิจัยของเราเอง สามารถค้นได้จากบทความวารสาร (Journal) ซึ่งมีความน่าเชื่อมากว่าวิทยานิพนธ์ และข้อมูลที่ค้นคว้าไม่ควรเกิน 5 ปี วัตถุประสงค์หลักคือ 1. เพื่อค้นหาวิจัยต้นแบบ (Master piece) มาเป็นแนวทางในการเขียนวิจัยของตนได้ง่ายขึ้น 2. เพื่อสนับสนุนสมมติฐาน และกรอบแนวคิดของวิจัยที่สนใจจะทำ 3. เพื่อตรวจสอบหัวข้อวิจัยซ้ำกับเล่มอื่นภายใน 5 ปีนี้หรือไม่ รูปแบบการทำวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. งานวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นวิจัยที่เหมาะกับประเด็นหรือปัญหาใหม่ๆ โดยวิธีการเก็บข้อมูลคือ การสัมภาษณ์กับกลุ่มที่เราสนใจโดยไม่จำกัดคนจนกว่าจะได้ข้อมูลอิ่มตัว 2. งานวิจัยเชิงปริมาณ เป็นวิจัยที่เหมาะกับงานวิจัยที่มีการรับรองแล้ว แต่อยากศึกษาในบริบทที่ต่างกัน และมีโครงสร้างตัวแปรแล้ว วิธีการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมายตามจำนวนสถิติที่เหมาะสม ประเด็นปัญหาควรดูว่าปัญหาที่ต้องการศึกษาใหญ่แค่ไหน และวิจัยที่ศึกษาสามารถเพิ่มคุณค่า (Value Added) อย่างไร และงานวิจัยของเราสามารถให้แนวทางการแก้ไขปัญหา (Solution) ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ หลักในการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา โดยส่วนใหญ่จะเขียน 2-3 หน้า และประเด็นของปัญหาอยู่ราว 5-10 บรรทัด หัวข้อในการวิจัย = สามารถรอให้ บทที่1-3 เสร็จแล้ว ข้อมูลเพียงพอแล้วค่อยปักหมุดทีหลัง เพื่อให้หัวข้อมสามารถปรับตามเนื้อหาที่สมบูรณ์แบบได้ ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา = ค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้ครบก่อนแล้วค่อยกำหนด กรอบการวิจัย/สถิติ = ควรรู้ว่าตัวแปรต้น และตัวแปรตามใช้ข้อมูลระดับไหน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง = ต้องมีความสัมพันธ์กับกรอบการวิจัย ประชากร = หากรู้จำนวนประชากร จะสามารถนำข้อมูลไปหากลุ่มตัวอย่าง (Sample size) ได้ หากไม่รู้จำนวนประชากร สามารถใช้วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบจำนวนประชากร สถิติที่ใช้ = ต้องเป็นสถิติเดียวกับที่ระบุไว้ในสมมติฐาน หากใช้สถิติที่ไม่สอดคล้องกัน จะทำให้ผลวิจัยไม่สามารถถึงกันได้ ชื่อผู้วิจัย/บทความ ต้องนำไปใส่ในบรรณานุกรม กรณีที่มี 5 สมมติฐาน ต้องมีงานวิจัยที่สนับสนุนบริบท 25 เล่ม แหล่งการสืบค้นงานวิจัย 1. การสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ งานวิจัยในมหาวิทยาลัยต่างๆ 1) คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chulalongkorn University Intellectual Repository: CUIR) 2) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University Theses) 3) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มธบ. อิเล็กทรกนิส์ (DPU e-Theses) 4) ฐานข้อมูลมหาวิทยาลัยศิลปากร (DSPACE) 5) คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank) 6) ฐานข้อมูลงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University Library Network: RAMLINET) 2. การสืบค้น บทความวารสาร งานวิจัยในประเทศ (ระดับชาติ) 1) EBSCO host 2) ThaiLIS TDC 3) Thai Journal Online: ThaiJo ฐานข้อมูลวารสารวิชาการ 4) ศูนย์ข้อมูลการวิจัย (Digital Research Information Center) 5) Google Scholar 3. การสืบค้น บทความ วารสารงานวิจัยต่างประเทศ (นานาชาติ) 1) EBSCO host 2) SCIENCEDIRECT 3) Proquest Dissertations & Theses

  • @kessalawantetthong
    @kessalawantetthong 10 หลายเดือนก่อน

    จากที่ดูวีดีโอทำให้รู้ว่า การที่จะทำวิจัยนั้น เมื่อมีหัวข้อที่อยากทำจะต้องรู้ถึงปัญหาหรือไม่ จากนั้นหาสาเหตุของปัญหาแบ่งออกมาเป็นข้อๆ และระบุกลุ่มเป้าหมาย จากนั้นกำหนดสาเหตุให้เป็นตัวแปร x และปัญหาตัวแปร y และมาวิเคราะห์ว่าจะเก็บข้อมูลแบบไหน ส่วนใหญ่จะเป็นวิจัยเชิงปริมาณ ใช้ข้อมูลสถิติ นำมาวิเคราะห์ประมาณผล จากวิดีโอนี้ ทำให้เข้าใจการทำวิจัยมากขึ้น อธิบายและมองเห็นนภาพชัดขึ้น ในการหาปัญหา สาเหตุ และกลุ่มประชากร หรือ กลุ่มตัวอย่าง ขอบคุณค่ะ

  • @user-mm1kn9qy6w
    @user-mm1kn9qy6w 10 หลายเดือนก่อน

    ประโยชน์ของการสืบค้นข้อมูลจากงานวิจัย 1. เพื่อศึกษาแนวทางงานวิจัย เพื่อหางานวิจัยที่เป็นต้นแบบให้กับวิจัยของเรา ดูจากวิทยานิพนธ์ 2. เพื่อหาตัวแปร และความสัมพันธ์ของตัวแปร ดูจากวารสาร 3. เพื่อตรวจสอบหัวข้อวิจัย ที่สนใจว่ามีใครทำมาก่อนหรือยัง ดูจากที่ไหนก็ได้ - ต้องหางานวิจัยอย่างน้อย 5 งานวิจัยมาสนับสนุน เพื่อให้งานวิจัยดูหน้าเชื่อถือ - ใช้งานวิจัยไม่เกิน 5 ปี เพื่อไม่ให้งานวิจัยเก่าจนเกินไป - สถิติที่ใช้ที่ใส่ในงานวิจัยอ้างอิง ต้องเป็นตัวเดียวกับที่เราระบุไว้ในสมมุติฐานเดียวกัน ถ้าใช้สถิติต่างกันจะไปอภิปรายผลเปรียบเทียบในบทที่ 5 ไม่ได้ เพราะผลมันต่างกัน - ถ้าอ่านบทคัดย่อไม่เข้าใจ ให้ไปอ่านสรุปผลการวิจัยด้วย เพื่อให้เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น แหล่งค้นหาข้อมูลงานวิจัย - คลังปัญญาจุฬาลงกรณ์ - ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ม.ธรรมศาสตร์ - DPU e-Theses - DSpace - PSU knowledge Bank - หอสมุดกลาง ม.รามคำแหง การสืบค้นงานวิจัยหลายๆงานวิจัยจะทำให้เรามีแนวทางในการทำงานวิจัยของตัวเองได้ดียิ่งขึ้น เราสามารถหาตัวแปรต้น และตัวแปรตามจากตัวอย่างงานวิจัยที่สัมพันธ์กับงานวิจัยที่เราจะทำได้

  • @sawitreepanya936
    @sawitreepanya936 10 หลายเดือนก่อน

    หลังจากได้ดูคลิป ทำให้ทราบ 3 Key point หลักๆในการทำวิจัย คือ 1. การค้นหางานวิจัยเพื่อนำมาอ้างอิง เป็นการค้นคว้าหางานวิจัยต้นแบบ (Masterpiece) Format ที่ดีเป็นอย่างไร เพื่อนำมาเป็นต้นแบบในการทำวิจัย 2. เพื่อค้นคว้าหาตัวแปร ความสัมพันธ์ของตัวแปร บริบทที่เราสนใจ เพื่อสนับสนุนสมมติฐานและนำไปพัฒนากรอบแนวความคิดงานวิจัยจองเรา ซึ่งดูได้จากยทความและวารสารที่ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น บทความไม่เกิน 5 ปี, Journal จะมีแค่สาระสำคัญ 15-20 หน้า 3. เพื่อตรวจสอบว่า หัวข้องานวิจัยที่เราสนใจทำ มีผู้ใดทำมาก่อนหรือยัง งานเราไม่ซ้ำซ้อนกับใคร และไม่โดนการคัดลอกงานของผู้อื่น

  • @worravitnumsarapadnuek6097
    @worravitnumsarapadnuek6097 10 หลายเดือนก่อน

    Interval scale มีตัวอย่างอะไรอีกบ้างครับ

  • @user-kx1zp1kb4i
    @user-kx1zp1kb4i 10 หลายเดือนก่อน

    ชัดเจนมากครับ, ดูแล้วสามารถคำนวนค่าได้ Step by step เลย... ขอบพระคุณครับอาจารย์ทิพย์

  • @ton9510
    @ton9510 10 หลายเดือนก่อน

    คือ งง กว่าเดิม😂😂

  • @puttachatp99
    @puttachatp99 11 หลายเดือนก่อน

    เข้าใจเลยค่ะ

  • @user-jk5jf1ij6u
    @user-jk5jf1ij6u 11 หลายเดือนก่อน

    ถ้ารบกวนขอไฟล์ เพาเวอร์พ่อยได้ไหมคะ

  • @user-jk5jf1ij6u
    @user-jk5jf1ij6u 11 หลายเดือนก่อน

    ถ้ารบกวนขอไฟล์ เพาเวอร์พ่อยได้ไหมคะ

  • @krerkchetsadanuwat1511
    @krerkchetsadanuwat1511 11 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์สอนเข้าใจง่ายมากๆเลยครับ จากคนที่งง stat มาตลอด

  • @tassanee6814
    @tassanee6814 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความรู้คะ

  • @user-ov3gf2sn3m
    @user-ov3gf2sn3m ปีที่แล้ว

    เข้าใจเพิ่มขึ้นค่ะอาจารย์ ขอบคุณมาก ๆ ค่า ขอสรุปเนื้อหาในส่วนของการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย แบ่งเป็น 2 ส่วนที่สำคัญ ได้แก่ 1. Content Validity เป็นการตรวจสอบความสอดคล้องของเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 หรือ 5 ท่าน ใช้ IOC ซึ่งต้องมีค่าตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป และ 2. Reliability เป็นการทดสอบความเที่ยง ความเชื่อมั่น โดยส่งแบบสอบถามเพื่อทดสอบจำนวน 30 ตัวอย่าง และ ประเมินหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ซึ่งควรมีค่ามากกว่า 0.7 ขึ้นไป และ ต้องมีค่า Corrected Item-Total Correlation มากกว่า 0.3 ซึ่งเป็นค่าที่แสดงว่า ข้อคำถามนั้นสามารถอธิบายตัวแปรนั้นได้ดีมากน้อยเพียงใด ดังนั้น ค่ายิ่งสูงยิ่งดี และหากมีข้อคำถาใด ต่ำกว่าค่าตามเกณฑ์ ให้ลองตรวจสอบปัญหาค่าผิดปกติที่ Descriptive Statistics และค้นหาปัญหานั้นจากต้นฉบับของข้อมูล โดยห้ามใส่ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้วิจัยลงไป