นักวิจัยเกาหลีสามารถทดลองและสร้าง LK-99 ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดที่สามารถใช้งานได้ในอุณหภูมิห้อง

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 19 ส.ค. 2023
  • นักวิจัยเกาหลีสามารถทดลองและสร้าง LK-99 ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดที่สามารถใช้งานได้ในอุณหภูมิห้อง และเชิญชวนให้นักวิจัยทั่วโลกเข้ามาทดสอบ
    #techoffside #ข่าวสั้นล้ำหน้าโชว์ #LK99 #ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด #superconductor #ตัวนำไฟฟ้าที่สามารถใช้งานได้ในอุณหภูมิห้อง
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 288

  • @ggdd
    @ggdd 9 หลายเดือนก่อน +65

    อยากให้มี content เชิงวิทยาศาสตร์และจักรวาลแบบนี้ต่อเนื่องไปตลอดครับ

    • @user-yl9qp3ym1v
      @user-yl9qp3ym1v 9 หลายเดือนก่อน +2

      ดันครับ ผมชอบมากเรื่องแบบนี้😊

    • @issarashon-eu1ut
      @issarashon-eu1ut 9 หลายเดือนก่อน

      +1

    • @Cosmos-2022
      @Cosmos-2022 8 หลายเดือนก่อน

      ก่อนอื่น ทีมงานต้องกลั่นกรอง ตรวจสอบ ตรวจทาน ข้อมูล ความรู้ ให้ถูกต้อง ให้เข้าใจเสียก่อนครับ
      เท่าไที่ดูมาผิดหลายที่ ซึ่งส่งผลให้สื่อสารความรู้ไปแบบผิด ๆ ได้

    • @kajonsakfc2048
      @kajonsakfc2048 6 หลายเดือนก่อน

      สุดยอดครับ

  • @mr.kodokomayomshit6129
    @mr.kodokomayomshit6129 9 หลายเดือนก่อน +5

    ไม่ใช่ข่าวออกมาแก้แล้วไม่ใช่เหรอว่าตัวอย่างมีการปนเปื้อนทำให้ไม่ใช่ตัวนำยิ่งยวดแล้วในตอนนี้

  • @warutchetjeangthanaratana8055
    @warutchetjeangthanaratana8055 9 หลายเดือนก่อน +13

    จะยวดยิ่ง หรือ ยิ่งยวด ในภาษาอังกฤษใช้ Superconductor
    นักวิทยาศาสตร์ทำได้นานแล้ว เพียงแต่คุณสมบัตินี้จะเกิดขึ้นในสภาวะที่จำเพาะ เช่น อุณหภูมิต่ำมากๆ หรือ ภายใต้แรงกดมหาศาล ล่าสุดมีการใช้แผ่นกราฟีน 1 ชั้นอะตอม 2 แผ่น มาวางซ้อนกันแล้วบิดทำมุม 1.1 องศา มันก็มีคุณสมบัติ Superconductor (แต่ก็ยังต้องอยู่ในอุณหภูมิที่ต่ำมากๆ)
    และเรียกมุมนี้ว่า magic angle
    ที่พยายามทำกันอยู่คือ Room Temp. Superconductor ที่อุณหภูมิห้อง (300K , Kelvin) ซึ่งล่าสุดที่ทำได้ใกล้เคียงที่สุดอยู่แถวๆ 287K หรือ 14 องศาเซลเซียส แต่ต้องใช้แรงกดมหาศาลระดับ 267GPa
    (267 กิกะปาสคาล) !!!

  • @otikamporn
    @otikamporn 9 หลายเดือนก่อน +24

    ผมลองตามเรื่องนี้สรุปประเด็นได้ดังนี้
    1 เรื่องนี้มีฝรั่งหลายคนลองผลิตตามเกาหลี แล้วไม่ได้คุณสมบัติที่กล่าวอ้าง
    2 ภาพที่เผยแพร่ออกมาในน่าทีที่ 3:00 ผุ้เชี่ยวชาญบอกว่า มันเหมือนสาร Diamagnetic (คือสารที่แม่เหล็กผลักออกไป)
    คือ(ผู้เชี่ยวชาญคิดว่า)มันไม่ใช่ปากฎการ Meissner effect (คือปรากฎการที่ ตัวนำยิ่งยวดลอยตัว"นิ่ง"บนแม่เหล็ก)
    คือมันไม่ลอย และมันไม่นิ่ง ถ้าใช้แรงแม่เหล็กสูงกว่านี้ มันก็อาจลอยไปตกที่อื่น มันไม่นิ่ง
    จากคลิปจะเห็นมันกระพือขึ้นลง ซึ่งมันไม่น่าใช่ตัวนำยิ่งยวด
    th-cam.com/video/RjzL9cS3VW8/w-d-xo.html
    ปากฎการ Meissner effect ของจริงมันต้องเป็นแบบนี้ th-cam.com/video/wUQ2-QlNBaU/w-d-xo.html
    ประมาณถ้าโดนอะไรมาดัน มันจะมีกระแสต้าน ทำให้ลอยนิ่ง
    สมมติว่าเราผลิตตัวนำยิ่งยวดได้จริงที่ใช้ได้ในอุณภูมิห้อง
    การเอาไปใช้ประโยชน์ก็ยังไม่ง่าย
    -วงการเซมิคอนดักเตอร์ บอกว่าไม่มีผลอะไร เพราะหลายเหตผล ขนาดเล็กเกิน ขีดจำกัดในการนำกระแสต่อขนาด
    LK-99 Wouldn't Have Changed Semiconductors Anyway
    th-cam.com/video/dBhBqOirJ4A/w-d-xo.html
    -ตัวนำยิ่งยวด ไม่ได้นำกระแสได้ไม่จำกัด ถ้าตัวนำขนาดนึง เพิ่มกระแสไปเรื่อย ๆ มันจะเริ่มไม่เป็นตัวนำยิ่งยวดอีกต่อไป
    สุดท้ายต้องทำความเย็นช่วย หรือต้องเพิ่มขนาด
    สรุปว่าถ้าเรื่องนี้จริง ก็มีงานอีกเยอะก่อนจะเอาไปใช้ได้จริง
    แต่คหสต คิดว่าไม่น่าจะจริง

    • @plawan00021
      @plawan00021 9 หลายเดือนก่อน +1

      ตอนแรกผมฟังก็ไม่เชื่อครับว่ามันจะเป็นไปได้

    • @otikamporn
      @otikamporn 9 หลายเดือนก่อน

      @@plawan00021 คิดเหมือนกันเลยครับ
      ฟังครั้งแรก ๆ ไม่ได้ตามข่าวด้วยซ้ำ
      ผ่านมาเป็นอาทิตย์แล้ว คนพูดถึงเยอะเลยลองค้นข้อมูลดู
      พวกอินฟลู ชอบทำจ่าวตื่นเต้นของพวกนี้ จี้เกียจตาม

  • @theotonkla8932
    @theotonkla8932 9 หลายเดือนก่อน +13

    เยี่ยมครับ.. ต้องยอมรับ ว่าพี่หลามอธิบายได้ดี ทำให้เข้าใจได้ไม่ยาก.. 🤔🤗👏👏👏
    อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกอย่าง จะกินไฟน้อยลง.. โดยเฉพาะมือถือ!
    อีกอย่าง วงการอวกาศเรา.. จะไปไกลมากในอนาคต จนเทียบไม่ได้เลยกับปัจจุบัน.. เพราะข้อจำกัดใหญ่ข้อหนึ่ง คือเรื่องของการใช้พลังงาน.. 🤔

    • @justascratchbuild7471
      @justascratchbuild7471 9 หลายเดือนก่อน +2

      ยังทำไม่ได้จริงๆครับ เค้าพิสูจน์เเล้วว่าข้อมูลที่นักวิจัยเกาหลีทำมันผิดพลาดเพราะปนเปื้อน
      ถ้าททำได้จริง รางวัลโนเบลเลยครับ

  • @kraimonmaneesilp138
    @kraimonmaneesilp138 9 หลายเดือนก่อน +37

    1. ติงเรื่องพูดสลับกันระหว่างแรงดันกับกระแสหน่อยนึงนะครับ มันอาจจะทำให้สับสนได้
    2. เรื่อง Superconductor เอามาทำรถไฟฟ้า(ตอนนี้เป็นแบบมีรางก่อน) เค้าใช้คุณสมบัติการที่สนามแม่เหล็กเข้ามาในตัวมันไม่ได้ ซึ่งจะทำให้มันลอยขึ้นได้ครับ โดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าอะไรเลย ใช่ครับ ลอยเองเลย โดยไม่ต้องจ่ายไฟฟ้า เพียงให้ด้านหนึ่ง(ซึ่งน่าจะเป็นตัวรถ) มี Superconductor ติดอยู่ ส่วนอีกด้านหนึ่ง(ในที่นี้น่าจะเป็นราง) เป็นแม่เหล็ก คราวนี้ พลังงานที่จะใช้ขับเคลื่อนไปข้างหน้า ก็เป็นแต่แรงผลัก/เบรค โดยแทบจะไม่มีแรงเสียดทานอะไรเลย ไม่ต้องมีพลังงานมาจ่ายให้ตัวมันลอยตัวขึ้นมาอีกแล้ว เพราะมันจะลอยได้เองตามธรรมชาติ อันนี้ครับ มันจะพลิกวงการขนส่งเลยทีเดียว
    เรื่อง Superconductor อุณหภูมิต่ำ จุฬาก็เคยวิจัยและทำได้นะครับ เมื่อประมาณ 30กว่าปีก่อน แต่อุณหภูมิต่ำในที่นี้ ก็ยังติดลบเป็น 100 องศา แต่ตัวนี้ ใช้งานได้ที่อุณหภูมิห้อง แต่มันไม่เสถียร ก็คงต้องพัฒนากันต่อไป ถ้าทำให้เสถียร จนมาใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ มันจะเปลี่ยนโลกระดับกับการค้นพบเครื่องจักรไอน้ำ ไฟฟ้า หรือ นิวเคลียร์ เลยครับ มันจะยิ่งใหญ่กว่า การเกิดขึ้นของ Computer, Internet หรือ Smart phone มากมายเลยทีเดียว

    • @user-gq3rd6de5u
      @user-gq3rd6de5u 9 หลายเดือนก่อน +2

      นี่มัน โฮเวอร์บอร์ด สเก็ตบอร์ดลอยได้ ใน เบคทูเดอะฟิวส์เจอนิ รถยนต์ไม่ต้องมีล้อแล้ว เราอาจจะทันได้เห็นกันนะ

    • @komolkovathana8568
      @komolkovathana8568 9 หลายเดือนก่อน +8

      ข้อ 2. ป้อนไฟครั้งแรกแล้วไม่ต้องป้อนอีกเลย? ไม่จริง มันกินไฟตลอดเวลานั่นแหละ เพียงแต่กินน้อยลงมาก อย่างเด่นชัด (ถ้าเปรียบกับหลอดไฟ แอลอีดี กินไฟแค่ 10% ของหลอดขาว) ตัวเลขเป็นเท่าไร ต้องค้นดู.. เช่นกินไฟน้อยกว่า 2- 3% ของขดลวดทองแดงปกติ ถือว่าประหยัดมากแล้ว.. (0% เป็นไปไม่ได้

    • @pong301275cmu
      @pong301275cmu 9 หลายเดือนก่อน +2

      @@komolkovathana8568 ยืนยันอีกเสียงครับ มันทำหน้าที่เป็นแม่เหล็กชั่วคราว ไม่ตัวรางก็ส่วนล่างของตัวรถ
      ต้องให้พลังงานไฟฟ้าส่วนใดส่วนหนึ่งถึงจะสร้างสนามแม่เหล็กได้

    • @sermsaky420
      @sermsaky420 9 หลายเดือนก่อน

      ผิดนะครับ ที่รางมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้เป็นแม่เหล็ก ถูกครับ แต่บนรถก็เป็นแม่เหล็กไฟฟ้าครับ! ทำงานโดยการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้า ต้านกำลังกันแบบฉุดไปข้างหน้าครับ
      และใช่ครับ บนตัวรถแม่เหล็กไฟฟ้า (Mag-Lev) มีการใช้แม่เหล็กไฟฟ้าแบบตัวนำยิ่งยวด

  • @plawan00021
    @plawan00021 9 หลายเดือนก่อน +42

    สภาพนำยวดยิ่ง (superconductivity) เป็นปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ที่เกิดขึ้นกับวัสดุบางชนิด ณ อุณหภูมิที่ต่ำมาก จะมีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ และไม่มีสนามแม่เหล็กภายในวัสดุนั้น และเรียกสารที่มีสมบัติเช่นนี้ว่าตัวนำยวดยิ่ง (superconductor) สรุปคือมันคือสิ่งเดียวกันครับ เพราะภาษาอังกฤษใช้คำเดียว อะไรเกี่ยวกับฟิสิกส์ ยึดตามภาษาอังกฤษ จะเข้าใจง่ายกว่าแปลเป็นไทยครับ

    • @teddydk8917
      @teddydk8917 9 หลายเดือนก่อน +3

      นึกถึงสมัยยังเด็กๆ คำว่าเครื่องยนต์ "สันดาป" ด้วยความไร้เดียวสา เข้าใจว่ามันคือ "ดาบ" จริงๆ ที่เอามาทำเป็นเครื่องยนต์🤣🤣🤣 คำฝรั่งบางคำ พอแปลเป็นไทยมันก็ดูพิลึกดี😅

    • @sakarintipsan
      @sakarintipsan 9 หลายเดือนก่อน +2

      ขอบคุณ สำหรับความรู้ครับ ซู๊ดดดด เสพแปบ

    • @plawan00021
      @plawan00021 9 หลายเดือนก่อน

      เพิ่มเติมอีกนิด สารตัวนี้ยังไม่ได้รับการยอมรับในวงการวิทยศาสตร์นะ เพราะหลายสภาบัญเอาไปพิสูญแล้วไม่เป็นตามที่เกาหลีบอกมา และนักวิทย์หลายคนก็บอกว่ามันเป็นไปไม่ได้เพราะขัดกับกฏฟิสิกส์ เลยต้องรอการพิสูจน์กันต่อไปครับ

    • @user-pu8ed5uf6v
      @user-pu8ed5uf6v 9 หลายเดือนก่อน

      ภาษาไทยง่ายๆคือ ขี้ไม่ต้องเบ่ง พุ่งปรี๊ดเลย

  • @SuwanS123
    @SuwanS123 9 หลายเดือนก่อน +2

    ผมจบสายวิทย์ บรรยายชนาดนี้ได้เก่งมากแล้วครับ เข้าใจง่าย

  • @chaipattanasaisa-ard960
    @chaipattanasaisa-ard960 9 หลายเดือนก่อน +2

    อันนี้ ตาม follow up ข่าวนี้อีกรอบนะครับ เหมือนจะเป็นการเข้าใจผิด

  • @T_W_M
    @T_W_M 9 หลายเดือนก่อน +5

    หน้าโรงไฟฟ้า​ กำลังส่งขึ้นสายส่งเป็นหลักแสนครับ แล้วค่อยแปลงลงที่สถานีย่อยเป็นหลักหมื่น แล้วแปลงลงอีกทีที่หม้อแปลงหน้าบ้านครับ

  • @dhpth
    @dhpth 9 หลายเดือนก่อน +4

    ความต้านทานในไฟฟ้ากระแสตรง เราจะเรียกว่า resistance ส่วน impedance จะเป็นความต้านในไฟฟ้ากระแสสลับ

    • @SunGoRo
      @SunGoRo 9 หลายเดือนก่อน +1

      ใช่ครับ R resistance , Z impedance

  • @playerchor4346
    @playerchor4346 9 หลายเดือนก่อน +9

    ยากที่จะนำมาใช้จริง เพราะวัสดุมีการสลายตัว นั่นอาจหมายความว่า lk99 เป็นพลังงานโดยตัวของมันเอง ถ้าพัฒนาให้เสถียร ไม่สลาย และส่งผ่านพลังงานได้ถึง 99% นี่คือดีมากๆ

  • @huangtay
    @huangtay 9 หลายเดือนก่อน +15

    พี่หลาม แก้ไข 3:36 อิมพีแดนท์ เป็นความต้านทานในไฟฟ้ากระแสสลับ ที่มี L C แปรผันตามความถี่ครับพี่ ถ้าไฟฟ้ากระแสตตรง เป็น รีซิสแตนท์ R ครับพี่ ไม่มีความถี่มาเป็นองค์ประกอบ

    • @alfa7alfa
      @alfa7alfa 9 หลายเดือนก่อน

      ใช่ๆ
      ทำให้ผมนึกถึง
      ทฤษฏี​การสร้างสายอากาศ​เลยครับ
      ทำให้นึกถึงสมัยสัก 30กว่าปี+/-
      อินเตอร์​เน็ตยังไม่มี และมือถือ​โคตรแพง ราคาเป็นแสน พวกเรา เล่น ว. กัน 5ุุุ55

  • @qazer4445
    @qazer4445 9 หลายเดือนก่อน +1

    ถ้าข่าว ย่อโรงไฟฟ้านิวเคียร เหลือเท่าถังสีได้น่าตื่นเต้นกว่า และมีความเป็นไปได้มากกว่า😊😊😊

  • @_dugdig_
    @_dugdig_ 9 หลายเดือนก่อน +1

    คุณหลาม พูดได้ดีครับ คนดูต้องเข้าใจด้วยไม่ใช่ว่าคนอ่านเข้าใจอย่างเดียว หรือแขกรับเชิญเข้าใจอย่างเดียว เอาตรงๆสมัยเนี้ย ข่าวหรือการพูดอะไรอ่ะ บางทีเขาไม่ค่อยสนคนดู ชอบพูดจาทับศัพท์ไม่อธิบายอะไรเลย พูดเหมือนรู้กันเอง 2 คน หรือถ้ามองในมุมไม่ดีคืออยากโชว์พาว คนฟังฟังไม่ค่อยรู้เรื่องรู้บ้างไม่รู้บ้าง เดี๋ยวนี้เป็นอย่างนี้กันเยอะ ขอบคุณ คนนำเสนออ่านข่าวหรือมาถกเรื่องอะไร แต่คนฟังไม่รู้เรื่องก็ไม่รู้ เหมือนกันว่าทำไมทำไม หรือจะบอกว่าถ้าใครไม่รู้ก็ไม่ต้องดู คนที่ดูคือคนที่รู้ ถ้ารู้แล้วดูทำไม ผมมีคำถามว่า แล้วถ้ามีวัสดุนั้นจริงในการปล่อยกระแสไฟ แล้วค่าไฟเราจะถูกลงไหม ว่าแต่ tamiya จะทำยังไง รางแค่นั้นเอาไม่อยู่มั้ง

  • @ponlawutkumrun1430
    @ponlawutkumrun1430 9 หลายเดือนก่อน +2

    เอาแล้วววว....อุณภูมิห้องด้วย....ถือเป็นประวัติศาสตร์โลก

  • @jobstinnapat
    @jobstinnapat 9 หลายเดือนก่อน +1

    โรงไฟฟ้าในไทย ผลิตไฟ 5 แสนโวลท์ออกมาครับ
    เพิ่มเติมให้ครับ 😊

  • @user-xm9sj7xh8k
    @user-xm9sj7xh8k 9 หลายเดือนก่อน +2

    ชอบตรงพัดลมครับ พัดซะฝาบ้านถล่มเลย 😄

  • @apichartkumthong4835
    @apichartkumthong4835 9 หลายเดือนก่อน +1

    เข้าใจง่ายดีครับ..ทั้งๆที่ผมเองก็ยังไม่เคยทราบมาก่อนก็ยัง ฟังเเล้วเข้าใจ ..!!
    ขอบคุณครับกับความรู้ .และก็ขอเป็นอีกหนึ่งแรงใจที่ส่งให้ขอให้สร้างทำ ผลงานที่ดีแบบนี้ต่อๆไป ครับ

  • @bbeer1992
    @bbeer1992 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณ​ความรู้​ครับ

  • @user-xm3or8sb9v
    @user-xm3or8sb9v 9 หลายเดือนก่อน +2

    ฟังแบบนี้ก็ไม่เสียหายครับ เพราะเวลาไปเล่าต่อคนที่ฟังก็เข้าใจง่ายคุยกันสนุกด้วย แล้วอีกอย่างนะครับถ้าเราเล่าเรื่องจักรวาลให้ลูกให้เมียฟังแล้วใช้ภาษายากๆคิดว่าเขาจะคุยกับเรามั้ย ทำคลิบต่อไปนะครับพี่จะคอยติดตามครับ

  • @01032505
    @01032505 9 หลายเดือนก่อน +2

    ซีพียูจะไม่ร้อนแล้ว มอเตอร์รถไฟฟ้าจะมีประสิทธิภาพสูง ฯลฯ (ถ้าทดแทนได้)

  • @winchesternoah
    @winchesternoah 9 หลายเดือนก่อน +15

    อีกสาเหตุที่ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าใช้ V สูง เพื่อลดจำนวน A ลงด้วยครับ เพราะ A ยิ่งเยอะ สายไฟต้องใหญ่ตามมากๆ จะทำไห้ต้นทุนค่าสายไฟสูงขึ้นหลายเท่าเลยครับ

    • @konmaid40
      @konmaid40 9 หลายเดือนก่อน

      ใช่ครับ ตอนออกจากโรงไฟฟ้าก็ใช้สายส่งนำแรงดันดันสูงๆไว้ก่อนเลย พอมาถึงปลายทางก็ค่อยใช้หม้อแปลง ลดV แล้วAเพิ่มขึ้นเอาเพราะยังไงWมันก็เท่าเดิม ตามหลัก W=V*A

    • @0037562
      @0037562 9 หลายเดือนก่อน

      อีกสาเหตุ หนึ่ง คือ ยิ่งสายยาว แรงดันจะลดลงไปเรื่อยๆ

    • @user-qw1jr1ux6p
      @user-qw1jr1ux6p 9 หลายเดือนก่อน

      LK-99 จะกลายเป็นมวลสารที่วิวัฒนาการมอเตอร์ที่มนุษย์สร้างต่อไป กล่าวคือ Lk-99 ถูกนำมาใช้แทนขดลวดในปัจจุบันแน่นอน ..จะทำให้มอเตอร์กินไฟฟ้าลดลงอย่างสุดๆ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเช่นพัดลม,ตู้เย็น,แอร์ กินไฟฟ้าลดลงจนตกใจ (ส่วนในด้านยานยนต์รถไฟฟ้าวิ่งได้ไกลเป็น50เท่าเป็นอย่างต่ำ ขอขอบคุณทีมงาน LK-99 ที่ทำให้ช่วยลดภาวะโลกร้อน ครับ

  • @pong301275cmu
    @pong301275cmu 9 หลายเดือนก่อน +2

    ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวด กับ ตัวนำไฟฟ้ายวดยิ่ง คืออันเดัยวกันครับ
    ภาษาเปลี่ยนไปตามเวลา เหมือน บัคเตรี --> แบคทีเรีย นั่นและครับ
    ถ้าจำไม่ผิด ใช้ได้ทั้งสองคำ

  • @user-ge5xw2hx7o
    @user-ge5xw2hx7o 9 หลายเดือนก่อน

    แบบนี้หุ่นยนตร์ทหาร.แม่บ้านก็จะมีใช้ทั่วโลก

  • @aoifutaba5172
    @aoifutaba5172 9 หลายเดือนก่อน +2

    ง่ายๆเลย ถ้าทำสำเร็จ ค่าไฟเดือนล่ะ 1000 จะเหลือแค่หลักสิบทันที เพราะเครืองใช้ไฟฟ้าจะใช้ไฟน้อยมาก องค์การไฟฟ้าจะต่อต้านเรืองนี้ทันทีเพราะมันขัดผลประโยชน์

    • @KingLife1992
      @KingLife1992 9 หลายเดือนก่อน

      นั่นแหละที่กลัว 😂

    • @wasuti
      @wasuti 9 หลายเดือนก่อน +1

      ไม่ต่อต้านหรอกครับแค่ปรับราคาขึ้นจ่ายไฟน้อยละต้นทุนน้อยลงกำไรมากขึ้น

    • @user-jn6me8qe5t
      @user-jn6me8qe5t 9 หลายเดือนก่อน

      ไม่ถึงขนาดนั้นหรอกครับ พูดง่ายๆคือมันทำให้กระแสไหลสะดวกขึ้น แต่ถ้าเอาไปขับเคลื่อนอะไร (มอเตอร์ พัดลม)​ ทำให้เกิดความร้อน หรือแม้แต่สลับข้อมูลในวงจร มันก็มีการใช้พลังงานออกไปอยู่ดี
      แต่ที่น่าตื่นเต้นคือ คุณสมบัติอื่นๆ เช่นการผลักสนามแม่เหล็ก หรือการที่ไม่มีการสูญเสียพลังงาน จะทำให้สามารถสร้างอุปกรณ์ตรวจวัดที่ไว และ ได้สัญญาณสะอาด (noiseles)​ มากๆๆๆ ฯลฯ

  • @huangtay
    @huangtay 9 หลายเดือนก่อน

    ไทยต้องรีบแล้ว สำคัญมาก

  • @user-ww6th4re9q
    @user-ww6th4re9q 9 หลายเดือนก่อน

    เติมสารอาหารให้สมอง ครบไม่ครบต่อในเม้น ชอบมากๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ ตัวนำไฟฟ้ายิ่งยวดอีกตัวก็คือสารปรอทใกล้ๆตัวเรานี่แหละครับ แต่เงื่อนไขคือการทำงานที่อุณหภูมิสูงในสภาวะเป็นไอ ใช้ในงานยิงอิเล็คตรอน เนื่องด้วยมันใช้พลังงานสูงมากๆเกิดความร้อนมหาศาลสารปรอทเลยเป็นตัวเลือกที่ครบบริบท แบบที่ไม่มีวัสดุใดทดแทนได้(ใช้อย่างอื่นหลอมละลายหมด)

  • @user-hw8ho3jc3p
    @user-hw8ho3jc3p 9 หลายเดือนก่อน

    ตื่นเต้นมากครับ..ขอบคุณพี่หลามครับ

  • @sarawoodjaikaew639
    @sarawoodjaikaew639 9 หลายเดือนก่อน +6

    มันคือถ้าทำได้ เชิง อุตสาหกรรม มันจะเป็นการเปลี่ยนโลกครั้งใหญ่ อยากเห็นโลกที่เปลี่ยนแปลงจังเลย ตอนนี้อายุ 44 ปี อยากได้อายุไขเพิ่มอีกสัก 100 ปี อยากเห็นรูปที่เปลี่ยนแปลงจัง😂😂😂😂

    • @somsakpanjing3228
      @somsakpanjing3228 9 หลายเดือนก่อน

      เป็นนวัตกรรมสุดยอด พี่ผมคิดว่า สามารถเปลี่ยน โลกได้เลย ต่อไปสามารถจะเหาะได้ เลยก็ได้โดยติด ตัวนี้ไว้กับตัว ด้วยด้วย กำลังมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดจิ๋ว

    • @unseenelder9154
      @unseenelder9154 9 หลายเดือนก่อน

      รุ่นเดียวกันจ้า อยู่นานเกินขี้เกียจเลี้ยงเหลน โหลน ตอนนี้แค่หลานก็ปวดหัวแล้ว😅😅😅😅

  • @nutkanok8860
    @nutkanok8860 9 หลายเดือนก่อน +4

    คลิปนี้ดีมากเลย ไปอ่านศึกษามาและมาสรุปให้ผู้ชมฟังแบบเข้าใจง่าย ที่สำคัญคือการเปิดรับข้อมูลจากผู้ชมให้มาคอมเม้นแชร์ความรู้เพิ่มเติมได้

  • @MegaSuperwind
    @MegaSuperwind 9 หลายเดือนก่อน

    ชอบมากคะ ข่าวนี้เจ๋งจริง

  • @sermsaky420
    @sermsaky420 9 หลายเดือนก่อน +1

    ความต้านทานไฟฟ้าของวัสดุ คือ Resistance ครับ
    ส่วน Impedance คือ ความต้านทานการเปลี่ยนเฟสไฟฟ้าของวัสดุครับ
    เป็นความต้านทานไฟฟ้าที่คล้ายๆกัน แต่คนละแบบครับ

  • @taninswgnamwong496
    @taninswgnamwong496 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมาก ๆ ครับพี่หลาม

  • @mongkolmoolsri9087
    @mongkolmoolsri9087 8 หลายเดือนก่อน

    เติมพลังงานครั้งเดียว ทุกอย่างลอยได้ สุดยอดเลย ลดการใช้พลังงานเยอะ ระบบขนส่ง การเคลื่อนที่ เป็นเรื่องง่ายๆเลยครับ

  • @chatapontunsuwan4006
    @chatapontunsuwan4006 9 หลายเดือนก่อน +2

    ขอบคุณพี่หลาม ข่าวนี้เหมือนผมจะได้ฟังจากนายอาร์มมาก่อนแล้ว ฟังพี่แล้วเข้าใจมากขึ้นครับ

  • @nuguntmt195
    @nuguntmt195 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณเนื้อหาดีๆครับ

  • @paul_oreo6683
    @paul_oreo6683 9 หลายเดือนก่อน +1

    อ้าว​ เขาฮือฮาจนพิสูจน์​กันว่ามันทำไม่ได้​จริงแล้วไม่ใช่เหรอว่า​ เป็นงานวิจัย​ที่ผิดพลาด

  • @user-ok6ni1py1f
    @user-ok6ni1py1f 9 หลายเดือนก่อน

    ใกล้ความเป็นพระเจ้า และ😇😇😇😇❤

  • @user-nn2sz4wt1k
    @user-nn2sz4wt1k 9 หลายเดือนก่อน

    อธิบายได้ดีมากๆครับ เข้าใจง่าย ขอบคุณครับพี่

  • @user-zj6gx3bz3y
    @user-zj6gx3bz3y 9 หลายเดือนก่อน +4

    สายส่งไฟฟ้า จะขนาดเล็กลง ประหยัดทั้งโครงสร้างและวัสดุ อุปกรณ์ทุกอย่างราคาจะถูกลง

    • @KingLife1992
      @KingLife1992 9 หลายเดือนก่อน

      แต่ผมว่าการไฟฟ้า จะไม่เอาเพราะเสียผลประโยชน์ 😂

  • @greensweet5980
    @greensweet5980 9 หลายเดือนก่อน

    ซุปเปอร์คอนดักเตอร์นี่ตั้งแต่สมัยผมเรียนมัธยม ไปดูที่งานจุฬาวิชาการ แม่เหล็กลอยได้บนไนโตรเจนเหลวนั่นเมื่อสามสิบกว่าปีก่อน

  • @user-nk1ug2im9w
    @user-nk1ug2im9w 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณครับพี่หลาม
    ที่นำความรู้ดีๆแปลกๆใหม่มาให้เสมอ
    และที่ผมเห็นชัด คือ ไม่รู้ว่าพี่หลามได้อ่านคอมเม้นรอบที่ดวงจันทร์ ของผมหรือเปล่า ซึ่งผมมองว่าพี่หลามอาจจะ มีน้ำโห แต่ วันนี้พี่หลามทิ้งท้ายไว้ได้ดีมากๆครับไม่ปิดกั้น เปิดใจรับฟัง เพื่อให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องแก่ทุกๆคน ขอบคุณมากๆครับ

  • @konmaid40
    @konmaid40 9 หลายเดือนก่อน +6

    ตัวต้านทานคือ resistor ครับ ส่วนความต้านที่อยู่ในตัวของตัวนำไฟฟ้า จะใช้คำว่า"ตัว"ต้านทานไม่ได้ เพราะมันไม่ใช่ตัว แต่เป็นสิ่งที่อยู่ในตัว อีกทีนึง
    ขออธิบายสนับสนุนพี่หลามในเรื่อง อุณหภูมิมีผลกับความต้านทานในตัวนำยังไง ยกตัวอย่างก็เช่น ตอนเราเล่นเกมมือถือ พอเครื่องร้อนขึ้น เกมก็จะแลค เฟรมเรทจะตก นั่นแหละครับ เพราะความร้อนจะทำให้ความต้านทานสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าก็จะนำกระแสไฟฟ้าได้น้อยลง ระบบเลยทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ทำให้เกมแลค เฟรมเรทตก

    • @erawatdrumsing1169
      @erawatdrumsing1169 9 หลายเดือนก่อน +1

      ท้ายคลิปนี้พี่หลานเชิญชวนให้ช่วยกันในเรื่องข้อมูล คุณทำถูกแล้วครับ

  • @user-km7bh5eo5q
    @user-km7bh5eo5q 9 หลายเดือนก่อน

    ที่ดาวนาแม็กบ้านผมทำได้ตั้งนานแล้ว สวดยวดเลยลูกเพี่ย

  • @pypeetpy
    @pypeetpy 9 หลายเดือนก่อน +1

    เท่าที่ผมตามข่าวมา เห็นหลายๆห้องแลปบอกว่าไม่เป็นจริงนะครับ ผมก็ไม่แน่ใจว่าข่าวที่ผมได้อ่านมาจริงหรือป่าว

    • @puzzleparty5792
      @puzzleparty5792 9 หลายเดือนก่อน

      เป็นไปยาก แต่อนาคตไม่แน่ครับ ตอนนี้ สร้างกระแสล่อเม่า ตลาดหุ้นดีดกันมันส์ ในเกาหลี

  • @sucharitsinphaibunloet6648
    @sucharitsinphaibunloet6648 9 หลายเดือนก่อน +2

    มีประโยชน์กับบริษัท

  • @wirachatsri8344
    @wirachatsri8344 9 หลายเดือนก่อน +2

    ความต้านทานทางกระแสสลับเรียก อิมพีแด๊นซ์ ถ้ากระแสตรง เรียก รีซิสแตนท์ ครับ

  • @naranara2454
    @naranara2454 9 หลายเดือนก่อน +1

    แจ้งข่าวร้าย เขาตรวจสอบแล้วมันไม่ work จากเด็ก Physics

  • @wirachatsri8344
    @wirachatsri8344 9 หลายเดือนก่อน

    โอ้โฮ สุดยอดเลยครับ มันจะเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีไปอีกขั้นแบบก้าวกระโดด เลยครับ สมัยผมเรียน ยังต้องอยู่ในห้องทดลองอุณหภูมิต่ำลบ อยู่เลย

  • @boyd177
    @boyd177 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากครับ พี่หลามไม่ต้องกังวลหรอกครับ พูดผิดพูดถูก ผมชอบที่พี่ทำคลิปแบบนี้ออกมาครับ มันช่วยจุดประกาย ความอยากรู้อยากเห็น (ของผม)และช่วยกลบ ความไม่รู้ของใครหลายๆคนครับ ทำต่อไปครับพี่เป็นกำลังจายยย ให้ครับ😊😊

  • @biohazardresiden1926
    @biohazardresiden1926 9 หลายเดือนก่อน +4

    พี่เข้าใจผิดแล้วครับ ไฟฟ้าที่ส่งได้ไกลๆไม่ใช่แรงดันมาหาสารครับมันคือไฟฟ้ากระแสสลับครับที่ทำให้ส่งไฟฟ้าได้ไกลๆ ถ้าพี่ใช้ไฟฟ้ากระแสตรงต่อให้พี่ผลิตไฟมาแสนโวลต์ก็ส่งได้ไม่ไกลครับคำว่าตัวต้านทานคือรีซิเตอร์ครับ แต่ที่พี่พูดถึงคือการนำไฟฟ้าได้ดีครับ ปกติแล้วที่นำไฟฟ้าได้ดีที่สุดคือเงินสองทองคำ อันดับสามคือทองแดงครับ ความหมายที่พี่พูดคือน่าจะทำได้ดีกว่าทองคำแค่นั้นเองครับ แต่ก็ยังไปแทนซิมคอนดักเตอร์ไม่ได้อยู่ดีครับยกเว้นสิ่งที่เกาหลีพัฒนามาจะสามารถแทนซิลิกอนได้ อันนี้ต่างหากถึงจะเปลี่ยนชิปcpuได้

    • @sakarintipsan
      @sakarintipsan 9 หลายเดือนก่อน

      น่าจะเงิน นะที่นำได้ดีกว่า เมื่อก่อนเคยเอามาพันมอเตอร์ทามิย่า อย่างแรง

    • @maranello289
      @maranello289 9 หลายเดือนก่อน

      โลหะเงินนำไฟฟ้าได้ดีที่สุด​ เด็กๆเจอช้อยในข้อสอบจะรีบตอบทองคำก่อนเพื่อน😁

    • @biohazardresiden1926
      @biohazardresiden1926 9 หลายเดือนก่อน

      @@sakarintipsan 555555555555

    • @biohazardresiden1926
      @biohazardresiden1926 9 หลายเดือนก่อน +1

      @@maranello289 5555555555เขินเลย555555

    • @maranello289
      @maranello289 9 หลายเดือนก่อน

      @@biohazardresiden1926 แรกๆคนส่วนมาหก็คิดว่าทองคำหมดครับ​ เพราะราคาแพงน่าจะดีกว่าเพื่อน​ ทองคำมันไว้ชุบพวกลายวงจรและพวกคอนแทรคงานไฮเอนท์​ หรืองานเฉพาะ​ เพราะทองมันไม่เกิดออกไซด์ไม่ก่อเกิดสนิม​ที่ผิว​ สัญญาณรบกวนจึงต่ำกว่าแลกกันการนำไฟฟ้า​ แต่ไม่ใช่ว่าทองนำไฟฟ้าไม่ดี​แต่เทียบราคาแล้วความคุ้มค่าต่อราคามันต่างกัน

  • @Luangphol
    @Luangphol 9 หลายเดือนก่อน +1

    ข่าวนี้ยังมีดราม่าในวงการ เพราะมีนักวิทย์หลายคนไม่เชื่อว่าเป็นจริง

  • @tripontube365
    @tripontube365 9 หลายเดือนก่อน +2

    ยิ่งยวด = superconductor
    ยวดยิ่ง = superconductivity

  • @gundam6002
    @gundam6002 9 หลายเดือนก่อน

    ป๊าดดควาทรู้เชิงลึก น่าสนใจมากครับ ขอบคุณครับผม

  • @suncarnegie4747
    @suncarnegie4747 9 หลายเดือนก่อน +1

    สุดยอดครับพี่หลามชอบมากๆครับ

  • @punkrockneverdie
    @punkrockneverdie 9 หลายเดือนก่อน

    💪🙏ขอบคุณครับพี่หลาม รูปหล่อ🏆💎

  • @dylvmo
    @dylvmo 9 หลายเดือนก่อน +1

    เห็นแค่ชื่อคลิปผมก็ ว๊าววว มากกก ทำสำเร็จซักที
    รอดูต่อว่าจะเอามาใช้จริงได้เมื่อไหร่ แบบไหน จะผลิตเยอะๆยากมั๊ย ต้นทุนเท่าไหร่ อาจกลายเป็นว่าใช้ในเครื่องมือพิเศษสำหรับองค์กรใหญ่ๆเท่านั้น คนทั่วไปเข้าไม่ถึง

  • @dlsocool
    @dlsocool 9 หลายเดือนก่อน +1

    นักวิจัยที่อื่นๆเขาบอกว่า มันไม่ใช่ตัวนำยิ่งยวดแล้ว

  • @Geostate
    @Geostate 9 หลายเดือนก่อน

    FC ครับ
    เป็นกำลังใจให้พี่หลามครับ

  • @makelifetrader3894
    @makelifetrader3894 9 หลายเดือนก่อน +1

    ค่า impedant กับ ค่า resistance เหมือนกันไหมครับจารย์

  • @MrKeem1009
    @MrKeem1009 9 หลายเดือนก่อน

    ใยแก้วนำแสง นำไฟฟ้าได้ไหมครับ

  • @anonpolboonserm1890
    @anonpolboonserm1890 9 หลายเดือนก่อน

    จุดเริ่มต้นจานบินครับ ผมมาจากอนาคต

  • @supson
    @supson 9 หลายเดือนก่อน

    แบบนี้เราจะประหยัดพลังงานได้มาก นี้มันวัสดุเปลี่ยนโลกเลย😊😊😊😊

  • @tripontube365
    @tripontube365 9 หลายเดือนก่อน

    10:27 ก้าวแรกของคอปเตอร์ไม้ไผ่โดราเอมอน

  • @baansanruk
    @baansanruk 9 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณค่ะ เข้าใจเรื่องยากๆ ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนก็คลิปนี้เอง

  • @ACCG54
    @ACCG54 9 หลายเดือนก่อน

    ฟังคุณหลามอธิบายอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ว่า สาเหตุที่ต้องส่งไฟฟ้าแรงดันสูงๆ เพราะมีความต้านทานในสายไฟ
    จะได้เหลือแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลต์ที่จุดใช้งาน
    คำตอบที่ชัดเจนจะเป็นตามนี้ครับ
    โดยเฉพาะดูตารางเปรียบเทียบในลิงค์
    ทำไม ต้องใช้ไฟฟ้า ในระดับแรงดันสูง เช่น 230kV, 500kV เป็นต้น ในการส่งผ่านพลังงานไฟฟ้า
    คำตอบก็คือ เพื่อลดค่าความสูญเสีย (Losses) ในตัวสายส่ง
    เนื่องจากสายตัวนำ มีความต้านทาน( resistance)
    ซึ่งเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ค่าความต้านทานในสายส่ง ก็จะทำให้เกิดค่าความสูญเสียขึ้น ในรูปของความร้อน
    ดังนั้นการเพิ่มขนาดแรงดันไฟฟ้า ก็จะส่งผลให้ค่ากระแสไฟฟ้า และหน่วยสูญเสียลดลงได้
    ตามตัวอย่างในรูป(ในลิงค์)จะเห็นได้ว่า
    ถ้าใช้ระดับแรงดันไฟฟ้าที่สูงกว่า
    จะมีค่ากำลังไฟฟ้าสูญเสียที่สายส่งน้อยกว่า
    ทำให้การส่งผ่านพลังงานไฟฟ้าได้มากกว่าการใช้ระดับแรงดันต่ำ
    th-th.facebook.com/ElectricalRm/photos/a.422673381079401/780579538622115/?type=3

  • @pathomphongpiyajinda5082
    @pathomphongpiyajinda5082 9 หลายเดือนก่อน +1

    ถึงผมจะไม่เข้าใจทั้งหมดแต่ผมก็พอรู้ได้ว่าข่าวนี้เป็นข่าวดีที่ริเริ่มมีการค้นพบวัตถุอะไรบางอย่างที่จะเป็นประโยชน์มากในอนาคตทางด้านพลังงาน โครงการใหญ่ๆก็เริ่มต้นจากจุดเล็กๆทั้งนั้น❤❤❤❤❤❤❤

  • @choknitikhoiking5310
    @choknitikhoiking5310 9 หลายเดือนก่อน

    สุดจัด

  • @lersanpuangmanee
    @lersanpuangmanee 9 หลายเดือนก่อน

    ได้ยินมานานเรื่องค่า impedance ในสายหูฟัง สายเครื่องเสียง ถ้าอนาคตมันใช้ลดค่า impedance ของสายเครื่องเสียงได้ เราจะได้ฟังเพลงที่มันมีอรรถรสกันขนาดไหน

  • @Gongrescue
    @Gongrescue 9 หลายเดือนก่อน +2

    ความต้านทาน มีหน่วยเป็น โอห์ม ในโลหะมีความต้านทาน ไม่ใช่ต้วต้านทาน ถ้าตัวต้านทานคือ resistor 😂😂😂

  • @maximarus
    @maximarus 9 หลายเดือนก่อน

    จากปี 1999 มาถึงปัจจุบันก็ 24 ปีแล้วที่ยังไม่สำเร็จจริงจัง ต้องขอบคุณผู้คิดค้นเกาหลีที่ยอมปล่อยให้ทั่วโลกได้เข้าไปมีส่วนร่วมช่วยกันค้นคว้าด้วย หวังว่าต่อจากนี้น่าจะช่วยเร่งพัฒนาการของมันให้เกิดขึ้นในยุคของเราได้

  • @Unrealx44
    @Unrealx44 9 หลายเดือนก่อน

    เนื้อหาหน้าสนใจ ครับแต่อธิบายเยินเยอ เปรียบเปรยเยอะไปหน่อยครับ ไม่กระชับ เห็นภาพที่จะอธิบายแต่พูดลากยาวไปหน่อย จากที่จะให้เขาใจง่ายฟังสบายๆเป็นกดข้ามๆเลยไปที่เนื้อหาเลย ปรับปรุงได้ก็จะดีครับ

  • @kampanatn
    @kampanatn 9 หลายเดือนก่อน +2

    คลิปไม่ยาวมาก 5-15 นาที กำลังดี ทำคลิปแบบนี้ออกมาเยอะๆนะครับ

  • @Someone-yq4bd
    @Someone-yq4bd 9 หลายเดือนก่อน +2

    เคยเรียน ฟิสิกส์ จำได้ว่า ตัวนำไฟฟ้า ยิ่งยวด มันจะผลักกับสนามแม่เหล็กของโลก คือมันจะลอยได้

  • @Naytan
    @Naytan 9 หลายเดือนก่อน

    ที่บอกว่าทุกอย่างจะเล็กลง คือไม่เข้าใจว่ามันเกี่ยวกันยังไง ในเมื่อมันเป็นแค่ตัวนำไฟฟ้า แล้วอีกอย่างในเมื่อใช้แล้วสลายหายไปไว แล้วมันจะไม่สิ้นเปลืองกว่าเดิมหรอ ถ้าเทียบจากในหนัง แกนพลังงานเครื่อง ปฎิกรอาค ของสตาคที่เล็กและให้พลังงานได้ มันคล้ายกันไหม รึแค่เปนตัวนำไฟฟ้าเมิลสายไฟ ถามแบบไม่รุ้เลย

  • @uptoyou9124
    @uptoyou9124 9 หลายเดือนก่อน

    ฉากด้านหลังพี่หลาม เปลี่ยนให้เป็น อวกาศเลย ดูล้ำๆ 5555

  • @farunkafu9804
    @farunkafu9804 9 หลายเดือนก่อน

    เค้าทดลองในห้องเลปทำได้ แต่ถ้าทำแล้วใช้สภาพภายนอกยังต้องเจอกับสภาพอากาศและสิ่งรบกวนอื่นๆอีกปัจจัยที่บอกว่าจะมีค่าImzเป็น0 คงยากครับ

  • @itsarawichaiyut6203
    @itsarawichaiyut6203 9 หลายเดือนก่อน +1

    อิมพีแดนซ์ คือ ความต้านทานภายใน ก่อให้เกินความศูนย์เสียพลังงาน ก่อให้เกิดความร้อนในวัสดุนั้น

  • @yut05122522
    @yut05122522 9 หลายเดือนก่อน +2

    พิสูจน์แล้วว่าไม่จริงนะครับพี่หลาม

  • @lovelove-gc1hg
    @lovelove-gc1hg 9 หลายเดือนก่อน

    หมื่นโวลต์.โดนที่คือสุกยังแล้ว

  • @jackritjamrungfa7828
    @jackritjamrungfa7828 9 หลายเดือนก่อน

    ผมก็ว่าน่าจะเป็นคำว่าresistance มากกว่าimpedance แต่ก็แล้วแต่กรณีที่เป็นไฟตรงหรือสลับ

  • @FuHaruka2545
    @FuHaruka2545 9 หลายเดือนก่อน

    ถ้าหากมีคนทำได้ คงจะถูกตามเก็บ

  • @LomdfNet
    @LomdfNet 9 หลายเดือนก่อน

    ต่อไปทำควอนตัมคอมพิวเตอร์ ไม่ต้องใช้ไนโตรเจนเพื่อทำอุณหภูมิติดลบ -273.15 อีกแล้ว

  • @iwillmissyouforever7916
    @iwillmissyouforever7916 9 หลายเดือนก่อน +1

    ข่าวแบบนีดีจริงๆพี่หลาม ผมชอบพี่อธิบายนะ เรื่องยากๆ มันค่อยๆเข้าใจได้ แบบกันเองดี

  • @nattawuts8204
    @nattawuts8204 9 หลายเดือนก่อน

    quantum ที่รู้จักนี่ มีแต่ quantum television choose wisely live well

  • @npny4060
    @npny4060 9 หลายเดือนก่อน

    กราฟีนน่าจะได้ใช้แทนก่อนครับ

  • @poringbom01
    @poringbom01 9 หลายเดือนก่อน

    เหมือนว่า meglev ก็ทำ Superconductor เหมือนกันโดยใช้ ไนโตเจนเพื่อให้อุณหภูมิติดลบ

  • @user-qn2hc5xs4b
    @user-qn2hc5xs4b 9 หลายเดือนก่อน

    แบดมือถือก็คงทนทานนานมากขึ้นใช่ไหม แหม่ตอนนี่ชาดวันละสองครั้งเชียว

  • @dang3r_m0use
    @dang3r_m0use 9 หลายเดือนก่อน +2

    ข่าวใหม่เขาบอกว่าตัวอย่างมันปนเปื้อนไม่ใช่เหรอครับ

  • @ozone7992
    @ozone7992 9 หลายเดือนก่อน

    ได้กลิ่นความเจริญของ milky way มาไกล ๆ ละ

  • @tomm99z
    @tomm99z 9 หลายเดือนก่อน +1

    ข่าวล่าสุดเห็นว่า นักวิจัยอื่นลองสร้างดูแล้ว วัสดุตัวนี้ทำไม่ได้ขนาดนั้น จบข่าว.🤓

  • @rcflydream
    @rcflydream 9 หลายเดือนก่อน

    Resistance หรือ Impedance กันแน่ครับ
    ถ้าต้านทานแบบ กระแสตรงหรือสลับ น่าจะ รีซิสแต๊นท์ มากกว่า

  • @user-ml1bj7ps2o
    @user-ml1bj7ps2o 9 หลายเดือนก่อน

    ถ้าพัฒนาสำเร็จ.อาจเอาไปใส่กับยานยนต์ได้.รึไปสร้างยานบินต่ำจากพื้น.ให้ลอยตัวได้.ไม่แน่น่ะครับ.ถ้ามีนวัตกรรมใหม่เกิดขึ้นมนุษย์อาจสร้างเครื่องที่ลอยได้แบบไรไอพ่น.มันต้องเกิดขึ้นแน่ๆ

  • @chewitmigclub1904
    @chewitmigclub1904 9 หลายเดือนก่อน +1

    ผมรอพัดลอรุ่นนี้นะครับ โฆษณาเลย เปิดเบอร์1ปลิวทั้งฝาบ้าน😅

  • @user-qw1jr1ux6p
    @user-qw1jr1ux6p 9 หลายเดือนก่อน

    ฮ่าๆ ความหวังของชาวโลกที่จะได้มอเตอร์พลังสูงแบบประหยัดไฟฟ้าได้แล้ว ขอบคุณLK99 ขอให้ผลิตเป็นขดลวดแทนทองแดงที่ใช้กันในปัจจุบัน เพื่อต่อยอดมอเตอร์ไฟฟ้าประหยัดพลังงานต่อไป ไซโยต่อไปอุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ จะกินไฟฟ้าน้อยลง(เช่นแอร์บ้าน,ตู้เย็น)หรือเกี่ยวกับยานยนต์ที่ใช้มอเตอร์ โลกจะได้ประหยัดไฟฟ้า ภาวะโลกร้อนจะลดลงแน่นอน

  • @nairwatson
    @nairwatson 9 หลายเดือนก่อน

    ข่าวช้านะครับ #โป๊ะแตก ไปละภายในไม่กี่วัน(เป็นอาทิตย์ละ)

  • @tripontube365
    @tripontube365 9 หลายเดือนก่อน

    เห้ย ข่าวใหญ่มากเลยนะครับ ปกติ superconductors ต้องทำในอุณหภูมิติดลบหลายร้อยองศา C

  • @alexlo7708
    @alexlo7708 8 หลายเดือนก่อน

    พี่เกา ทดลองเผาสารมั่ว จนได้สารประกอบอันนึงที่มีคุณสมบัติกำๆกวมๆ คือ ทองแดงตะกั่วออกไซด์ ทำขึ้นเมื่อปี 1999 (ที่มาของชื่อ LK99 อิๆ)
    พอได้สารประหลาด ที่คุณสมบัติไม่แน่ไม่นอน ยังไปได้ไม่สุด พี่เกาคิดว่าดังแน่ รีบเอาไปเสนอตีพิมพ์ แต่เกาหลีเป็นลูกน้องเมกัน ทำอะไรได้ ย่อมต้องรายงานเมกันก่อน เมกันบอกว่า ให้เก็บไว้เป็นความลับ เพื่อเมกัน จะเอาไปทดสอบค้นคว้าพัฒนาต่อ เผื่อให้ได้เป็นตัวนำยิ่งยวดจริงๆ เกาหลีมันซื่อบื้อ มันคงไม่ได้คิดว่า ถ้า้เมกันทำสำเร็จ มันต้องใส่ชื่อฝรั่งของมันเป็นคนคิดค้นแทนแน่ๆ อิๆ
    เกาหลีรอไปรอมาเกือบ 9 ปี จน 1 ในคนร่วมค้นพบแก่ตัวป่วยตายไป พวกร่วมทีมที่เหลือ เริ่มทนไม่ไหว เริ่มสงสัยว่า เมกัน มันจะโกงชื่อเสียงพวกกรูรึป่าว? พวกเลยตัดสินใจตีพิมพ์ แต่เมกันมีอิทธิพล ในสังสื่อวิทยาศาสตร์ มหาศาล สามารถกดดันให้ งานตีพิมพ์ของเกาหลี ที่เรียกว่า peer review ไม่มีใครสนใจเข้าไปดู เห็นเป็นเรื่องลวงโลก
    สุดท้าย เมกันที่ทุ่มเท ศึกษา พยายามปรับปรุง สารประกอบตัวนี้มาเกือบ 30 ปี เห็นว่าหากตัวเอง ยังคงเก็บไว้เป็นความลับต่อ คงมีแต่เสียเงิน+เวลา เพราะทำมาเยอะ ยังไม่เห็นหนทาง
    เมกัน จึงตัดสินใจ เปิดเผยให้ วงการวิทย์โลก ได้รับรู้แบบการประโคมข่าว เผื่อจะมีใครทำให้เป็นตัวนำยิ่งยวดได้จริง
    ห้องแล๊บต่างๆ ทั่วโลก คว้าหมับ เหมือนหมางับเหยื่อ ขณะที่เมกันเฉยๆ แค่แกล้งบอกว่า ซิมฯด้วยคอมฯแล้ว มันมีโอกาส (แต่พวกไม่บอกว่ากรูแอบทำมาจนหมดปัญญาแล้ว ตลอด 20 กว่าปี) อิๆ
    งานที่ ทุกคน ทดสอบออกมา ก็เซมๆ สารประกอบ มีคุณสมบัติที่กำกวม ไม่แน่ไม่นอน ห่างไกล ความเป็นจริง เหมือนข่าวตีป๊บทางวิทย์ไปอีก 1 อีเว้นท์

  • @buyerfeel
    @buyerfeel 9 หลายเดือนก่อน

    OMG เก่งมากกกก