@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ ตอนนี้คนยังเอาความเชื่อเก่าๆมาคิดว่า x86 แรงกว่า แต่ไม่ได้ดูขนาด cpu อัตราการกินไฟเทียบเลย ถ้า ARM ทำ cpu ขนาดใกล้เคียงกับ x86 รับรองว่าแรงกว่าเยอะครับ เพราะ supercomputer ของประเทศอะไรจำไม่ได้ก็ใช้สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากเหง้าของ ARM นี่แหละ แต่แค่เขาทำให้มันใหญ่ขึ้นกินไฟไม่อั้น มันเลยแรงมาก
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ x86 ยังขายอยู่สิครับเพราะ ARM สำหรับ โน้ตบุ๊ก และ pc มันเพิ่งเริ่มต้น ไปดูข่าว หัวเว่ย ก็มีข่าวออกมาแล้วว่าจะทำ pc ที่ใช้ ARM เป็น cpu ตอนนี้เข้าใจครับคนยังมีความเชื่อเก่าๆว่า x86 แรงกว่า ซึ่งที่จริงการเขียนชุดคำสั่งซับซ้อนไม่ได้เกี่ยวอะไรกับความแรงเลย ความแรงมันอยู่ที่การออกแบบตัวชิป จำนวนทรานซิสเตอร์ จำนวน core ที่ผมยกตัวอย่าง supercomputer ก็เพราะว่าที่จริงมันก็มีที่ใช้ สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากฐานเดียวกับ ARM แต่ทำไมมันแรงได้ล่ะ เพราะมันไม่เกี่ยวว่าเป็น x86 หรือ ARM มันทำให้แรงสุดๆได้ทั้งสองอย่าง แต่ที่มันเกี่ยวเพราะเรื่องขนาด การใช้พลังงาน ความร้อน นี่ต่างหากล่ะครับซึ่ง ARM ได้เปรียบเพราะพัฒนาให้ใช้ไฟต่ำกว่าในขณะที่ทำความเร็วได้มากกว่า ส่วนใน pc ก็ต้องรอดูว่าถ้าใช้ไฟแบบไม่อั้นมันจะแรงกว่าได้รึไม่
สมัยก่อนการเขียนซอฟต์แวร์ยังไม่พัฒนาซับซ้อนมาก จึงใช้การออกแบบ CPU ที่ซับซ้อนและทำงานได้หลายคำสั่ง คือ x86 ปัจจุบันการเขียนซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาไปมาก มีเทคนิคซับซ้อนมากขึ้น จึงสามารถใช้ CPU ที่มีคำสั่งเฉพาะ คำสั่งพิเศษลดลงได้ ขนาดลดลงกินพลังงานลดลง สมัยก่อนความเร็ว cpu ยังต่ำจึงพยายามทำให้ส่งคำสั่งหนึ่งครั้ง(สัญญาณนาฬิกา)มีความซับซ้อนมากยกภาระให้ cpu ไป คือ x86 ปัจจุบันสัญญาณนาฬิกาสูงมาก cpu จึงไม่จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งซับซ้อนมาก เพื่อให้กินไฟน้อยลง แต่ต้องสั่งหลายๆ ครั้ง แต่ด้วยมีระบบ 64บิท และมีความเร็วสูงจึงชดเชยกันได้ ประกอบกับการเขียนโปรแกรมบน arm ได้รับความนิยมมากขึ้น พัฒนามากขึ้น จนข้อเสียของ arm หายไปหมด แต่จุดเด่นในเรื่องอุปกรณ์โมบายล์ ประหยัดพลังงานกับเด่นชัดขึ้นทุกวัน
จริงๆแล้วแอปเปิ้ลเคยใช้ cpu powerpc ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง mcintosh ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ cpu x86 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC มาแล้วครับ การจะเปลี่ยนกลับไปใช้ M1 ที่เป็น RISC จึงไม่ใช้เรื่องแปลกอะไร แต่ประเด็นอยู่ที่ว่า ARM ที่เชี่ยวชาญเฉพาะ cpu สาย mobile จะพัฒนา M1 ให้เหมาะกับ desktop ได้ดีแค่ไหนเป็นเรื่องที่ท้าทายมากกว่า
Arm windows nt win32 app กับ arm Android app เลยรันไม่ได้ทันทีเพราะติด - kernel: nt and linux - subsystem: win32 and Android การ emulate จะทำแปลงทั้งสองอย่าง คือ kernel กับ subsystem ซึ่งวิธีที่น่าจะดีในความเห็นผมคือ ทำ VM เพราะจะแปลงได้ง่ยและครอบคลุม แต่ช้า แต่ arm ios app vs arm mac app มันติดแค่ไม่กี่อย่าง Subsystem: ios system vs mac system การแปลงก็แค่ สร้าง compatibility layer ให้กับ ios/ipad subsystem พอมี compatibility layer แล้วจะพบว่า แอปมันรันบน native โดยตรงกับ apple kernel (ทั้ง ios/mac รันบน kernel ที่ execution เข้ากันได้) ก็คือเป็นแอป native กินแบตไม่มากเหมือน vm กินเหมือนแอปปกติเลย >> แอป ios/ipad ทำงานได้เร็วเท่าแอป macc m1 และนั่นทำให้แอป ของ mac m1 ไม่น้อยลงเท่าไหร่ เพราะรัน ios ipad app ได้ และจากกระแสเชื่อว่า mac desktop app for m1 จะทยอยเพิ่มขึ้น พอแอป ios ipad มันทำแบบนั้นได้ การพอร์ตให้เป็น desktop app ก็ทำได้ไม่ยาก แค่เปลี่ยน subsystem กับ ตัวโปรแกรมให้ใช้ได้ดีกับ desktop แต่สำหรับฝั่ง windows เมื่อเปลี่ยนมาเป็น arm เพราะกระแสน้อยบวกกับ - แอปที่เคยรัน บน windows คือแอป win32 x86 app รันแล้วช้าลงมาก (สำหรับ x86 mac พอมารันก็จะช้าลง แต่ช้าไม่มาก น่าจะเพราะการออกแบบด้วย) ถ้าผรับปรุงความเร็วให้เท่า rosetta จะดีมาก ๆ - แอป มือถือ ไม่สามารถรันบน windows arm ได้อย่างง่ายด่ยเพราะนอกจาก subsystem แล้วยังติด kernel อีก จำเป็นต้องใช้ vm ทำให้ไม่คุ้มเท่าไหร่ที่จะทำแบบ ios ipad app to mac m1 และการทำ win32/uwp x86 emulator น่าจะคุ้มกว่า ทำให้สรุปได้ว่า ตราบใดที่ แอป win arm ไม่มากพอจนเป็นกระแส และตัว x86 emulator ยังไม่ดีพอ ก็ยากมากๆ ที่ windows arm จะดังได้ ส่วนตัวไม่อยากให้ ms ลงทุนกับ android subsystem emulator มากนัก เพราะคนที่ใช้ windows มักไม่ใช้ android vm รันแอป android อยากให้ไปลงทุนกับ x86 emulator แต่ก้เข้าใจเพราะติดภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของ intel, amd ด้วย ผนวก arm chip นอกจาก m1 ที่ช้า แต่ถึงกระนั้น ก็ยังเสียเปรียบหน่อยๆอยู่ดีเพราะ นอกจากแอป win32/uwp arm แล้ว ก็ไม่มีแอป consumer popular ใดที่สามารุรันแบบ native บน windows arm ได้เลย X86/Android/Linux app ก้ต้องผ่าน emulator อยู่ดี ถ้ากลับกันเป็นฝั่ง linux desktop ก็ยังได้เปรียบตรงที่ทำ compatibility layer รันแอป android ได้แบบ native (ถ้าไม่ติดเพราะคนพัฒนาน้อยเลยคืบหน้าช้านะ) เอาจริงถ้า linux desktop app มีแอปมากตอบตลาดลูกค้าได้เหมือน windows นะ แล้วทำ android compatibility layer นะ สู้ windows ได้แน่นอน (เรียกว่าไล่เรี่ยกัน) เร็วกว่า windows กินสเปคน้อยกว่า เพราะพอคนใช้งายเยอะ linux ก้จะลดความ power user เพิ่ม user friendly ไป
ทุกวันนี้ ARM ไม่ได้มีแค่มือถือ มีใช้งานที่เป็น Single Board Computer และเป็น Fan less ด้วย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมก็ใช้ ARM ทั้งนั้น ข้อดีของ ARM คือ กินไฟน้อย และ มี manufacturing ที่ใช้สถาปัตยกรรม ARM ก็เยอะ reliability ก็ดี และ cost develop ก็ไม่ได้สูงเทียบเท่า X86 ข้อจำกัดของ ARM ตอนนี้คือ prerformance อาจจะยังไม่เทียบเท่า และก็ยังไม่เห็น window 10 ตัวเต็มที่ run บน ARM ได้ เจอแต่ Window 10 IOT ซึ่งดูเหมือนทาง MS เองการอยากจะจับตลาดนี้ด้วยเช่นกัน
มันคงจะติดปัญหาของ program ยุคเก่าถ้าทำตัว visual programs ขึ้นเพื่อให้ลองรับการทำงานของระบบ x86 ให้ทำงานบน arm Microsoft ทำแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์เพราะติดปัญหาหาเยอะมาก Microsoft รอเวลาเมื่อถึงวันที่ระบบทำงานสมบูรณ์กว่านี้ครับและ cpu arm มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่ง Apple เลือกทางที่พี่หลามบอกครับคือ เอาระบบ Mac ย่อยระบบเล็กลงแทนแต่มีคำถามว่า program ของ Mac OS ต้องเขียนใหม่หมดใช่ไหมเรื่องนี้อาจจะต้องรอเวลาการ port program จากเจ้าของโปรดัก ถ้าเป็นเรื่อง server ยังไงต้องอยู่กับ x86 ในตอนนี้ เพราะต้องรอการมาของ cpu แสง ที่กำลังพัฒนาจะไปใช้กับ computer ควอนตัมต้องรอดูกันต่อไปครับ
ก่อนหน้านี้ Microsoft ก็ทำ Windows on ARM ด้วยCPU SQ1 เปิดตัวมาตั้งแต่ปี2019 ก่อน M1 ฝั่งApple แต่มีปัญหาเยอะมาก Apple เหมือนเห็นปัญหาฝั่ง Microsoft มาพัฒนาแก้จุดที่มีปัญหาาของMicrosoft จนตอนนี้ดีกว่า Microsoft เองก็ออกCPU SQ2 มาต้นเดือนพย.ที่ผ่านมา ดีกว่าตัวเก่ามาก จนตอนนี้เหลือแค่บริษัทโปรแกรมเฉพาะทางต่างๆเช่นAbobe ออกแบบให้รันARMให้ได้สมบูรณ์
สงสัยนิดนึงARMถ้าเอาตัวนี้มาเป็นตัวประมวลหลักแล้วเอา x86 มาเป็นตัวประมวลผลมันจะทำได้ปะทำเหมือนการ์ดจอ แบบ SLI ถ้ามันเป็นแบบนั้นแต่ถ้าเกิดเบื้องลึกไม่รู้สิแค่สมมุติเฉยๆทำคู่กันเหมือนเป็นระบบ Duoนำระบบ 2 ตัวมารวมด้วยกันหรือทำแยกแบบการ์ดจอแล้วจัดตำแหน่งชุดคำสั่งแยกเป็นชุดอันนี้สำหรับสถาปัตยกรรม Arm อันนี้สำหรับ x86แล้วส่งให้เข้าการ์ดจอให้ประมวลผลในรูปแบบคณิตศาสตร์เพื่อจะได้โชว์ภาพ OS > Ram > ARM >{GPU} ASCII > Ram > x86 > GPU = X
ถึง ARM จะดูดีกว่า มีอนาคตที่ดีกว่า x86 ในตอนนี้ แต่ตัว CPU x86 ถึงจะกินไฟเยอะ ก็สามารถถอดรหัสคำสั่ง ARM ได้เหมือนกันนะครับ แถมทำงานได้ค่อนข้างดีเลยด้วย แน่นอนว่า ARM ก็รันได้ แต่ถ้าจะให้รันชุดคำสั่ง x86 จริง มันยังดูหนักไป
ผมไม่ได้พูดถึงขนาดครับ CPU ARM ผมไม่ได้บอกว่ามันไม่แรง ผมแค่บอกว่ามันยังหนักไปสำหรับ CPU ARM เพราะคำสั่งของ x86 มันซับซ้อน นั่นเป็นสาเหตุที่ว่า ทำไม CPU ARM ถึงมี Core Thread เพิ่มขึ้นมาเร็วกว่า CPU x86 ขนาดตัว A64FX 1 Core ก็มี 4 Threads แล้ว แล้วก็ CPU x86 ก็สามารถทำชิปเล็กเท่า ARM และแรงเท่ากันได้นะครับ ไม่เกี่ยวกับขนาด
ไม่ใช่ครั้งแรกที่ Apple จะกลับไปใช้ CPU สถาปัตยกรรมแบบ RISC - ถ้าย้อนกลับไปช่วงปี 1994 Apple ได้ทำ Mac OS 7 (System 7.1.2) เพื่อซัพพอร์ต CPU PowerPC 601 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง Power Macintosh 6100 - และย้ายกลับไปอีกครั้งปี 2006 ได้ทำ Mac OS X Tiger (10.4) หันกลับไปใช้ CPU Intel’s Core 2 Duo ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC ในเครื่อง iMac (Late 2006) - และก็ย้าย (อีกแล้ว) ในปี 2020 ได้ทำ macOS Big Sur (11.0) ไปใช้ CPU Apple M1 (ซื้อแบบ Core CPU จาก ARM) ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง MacBook Air , MacBook Pro และ Mac Mini
apple เคยมีประสบการณ์การย้าย platform มาครั้งหนึ่งแล้วสมัย mac ใช้ cpu ของ moto มาใช้ cpu ของ intel (x86) เลยมีคนเอา notebook ที่ออกแบบสำหรับ windows เอา mac os มายัดลงไปและทำงานได้ อีกอย่างการเอา สถาปัตยกรรมรุ่นทวด มี H/D แค่ 30 m ใช้งาน เทียบกับรุ่นเหลน แล้วมาบอกว่าดีกว่า เอา discrete ic มาเทียบกับ 7 nano chip ได้ไง
สิ่งที่คุณหลามอธิบายในคลิปนี้คือความแตกต่างของสถาปัตยกรรม CPU
ระหว่าง CISC (x86 ) และ CISC (ARM) นะครับ
ARM เป็นเพียงค่ายหนึ่ง ไม่ใช่ค่ายเดียวที่เป็น CPU แบบ RISC
เครื่อง Mac รุ่นสมัย G3 -G5 ก็เป็น CPU แบบ RISC
ช่วงนั้นจะ ผลิตโดย IBM คือตระกูล PowerPC ตอนนั้นจะใช้ชื่อ PowerMac
ถ้าอธิบายให้เข้าใจง่าย
CISC คือพ่อครัวร้านตามสั่ง แค่สั่งไปว่า ข้าวผัดกระเพรา พ่อครัวก็จะทำทุกอย่างตั้งแต่สับเนื้อ หั่นผัก จนได้ผัดกระเพรามา 1 จาน
RISC เหมือนร้านแมคโดนัล ไม่จำเป็นต้องใช้เชฟอาชีพเลเวล 99 แค่ลูกมือเลเวล 10 ก็พอ แต่ละคน จะแยกไปทำงานเล็ก ๆ คนนึงย่างขนมปัง คนนึงทอดเนื้อ คนนึงหั่นผัก แล้วค่อยให้เอาแต่ละส่วนมารวมกันที่ปลายทาง
ดังนั้นสำหรับบางงาน ที่เราต้องทำงานซ้ำ ๆ เป็นจำนวนมากเช่นงานเรนเดอร์วิดีโอ RISC จะช่วยให้เร็วขึ้นมาก
ลองนึกถึงร้านอาหารถ้า ออเดอร์เป็น ผัดกะเพรา 1000 จาน
ร้าน RISC จะได้เปรียบมาก แต่ถ้าเป็นงานที่รับออเดอร์ โต๊ะนี้สั่งอย่า
ง อีกโต๊ะสั่งอีกอย่าง CISC อาจได้เปรียบกว่า เพราะสั่งงานง่ายกว่ามาก และ สูตรอาหารของร้าน RISC จะเขียนยากกว่า เพราะต้องระบุด้วยว่าให้ลูกมือคนไหน ทำอะไร เวลาไหน
เปรียบได้ดีมากเลยครับ ปัญหาปัจจุบันของพ่อครัวคือ แทนที่จะตั้งใจทำงาน แต่ดันแอบเอาวัตถุดิบในร้านไปขาย (bug) ทำร้านเสียหายลูกค้าหนีไปเยอะเลย ค่าตัวก็แพง คนไหนเก่งอาหารจีนก็ห่วยอาหารฝรั่ง ไม่ครบเครื่อง
แต่ร้านฟาสต์ฟู้ด ไม่ต้องกลัวเรื่องพ่อครัวเล่นตัว จ้างเด็กมาฝึกนิดหน่อยก็ทำงานได้แล้ว
cisc น่าจะเป็นร้านอาหารที่บริการแบบ full service นั่งกินที่ร้าน แต่ risc จะเป็นร้านขายอาหารผ่านแอพ แต่ไม่มีหน้าร้าน cisc มันพัฒนามาจาก การรวมของ logic gate ที่ต้องการ clock กำหนเการทำงานในแต่ละรอบ risc ไดเพัฒนาต่อมาลดการทำงานให้เหลือ clock ที่น้อยที่สุดเพียง clock เดียว
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ อันนั้นวิธีการกินครับแต่ใครจะเร็วกว่ามันอีกเรื่อง ARM ถ้ามันทำให้ cpu ใหญ่ขึ้น มีจำนวนทรานซิสเตอร์มากขึ้น ไม่ถูกจำกัดขนาดเหมือนตอนอยู่ในโทรศัพท์ มันก็แรงได้ครับและเร็วกว่าด้วยเพราะโครงสร้างมันสั่งให้ทำงานง่ายๆ ไอ้ที่ยากมันคือคนเขียนโปรแกรม
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ ตอนนี้คนยังเอาความเชื่อเก่าๆมาคิดว่า x86 แรงกว่า แต่ไม่ได้ดูขนาด cpu อัตราการกินไฟเทียบเลย ถ้า ARM ทำ cpu ขนาดใกล้เคียงกับ x86 รับรองว่าแรงกว่าเยอะครับ เพราะ supercomputer ของประเทศอะไรจำไม่ได้ก็ใช้สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากเหง้าของ ARM นี่แหละ แต่แค่เขาทำให้มันใหญ่ขึ้นกินไฟไม่อั้น มันเลยแรงมาก
@ทานอาหาร ให้ครบห้าหมู่ x86 ยังขายอยู่สิครับเพราะ ARM สำหรับ โน้ตบุ๊ก และ pc มันเพิ่งเริ่มต้น ไปดูข่าว หัวเว่ย ก็มีข่าวออกมาแล้วว่าจะทำ pc ที่ใช้ ARM เป็น cpu ตอนนี้เข้าใจครับคนยังมีความเชื่อเก่าๆว่า x86 แรงกว่า ซึ่งที่จริงการเขียนชุดคำสั่งซับซ้อนไม่ได้เกี่ยวอะไรกับความแรงเลย ความแรงมันอยู่ที่การออกแบบตัวชิป จำนวนทรานซิสเตอร์ จำนวน core ที่ผมยกตัวอย่าง supercomputer ก็เพราะว่าที่จริงมันก็มีที่ใช้ สถาปัตยกรรม risc ซึ่งเป็นรากฐานเดียวกับ ARM แต่ทำไมมันแรงได้ล่ะ เพราะมันไม่เกี่ยวว่าเป็น x86 หรือ ARM มันทำให้แรงสุดๆได้ทั้งสองอย่าง แต่ที่มันเกี่ยวเพราะเรื่องขนาด การใช้พลังงาน ความร้อน นี่ต่างหากล่ะครับซึ่ง ARM ได้เปรียบเพราะพัฒนาให้ใช้ไฟต่ำกว่าในขณะที่ทำความเร็วได้มากกว่า ส่วนใน pc ก็ต้องรอดูว่าถ้าใช้ไฟแบบไม่อั้นมันจะแรงกว่าได้รึไม่
สมัยก่อนการเขียนซอฟต์แวร์ยังไม่พัฒนาซับซ้อนมาก จึงใช้การออกแบบ CPU ที่ซับซ้อนและทำงานได้หลายคำสั่ง คือ x86
ปัจจุบันการเขียนซอฟต์แวร์ มีการพัฒนาไปมาก มีเทคนิคซับซ้อนมากขึ้น จึงสามารถใช้ CPU ที่มีคำสั่งเฉพาะ คำสั่งพิเศษลดลงได้ ขนาดลดลงกินพลังงานลดลง
สมัยก่อนความเร็ว cpu ยังต่ำจึงพยายามทำให้ส่งคำสั่งหนึ่งครั้ง(สัญญาณนาฬิกา)มีความซับซ้อนมากยกภาระให้ cpu ไป คือ x86
ปัจจุบันสัญญาณนาฬิกาสูงมาก cpu จึงไม่จำเป็นต้องมีชุดคำสั่งซับซ้อนมาก เพื่อให้กินไฟน้อยลง แต่ต้องสั่งหลายๆ ครั้ง แต่ด้วยมีระบบ 64บิท และมีความเร็วสูงจึงชดเชยกันได้ ประกอบกับการเขียนโปรแกรมบน arm ได้รับความนิยมมากขึ้น พัฒนามากขึ้น จนข้อเสียของ arm หายไปหมด แต่จุดเด่นในเรื่องอุปกรณ์โมบายล์ ประหยัดพลังงานกับเด่นชัดขึ้นทุกวัน
จริงๆมันคือ CISC กับ RISC ซึ่งเป็นจุดตั้งต้นของ CPU ทั้งมวลครับ
CISC คือ 1 คำสั่งทำงานหลายอย่างได้
RISC คือ 1 คำสั่งทำ 1 การทำงาน
**** บางคนอาจไม่รู้ ในอดีตก่อนที่ไมโครซอฟจะครองโลก ช่วงที่แข่งกันระหว่างแอปเปิ้ลและไมโครซอฟ ทางแอปเปิ้ลเริ่มต้นมาด้วย RISC ก่อนที่ภายหลังเมื่อ Intel เอาตัวเองกลายเป็นผู้ครองตลาด CPU ของโลกได้ ทางแอปเปิ้ลถึงเปลี่ยนมาเป็น x86 หรือ CISC
เพราะงั้นจึงไม่ต้องแปลกใจที่ทำไม แอปเปิ้ลถึงเป็นเจ้าแรกที่เปิดตัว iphone ได้สำเร็จง่ายๆ เพราะเอาจริงๆคือมี ปสก. การใช้งาน CISC
กรณี Apple M1 จัดไปเลยครับถ้าคุณไม่ใช่ Developer
แม้กระทั่งสายสตรีมสายภาพสายตัดต่อ ก็แนะนำให้ซื้อเลยครับ มันดีกว่า Macbook Air ตัวเป็นแสนบาทครับมีคนพิสูจน์แล้ว
แต่ถ้าเป็นโปรแกรมเมอร์หรือนักพัฒนาระบบ ไม่แนะนำครับ เพราะระบบโรเซ็ตต้ามันยังแปลงบางแอพมาทำงานบน ARM ไม่ได้ หรือบางทีก็ไม่ออโต้ให้ครับ
ยกตัวอย่างถ้าคุณจะใช้งานโฟโต้ชอป มันจะถูกเรียกใช้ผ่านโรเซ็ตต้าอัตโนมัติ เราจะไม่รู้ตัวหรือเห็นความแตกต่างว่ามันเป็นการใช้งานแบบมีตัวกลาง หรืออย่างน้อยๆผมที่ลองเล่นเองมาแล้วก็หาข้อแตกต่างไม่เจอ แถมพอลองตัดต่อวีดีโอแบบสั้นๆมันก็ทำงานเร็วกว่า Macbook Air ตัวท็อปราคาเป็นแสนของเพื่อนผมด้วย เร็วกว่ากันราวๆ 40%-50%
แต่ๆๆๆๆ ...... ผมลองใช้งาน Tmux มัน install packet ไม่ได้นะ เอาจริงๆมันก็ลงได้แหละแต่ท่าเยอะ เพราะโรเซ็ตต้ามันไม่ได้ทำงานอัตโนมัติ เอาสั้นๆแค่นี้คิดว่าสาย Dev คงพอข้าใจว่ามันยังไง
ดังนั้นสรุปเลย ถ้าคุณเป็น Dev ไม่ต้องซื้อครับ รอไปสัก 1 ปี แต่ถ้าคุณเป็นสาย user หรือเอามาใช้ทำภาพทำวีดีโอ ผมแนะนำเลยครับคุ้ม 45k แรงเท่าหรือเหนือกว่า 100k+
พี่หลามคือแรงบันดาลใจของผม
ฟังเพลินมากครับ
พี่รีวิว Mainboard ที่ Oc ได้ในราคาถูกหน่อยครับOc cpu
ตั้งแต่ดูรายการเกี่ยวกับเทคโนโลยีมามีพี่คนเดียวที่พูดแล้วเข้าใจง่ายที่สุด พี่ทำรายการแบบเข้าใจง่ายไม่ซับซ้อน เล่าเรื่องสนุก พี่มาจัดรายการล้ำหน้าโชว์ผมว่ารายการพี่มีประโยชน์กว่ารายการแบไต๋ไฮเทคของพี่หนุ่ยพงศ์สุขอีกนะ ผมชอบเรื่องเทคโนโลยีในอดีต ชอบการแข่งขันคิดค้นเทคโนโลยีสมัยก่อน คนสมัยก่อนสุดยอดคิดค้นคอมพิวเตอร์ขึ้นมาแล้วจดสิทธิบัตรเป็นของตัวเองก็มีคนที่ฉลาดกว่าทำเทคโนโลยีย้อนกลับ พวกที่คิดแล้วจดสิทธิบัตรเอากฎหมายมาเพื่อประโยชน์ของบริษัทตัวเองถ้าไม่มีคนคิดนอกกรอบป่านนี้โลกคงไม่มาถึงทุกวันนี้ไม่มีการแข่งขันมันก็หยุดอยู่แค่คอมพิวเตอร์จอสีดำตัวหนังสือสีเขียว... ชอบมากเลยรายการวันนี้ในอดีต 👏👍⭐⭐⭐⭐⭐🥇
ผมมองว่าเหมือนจะจับคนละกลุ่มกัน สังเกตุคุณหนุ่ยเน้นเรื่องที่เป็นปัจจุบัน เน้นความเร็วทันข่าว แต่คุณหลามเน้นเล่าเรื่องต่างๆ เน้นให้ความรู้ เล่าข่าวถ้ามีโอกาศถ้าถามเรื้องประโยชน์ด้านความรู้ คุณหลามมีประโยชน์มากกว่าอยู่แล้วครับ แต่เรื่องความเร็วของประเด็นในสังคมคุณหนุ่ยดีกว่า
ผมเคยดู Channel อื่นๆ ดูแล้วไม่ค่อยเข้าใจ แต่ขอบคุณพี่หลามมากครับ ดูคลิปที่คิดเดี่ยว เข้าใจง่าย👍
บอกเลยครับคลิปนี้ใครไม่ฟังเสียใจแทนมากๆครับ ก่อนอื่นขอบคุณพี่หลามมากๆครับ
ตอนแรกผมว่าจะ ซื้อmacbook air 2020 แต่ผมว่าพอผมฟังพี่ ผมเลยรอตัวใหม่มาค่อยซื้อ ตอนนี้ผมซื้อ M1 มาใช้บอกเลย เกือบซื้อไปแล้ว M1 ดีมากๆครับพี่ ไม่ร้อน แบตทน เสียงดี อย่างอื่นผมกำลังหัดเล่นอยู่ครับ เพราะเป็น Macbook ตัวแรกในชีวิต หลังจากไปลองเล่นแต่ของคนอื่น ขอบคุณพี่มากๆจริงๆครับ
จริงๆแล้วแอปเปิ้ลเคยใช้ cpu powerpc ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง mcintosh ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้ cpu x86 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC มาแล้วครับ การจะเปลี่ยนกลับไปใช้ M1 ที่เป็น RISC จึงไม่ใช้เรื่องแปลกอะไร แต่ประเด็นอยู่ที่ว่า ARM ที่เชี่ยวชาญเฉพาะ cpu สาย mobile จะพัฒนา M1 ให้เหมาะกับ desktop ได้ดีแค่ไหนเป็นเรื่องที่ท้าทายมากกว่า
23:09 ผมจะอธิบายทำไมเป็นแบบนั้น
การที่โปรแกรมทำงานอาศัยอยู่หลายปัจจับ เริ่มจากที่ hardware side จนถึง software side
1. HW Arch : arm, x86, powerpc
2. Kernel: NT, Linux, Apple, cross-kernel
3. Subsystem: win32, freedesktop, Android, cross-platform
4. รูปแบบการรัน: python, subsystem native, kernel native, javascript, html5
อย่างเช่น แอป linux binary armv64 ที่ออกแบบให้รันใน virtual terminal app ใน android ถ้าพิจารณาปัจจัยจะได้
HWArch=ARM64 Kernel=linux Subsystem=Android (เพราะ binary ไม่ได้ทำงานเป็นอิสระ แต่ทำงานใต้ sandbox/control ของ Android subsystem กล่าวเช่น ถ้า force stop แอป terminal ตัวแอปนั้นก็ terminate ด้วย) รูปแบบการรัน=Native kernel (รันบน kernel)
ถ้าหากแอปสองแอปื่ต่างกันแค่ subsystem ก็จะมีโอกาสสูงมากที่สามารถรันแบบ native ได้ขอแค่มี compatibility layer
มีต่อ
และการที่แอปจะทำงานได้
ทั้ง Hw arch , kernel, subsystem, รูปแบบการทำงาน ต้องเข้ากันได้ ถึงจะทำงานได้
ทุกอย่างเหมือนกันแต่
Hw arch ขัดแย้ง: รันไม่ได้ ไม่รู้จะสื่อสารกับ hw อย่างไร
เช่น ARM64 Android app vs x86 Android App
Kernel ขัดแย้ง: ไม่รุ้จะคุยกับ kernel อย่างไร >> คุย hw ไม่ได้
เช่น x86 linux binary vs x86 windows nt binary
Subsystem ขัดแย้ง: คุยกับ subsystem ไม่ได้ >> สั่งงานให้กับระบบปฏิบัตการไม่ได้ และคุยกับ kernel ไม่ได้
เช่น armv64 binary สำหรับ linux desktop vs armv64 binary สำหรับ android terminal
รูปแบบการรันขัดแย้ง: ไม่มีช่องทางในการสื่อสารกับ subsystem/kernel
เช่น python vs javascript ซึ่ง (cross-kernel, cross-platform, cross-arch ทั้งคู่ แต่สองชนิดรันข้ามกันไม่ได้
Arm windows nt win32 app กับ arm Android app
เลยรันไม่ได้ทันทีเพราะติด
- kernel: nt and linux
- subsystem: win32 and Android
การ emulate จะทำแปลงทั้งสองอย่าง คือ kernel กับ subsystem ซึ่งวิธีที่น่าจะดีในความเห็นผมคือ ทำ VM เพราะจะแปลงได้ง่ยและครอบคลุม แต่ช้า
แต่ arm ios app vs arm mac app
มันติดแค่ไม่กี่อย่าง
Subsystem: ios system vs mac system
การแปลงก็แค่ สร้าง compatibility layer ให้กับ ios/ipad subsystem
พอมี compatibility layer แล้วจะพบว่า แอปมันรันบน native โดยตรงกับ apple kernel (ทั้ง ios/mac รันบน kernel ที่ execution เข้ากันได้) ก็คือเป็นแอป native กินแบตไม่มากเหมือน vm กินเหมือนแอปปกติเลย >> แอป ios/ipad ทำงานได้เร็วเท่าแอป macc m1 และนั่นทำให้แอป ของ mac m1 ไม่น้อยลงเท่าไหร่ เพราะรัน ios ipad app ได้ และจากกระแสเชื่อว่า mac desktop app for m1 จะทยอยเพิ่มขึ้น
พอแอป ios ipad มันทำแบบนั้นได้ การพอร์ตให้เป็น desktop app ก็ทำได้ไม่ยาก แค่เปลี่ยน subsystem กับ ตัวโปรแกรมให้ใช้ได้ดีกับ desktop
แต่สำหรับฝั่ง windows เมื่อเปลี่ยนมาเป็น arm เพราะกระแสน้อยบวกกับ
- แอปที่เคยรัน บน windows คือแอป win32 x86 app รันแล้วช้าลงมาก (สำหรับ x86 mac พอมารันก็จะช้าลง แต่ช้าไม่มาก น่าจะเพราะการออกแบบด้วย) ถ้าผรับปรุงความเร็วให้เท่า rosetta จะดีมาก ๆ
- แอป มือถือ ไม่สามารถรันบน windows arm ได้อย่างง่ายด่ยเพราะนอกจาก subsystem แล้วยังติด kernel อีก จำเป็นต้องใช้ vm ทำให้ไม่คุ้มเท่าไหร่ที่จะทำแบบ ios ipad app to mac m1 และการทำ win32/uwp x86 emulator น่าจะคุ้มกว่า
ทำให้สรุปได้ว่า ตราบใดที่ แอป win arm ไม่มากพอจนเป็นกระแส และตัว x86 emulator ยังไม่ดีพอ ก็ยากมากๆ ที่ windows arm จะดังได้ ส่วนตัวไม่อยากให้ ms ลงทุนกับ android subsystem emulator มากนัก เพราะคนที่ใช้ windows มักไม่ใช้ android vm รันแอป android อยากให้ไปลงทุนกับ x86 emulator แต่ก้เข้าใจเพราะติดภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกของ intel, amd ด้วย ผนวก arm chip นอกจาก m1 ที่ช้า
แต่ถึงกระนั้น ก็ยังเสียเปรียบหน่อยๆอยู่ดีเพราะ นอกจากแอป win32/uwp arm แล้ว ก็ไม่มีแอป consumer popular ใดที่สามารุรันแบบ native บน windows arm ได้เลย
X86/Android/Linux app ก้ต้องผ่าน emulator อยู่ดี
ถ้ากลับกันเป็นฝั่ง linux desktop ก็ยังได้เปรียบตรงที่ทำ compatibility layer รันแอป android ได้แบบ native (ถ้าไม่ติดเพราะคนพัฒนาน้อยเลยคืบหน้าช้านะ)
เอาจริงถ้า linux desktop app มีแอปมากตอบตลาดลูกค้าได้เหมือน windows นะ แล้วทำ android compatibility layer นะ สู้ windows ได้แน่นอน (เรียกว่าไล่เรี่ยกัน) เร็วกว่า windows กินสเปคน้อยกว่า เพราะพอคนใช้งายเยอะ linux ก้จะลดความ power user เพิ่ม user friendly ไป
ส่วนใครที่งง ว่า ภาษา programming ไม่ได้เป็นปัจจัยด้วยหรือ
ยกตัวอย่าง c vs c++ บน x86-64, winnt, win32, native binary
ทั้งสองภาษาสามารถให้แอปในรูปแบบดังกล่าวได้ แต่แค่การสร้าง binary ต่างกันตรงภาษาที่ใช่กับตัว compiler ของภาษานั้น
แต่ java vs javascript vs c
ภาษาต่างกัน และแอปจากสามภาษารันข้ามกันไม่ได้ ไม่ใช่เพราะตัวภาษาโดยตรง แต่เพราะปัจจัยที่ต่างกันของ:
รูปแบบ: javascript รันบน javascript engine, java รันบน java virtual machine, c รันแบบ native บน kernel
ถ้าเป็นของ apple เอง ทำได้นะที่ผมมอง แต่จะให้เจ้าอื่นทำอย่าง windows ผมว่ามันยาก เพราะ apple เขียน os เอง และทำ hardware เอง แอพที่support ก็เขียนมาเฉพาะ os apple เอง kernal ก็คือ arm แต่ลงรายละเอียดปลีกย่อย แค่ ios กับ android มันก็แตกต่างกันอยู่ สังเกตบางแอพที่อยู่ใน ios แต่ android บางอันทำไมได้ไม่เท่า ios และ แอพที่เขียนมาเพื่อ android พอลงใน ios บัคกระจาย แต่ x86 คนทำ os คนทำ cpu คนทำ hardware มันคนละคนกัน ปัญหามีอีกเยอะครับ และความอิสระใรการเปลี่ยน hardware บน notebook ก็จะหายไปด้วย
คุณเข้าใจทิศทางได้ถูกต้องครับ ยังไง x86 ก็ยังสำคัญและเป็นแกนหลักของโลกต่อไป
สุดยอดครับพี่หลาม 🙏
อยากเห็นเลยครับApple M ที่ยัดชิป DDR6 เพราะนี่ยัดมาแค่DDR4 ยังได้ขนาดนี้เลย ถ้าทางนี้ไปได้ดีมาก ส่วน Nvidia น่าจะเป็นเจ้าที่ทำตามได้ไวสุดรึเปล่าเพราะมีทั้งARM ทั้งชอปกราฟฟิก ทั้งชิปRAM อยู่กับตัวเอง
ทุกวันนี้ ARM ไม่ได้มีแค่มือถือ มีใช้งานที่เป็น Single Board Computer และเป็น Fan less ด้วย โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมก็ใช้ ARM ทั้งนั้น ข้อดีของ ARM คือ กินไฟน้อย และ มี manufacturing ที่ใช้สถาปัตยกรรม ARM ก็เยอะ reliability ก็ดี และ cost develop ก็ไม่ได้สูงเทียบเท่า X86 ข้อจำกัดของ ARM ตอนนี้คือ prerformance อาจจะยังไม่เทียบเท่า และก็ยังไม่เห็น window 10 ตัวเต็มที่ run บน ARM ได้ เจอแต่ Window 10 IOT ซึ่งดูเหมือนทาง MS เองการอยากจะจับตลาดนี้ด้วยเช่นกัน
ก็มีแล้วไง MS SQ1 และ win10 for arm ก็ทำมานานแล้ว และมันพึ่งจะสมบูรณ์ในปีนี้
จะRICS หรือ CICS ใดๆเลย Requirement สำหรับการใช้งานของผมคือ OSนั้นต้องรองรับ MULTI-TASK ให้ได้ก่อน ไม่ใช่ SINGLE TASK อย่าง ios หรือ android ที่ต้องกดปุ่มhome เพื่อจะเข้าอีก app แล้ว app ที่เปิดก่อนหน้านี้ก็หยุดการทำงาน พอกลับไปใช้ก็ต้องรอโหลดใหม่ คือเสียเวลามากๆ ต่อให้ปัจจุบันรองรับ dual tasking แล้วก็ตามมันก็ยังไม่ตอบโจทย์ผมอยู่ดี
สุดยอด อธิบายดีมาก ผมได้ติดตามดูมาหลายคนที่อธิบายเรื่องนี้ยังไม่เข้าใจ เจอพี่หลามคลิปเดียวเข้าใจเลย ครับ
มันคงจะติดปัญหาของ program ยุคเก่าถ้าทำตัว visual programs ขึ้นเพื่อให้ลองรับการทำงานของระบบ x86 ให้ทำงานบน arm Microsoft ทำแล้วแต่ยังไม่สมบูรณ์เพราะติดปัญหาหาเยอะมาก Microsoft รอเวลาเมื่อถึงวันที่ระบบทำงานสมบูรณ์กว่านี้ครับและ cpu arm มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ซึ่ง Apple เลือกทางที่พี่หลามบอกครับคือ เอาระบบ Mac ย่อยระบบเล็กลงแทนแต่มีคำถามว่า program ของ Mac OS ต้องเขียนใหม่หมดใช่ไหมเรื่องนี้อาจจะต้องรอเวลาการ port program จากเจ้าของโปรดัก
ถ้าเป็นเรื่อง server ยังไงต้องอยู่กับ x86 ในตอนนี้ เพราะต้องรอการมาของ cpu แสง ที่กำลังพัฒนาจะไปใช้กับ computer ควอนตัมต้องรอดูกันต่อไปครับ
มั่ว
18:32 = Apple M1 (ARM ที่พยายามดีให้เท่ากับ x86)
ส่วนที่พี่หลามบอกว่าจะให้ x86 ดีเหมือน ARM มันก็คือ Modern Standby ที่อนุญาต networking + background process บางตัว ทำงานบนสภาพแบบ low power
ส่วน 19:50 ผมไม่แน่ใจว่าเป็นเพราะ " การที่จะ always network connected ได้บน x86 จะต้องไม่เข้าโหมด ACPI Suspend แบบปกติ "
หรือเปล่า แต่ x86 สมัยนี้สามารถทำ network connected ได้แล้วเพราะ ไม่ได้ใช่ ACPI S3 แต่ใช้ S0 Idle mode หรือ S0ix
พี่หลามฟันธงก่อน M1 เปิดตัว ตอนนี้ดูผลเทสมาแล้วบอกได้เลยว่าพี่ยังโคตรสุดเสมอมา ไม่ต้องไปดูช่องอื่นละช่องพี่หลามคือจบ ติดตามพี่ตั้งแต่มัธยมจนตอนนี้อายุ33 จะตามตลอดไปครับพี่สู้ๆ ขอบคุณข้อมูลดีๆที่พี่ตั้งใจทำออกมานะคับ
เพิ่งเข้าใจ x86 กับ arm ก็วันนี้เองครับ
สงสัยมา20 กว่าปีละ ขอบคุณมากครับ😊
Clip นี้ เป็น Clip ที่ตั้งใจ ฟังมาก เพราะทำให้เข้าใจ concept ได้มากขึ้นจริงๆๆ
อธิบายได้เก่งมากๆครับ จากคนเรียนไอที
ใช่ครับจากคนเรียนประมง
เป็นคลิปที่อธิบายได่เข้าใจสุดๆ สนุกด้วย
นอกจาก 9arm ก็มีช่องนี้แหระที่คุยเรื่องไอทีแล้วสกดให้ผมหยุดดูไม่ได้
สุดยอดเลยครับ อธิบายเรื่องยากให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นมาก
ทำไมผมฟังแล้วรู้สึกว่า Quantum Computer สามารถรวม 2 อย่างนี้เข้าด้วยกันแล้วสามารถรวมเอาข้อดีของทั้ง 2 อย่างมาเป็น 1 เดียวได้ ถ้าผิดถูกยังไงขออภัยด้วยครับ แค่รู้สึกอย่างนี้ครับ
ผมเชียร์ SQ1 สุดใจครับ อยากให้ผลัดดัน Laptop ย้ายไปสู่ arm ทั้งหมด.
ทั้งหมดเลยหรอ ไม่ดีมั้งครับ บางส่วนผมยังเห็นว่าx86 มันยังดีกว่าในเรื่องการเขียนคำสั่ง รันไปยาวๆแบบนี้อะ ว่าแต่sq1 นี่ของsnapdragon ใช่มั้ย
@@smolgust6712 ก็อาจนะ, ถ้าเค้าพัฒนาเกมรันบน arm
@Black List เห็นด้วยครับ
ต้องออกแบบ เปิดปิดระบบการคำนวณซับซ้อนอัตโนมัติเช่นดูยูทูบก็ใช้ระบบแบบ อาม พอใช้ออฟฟิศ ก็เริ่มแยกคอร์ อาจใช้ cpu 2 ตัวละกี่คอก็แล้วแต่ คำสั่งซับซ้อนก็ไป ซีพียูอีกตัว จะได้ไม่ร้อน และกินไฟเพิ่มอีกนิดหน่อย พอเล่นเฟส กติ ก็ปิดระบบ ซีพียูตัวเดียวเป็นใช้แบบอามตามปกติเพื่อลดการกินไฟ กดปุ่มปิดหน้าจอก็มีไฟเลี้ยงปกติ แต่ ซีพียูไม่ได้ทำงานจนกว่าจะมีชุดคำสั่งเปิดหน้าจอทำงาน
🙏🙏สัมหลับความรู้ครับ
มันเป็นเรื่อง CPU แบบ CISC และ แบบ RISC นะครับ ไม่ใช่ X86 กับ ARM
X86 เป็นแนวของ บ. Intel เป็น CISC ส่วน ARM เป็น แบบ RISC
ดูที่ MCS-51 (บ.Atmel)กับ PIC16F877 (บ.Micro Chip) เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ ตระกูล CISC และ RISC
:-)
คุณรู้จริง ชอบๆ Like รัวๆครับ
แล้วเดี๋ยวนี้พวก Arduino, STM32, ESP32, Pi Pico ที่นิยมเล่นกันเดี๋ยวนี้เป็นแบบไหนครับ
@@nbtc3region355 แล้วแต่งานที่ใช้ และความชอบส่วนตัวครับ เพราะทั้งหมดที่กล่าวมามันนำมาใช้ในงานควบคุมได้ทั้งหมดครับ
1คำสั่งสั้น เท่ากับกินพื้นที่ในแรมสั้น ใช้ไฟเลี้ยงน้อย ดึงข้อมูลจากแรมก็ต้องดันไฟออกมา ดันไกลก็เปลืองไฟ arm ออกแบบให้ทุกอย่างติดกันในชิปเดียว สั้นกว่าเสียพลังงานน้อยกว่า ถึงจะต้อง รัน1คำสั่ง 2ครั้ง รวมแล้วก็ใช้ไฟน้อยกว่าเยอะ ถ้าไม่ได้ใช้ประโยชน์จาก x86 extension พวกจัดการ3มิติ mmx (ที่น่าจะไปให้ GPU ทำงาน ดีกว่า) มันก็จะมีแต่งานที่ไม่ซับซ้อนนัก และยิ่งงานทำซ้ำๆ อย่างแต่งรูป ทำวีดีโอ ที่คำนวนแบบเดิมในทุกฟิกเซล งานแบบนี้ยกภาระให้ส่วน AI 16คอร์ทำงานยิ่งจะเร็วกว่าใช้ X86 extension ที่ลากข้อมูลติดตัวมายาวๆ แล้วต้องดันไฟผ่านส่วน execute ยาวๆ แยกงาน ทำให้สั้น เหมือนโรงงานประกอบรถยนต์ที่ซอยงานให้คนอื่นผลิตเอามาประกอบ ตัวเองจะได้มีสายการผลิตสั้นๆ จะได้ประหยัดค่าไฟอย่างน้อยก็ตรงทางเดิน
ผมคิดมานานว่าสักวัน ตอนกลับเข้าบ้าน แล้วเอามือถือมาเสียบบนแท่น ออกจอคอมมีเม้าส์มีคีย์บอร์ด ทำงานเหมือนคอมพิวเตอร์ แล้วตัวแท่นเสียบอาจจะเป็นตัวขยายความสามารถของมือถือ อะไรต่อไปแล้วแต่จะมีเทคโนโลยีอะไรเข้ามา อาจจะเป็นเหมือนคอมพิวเตอร์เสริมความสามารถของมือถือไปเลย
ผมเชียร์ apple m1 มากๆ ตอนนี้กำลังรอให้มีโปรแกรมทยอยเข้ามาเยอะๆก่อน ถึงวันนั้น ซื้อแน่!!
+1
ผมก็เชียร์
ผมก็เชียร์
โคตรเก่งเลยพี่ อธิบายให้เข้าใจง่ายๆและสนุก เอกลักษณ์ของพี่หลามเลย
ปรบมือให้ครับ
ขอบคุณ ความรู้ดีดี
และ
เข้าใจง่าย
ขอบคุณครับ
คลิปนี้ถึงกับต้องตั้งใจฟังเลยครับ เหมือนนั่งในห้องเรียน เรื่อง cpu ขอบคุณมากครับพี่หลามที่ผลิตคลิปดีๆออกมา
อธิบายเป็นขั้นเป็นตอน ชัดเจน เป็นระบบ และเข้าใจง่ายดีมากๆ ครับ
อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ไม่ยืดยาว
สอดแทรกมุก สนุกน่าติดตาม
ขอบคุณ อาจารย์หลามครับ😁😁😁
ตัวกำหนดว่าจะเป็น architechture แบบไหน สิ่งนั้นคงจะเรียกว่า instruction set นะครับ
พี่หลาม ครับช่วยอธิบายแนวคิดการเขียน ระบบตัวโปรแกรมระหว่างหารเขียนโปรแกรมลงคอมกับเขียนโปรแกรมลงเว็บบราวเซอครับ เช่น ออฟฟิตที่เป็นตัวโปรแกรม กับ ออฟฟิตที่เป็นตัวบราวเซอครับ หรือโปรแกรมอื่นๆครับ
ขอบคุณครับ เป็นความรู้ใหม่จริงๆสำหรับ ผม แต่ตอนนี้เรารู้เท่ากันแล้วจะคุยสนุก ชอบประโยคนี้ครับ
ขอบคุณมากครับ รับรองว่าไม่คอแห้ง แบบเสียเปล่าแน่นอนคิดนี้ดีครับ
อธิบายได้เข้าใจง่ายมากครับผม
ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆ เข้าใจง่ายครับ
ขอบคุณสาระค่ะ อนาคตแอปเปิลอาจสร้างภาษา coding ในแพทเทิร์นของตัวเองก็ได้เป็น ภาษา Apple
ก่อนหน้านี้ Microsoft ก็ทำ Windows on ARM ด้วยCPU SQ1 เปิดตัวมาตั้งแต่ปี2019 ก่อน M1 ฝั่งApple แต่มีปัญหาเยอะมาก
Apple เหมือนเห็นปัญหาฝั่ง Microsoft มาพัฒนาแก้จุดที่มีปัญหาาของMicrosoft จนตอนนี้ดีกว่า Microsoft เองก็ออกCPU SQ2 มาต้นเดือนพย.ที่ผ่านมา ดีกว่าตัวเก่ามาก
จนตอนนี้เหลือแค่บริษัทโปรแกรมเฉพาะทางต่างๆเช่นAbobe ออกแบบให้รันARMให้ได้สมบูรณ์
สงสัยนิดนึงARMถ้าเอาตัวนี้มาเป็นตัวประมวลหลักแล้วเอา x86 มาเป็นตัวประมวลผลมันจะทำได้ปะทำเหมือนการ์ดจอ แบบ SLI ถ้ามันเป็นแบบนั้นแต่ถ้าเกิดเบื้องลึกไม่รู้สิแค่สมมุติเฉยๆทำคู่กันเหมือนเป็นระบบ Duoนำระบบ 2 ตัวมารวมด้วยกันหรือทำแยกแบบการ์ดจอแล้วจัดตำแหน่งชุดคำสั่งแยกเป็นชุดอันนี้สำหรับสถาปัตยกรรม Arm อันนี้สำหรับ x86แล้วส่งให้เข้าการ์ดจอให้ประมวลผลในรูปแบบคณิตศาสตร์เพื่อจะได้โชว์ภาพ
OS > Ram > ARM >{GPU} ASCII > Ram > x86 > GPU = X
ป๋าเต็ดอธิบายได้ดีมากครับ
ถึง ARM จะดูดีกว่า มีอนาคตที่ดีกว่า x86 ในตอนนี้ แต่ตัว CPU x86 ถึงจะกินไฟเยอะ ก็สามารถถอดรหัสคำสั่ง ARM ได้เหมือนกันนะครับ แถมทำงานได้ค่อนข้างดีเลยด้วย แน่นอนว่า ARM ก็รันได้ แต่ถ้าจะให้รันชุดคำสั่ง x86 จริง มันยังดูหนักไป
ที่มันหนักไปเพราะ cpu ARM มีขนาดเล็กมากเพราะต้องใส่ใน มือถือ แทปเล็ต แต่ข้อจำกัดมันจะหายไปเมื่อมาใส่ใน notebook pc ซึ่งขนาด cpu ใหญ่กว่ามาก นั่นคือ สิ่งที่เขากำลังทำเพราะ สถาปัตยกรรม risc มันไม่ได้ช้าหรือไม่แรงนะครับเข้าใจซะใหม่ ไม่เกี่ยวเลย ความแรงอยู่ที่การออกแบบชิปต่างหากล่ะ จำนวนทรานซิสเตอร์ จำนวน core การออกแบบชิป ซึ่งข้อจำกัด cpu ARM ที่ผ่านมาคือขนาด เพราะมันถูกบังคับให้อยู่ในอุปกรณ์ที่กินไฟน้อย แต่มันมี supercomputer ที่ใช้สถาปัตยกรรม risc ด้วยนะ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า เรื่องสถาปัตยกรรม risc มันไม่ได้แรงน้อยกว่าเลยตรงข้ามมันทำงานได้รวดเร็วกว่าด้วย ดังนั้นถ้า cpu ARM มีขนาดใหญ่ขึ้น มันก็แรงขึ้นได้ไม่ยากเลย
ผมไม่ได้พูดถึงขนาดครับ CPU ARM ผมไม่ได้บอกว่ามันไม่แรง ผมแค่บอกว่ามันยังหนักไปสำหรับ CPU ARM เพราะคำสั่งของ x86 มันซับซ้อน นั่นเป็นสาเหตุที่ว่า ทำไม CPU ARM ถึงมี Core Thread เพิ่มขึ้นมาเร็วกว่า CPU x86 ขนาดตัว A64FX 1 Core ก็มี 4 Threads แล้ว แล้วก็ CPU x86 ก็สามารถทำชิปเล็กเท่า ARM และแรงเท่ากันได้นะครับ ไม่เกี่ยวกับขนาด
ผมสงสัยเรื่องการทำงาน cpu มานานมากกก แล้ว ขอบคุณครับ
ข้อมูลแน่นมากครับพี่หลาม
จริงมากคับ
วันนี้ mac OS ลงมาหา iOS ได้ สุดยอดไปเลยครับพี่หลามผมชอบทฤษฎีของแอปเปิ้ลมากๆเลย
สุดยอดครับ ep ต่อไปอยากให้ทำเรื่อง หลักการของ application ครับ
พี่หลามอธิบายเข้าใจง่าย แถมตลก ไม่น่าเบื่อ
ฟังสนุก ดี คะ ขอบคุณมาก คะ ติดตาม แล้ว นะคะ
ฟังคลิปนี้ นึกถึงตอนเรียนในคลาส วิทยาการคอมพิวเตอร์ปี1 เลย 😅😅😅...ขอบคุณครับ😊😊
สงสัยครับ จัดไปแบบ paraell ไม่ได้เหรอครับ , เหมือนเอามือถือมาใส่ในคอมเลย
ยังไง x86 ก็ยังอยู่ดีเหมือนเดิมนั่นแหละครับ จะ 10 ปี 20 ปี 30 ปี ก็เหมือนเดิม แค่จะแยกกันชัดเจนมากขึ้น และจะเห็นว่า Apple ผูกขาดมากขึ้น
ชอบดู ได้ความรู้หลายๆอย่างที่ไม่รู้
แม้จะเป็นเกร็ดเล็กๆที่ไม่เคยนึกถึง
อยากสอบถามครับแบบนี้ควรเลือก cpu ใดดี ในการเลือกซื้อ note book สำหรับงานด้าน AI หรือ DIP ครับ เพราะเห็นว่าของ amd ใช้เทคโนโลยีสเกลทรานซิสเตอร์ที่ 7nm แต่ของอินเทลยังตันที่ 10nm แบบนี้ควรจะเลือกซื้อ note book ค่ายใดดีครับจึงจะได้ประสิทธิภาพมากที่สุดครับ
ขอบคุณครับ พี่เอาความรู้ใหม่ๆมาอธิบายให้เข้าใจง่าย ชื่นชมจากใจ FCพี่หลามครับ 😍😍😍
ผมเข้าใจถูกไหมครับ ว่า x86 มีบริษัทที่สามารถขายได้แค่ 2 บริษัท คือ AMD กับ Intel แต่ arm ใครๆก็สามารถมาซื้อไปผลิตหรือพัฒนาต่อได้
X86 คนถือสิทธิบัตรคือ Intel กับ AMd ซึ่งคิดค้นด้วย ผลิตขายเองด้วย
แต่ ARM คือบริษัทที่คิดค้นสถาปัตยกรรมภายในแล้วขายพิมพ์เขียวให้บริษัทอื่นนำไปใช้ ไม่ได้ผลิตเอง
ขอเพิ่มเติมหน่อยนะครับ เรื่อง x86 ที่พึ่งมีหลายคอร์ จริงๆแล้วมันทำหลายคอร์มานานแล้วครับ เพียงแต่รุ่นหลายคอร์มันเป็น cpu ออกมาในแนว workstation ครับ ไม่นิยมเอามาใช้งานในคอมบ้านทั่วไป ถ้าไม่ใช้เฉพาะงานจริงๆ
ผมว่าความต่างอยู่ที่หน้าจอครับ ขนาดคนสายตาเรายังต้องหลับต้องนอนเลยครับ
ขนาดคนยังต้องเปลี่ยนกะตอนทำงานเลยครับ
พี่หลามอะธิบายได้เข้าใจมากครับ
ตอนนี้ดู RISC V กับ ARM ครับ สงครามการค้า ระหว่าง จีน กับ อเมริกา
เจ๋งๆครับ!!ขอบคุณมากๆ!!สำหรับความพยายามสื่อสารแบบง่ายๆในเรื่องที่เข้าใจยาก
ขอบคุณครับพี่ เสพความรู้ มีแต่ได้กับได้ ใครคิดเหมือนกันรวมกันตรงนี้ครับ
เริ่มติดตามตั้งแต่ ep1 จนถึง ep5 สนุกมาก ได้ความรู้มากครับ รักช่องนี้เลยครับ 🥰❤️☺️
พี่หลามเล่าได้มัน สะใจมากครับ
เข้าใจงายจริงๆครับ เป็นเรื่องที่ผมไม่เคยรู้ก่อนครับชอบมากครับ
แล้วเป็นไปได้ไหมครับ ว่า chromebook จะเป็น concept เดียวกับที่ Mc จะทำ
เพราะถ้าทำได้ ecosystem ของ android จะมาหมดเช่นกัน และถ้า app พวก office บน Android มี ค.สามารถ ทำแทน บน pc หรือ notebook ได้
ผมว่า windows มีหนาวๆร้อนๆ
X86เหมือนเคยลงมาเล่นมือถือน่ะครับ จำได้ลางๆ asus zenfone ที่ใช้intel ตัวไหนจำไม่ได้แล้ว
แต่จำได้ว่าไปไม่สวยเท่าไหร่ แบตหมดไวเกิ้ร
ขอบคุณมากครับพี่หลาม เข้าใจมากขึ้นแล้วครับ สุดยอด
ภาพบนจอ สุดยอดครับ สีสวยมาก
เนี้อหาเยี่ยม
คอมพิวเตอร์ก็มีเครื่องจำลองโทรศัพท์ไว้เล่นหรือพัฒนาแอพต่อ แต่ความสามารถของเครื่องจำลองนั้นมันแย่กว่ามาก สำหรับทำไมมือถือมีแอพมากกว่า เพราะมือถือใช้ในชีวิตประจำวันตลอดเวลาคนพัฒนาโทรศัพท์ได้รายได้ในการพัฒนาแอพมากกว่า ส่วนใหญ่มาจากโฆษณา พอมาเขียนโปรแกรม ก็มี crack ไม่สนับสนุนผู้พัฒนา เขียนในโทรศัพท์ใช่ว่าจะไม่มีการ download ฟรี มันก็มีวิธี ข้อได้เปรียบในการเขียนโปรแกรมในโทรศัพท์คือหาเงินง่าย ถึงจะฟรี แต่ก็มีการซื้อขายในแอพแทน ไม่ก็เขียนเกมส์กากๆ แต่เล่นเพลินๆ ไม่ผ่านเอาโฆษณามาล่อให้เล่นง่ายขึ้น เรื่อง cpu จำนวนคอร์มากกว่า จริงๆ แล้วคอมไม่ได้ต้องการคอร์มากขนาดนั้นสำหรับการใช้งานของบางคน ให้มาเท่านี้ก็ใช้ไม่หมด ณ เวลานั้นนะ การที่เขาให้ ram cpu rom อะไร ต่างๆ มาก มันไม่ใช่ข้อดีของผู้ผลิต เพราะ เขาจะขายของไม่ได้ เมื่อก่อน โทรศัพท์ 5 ปี 7 ปี เปลี่ยนความทนทานดี เขาขายยาก เขาเลยค่อยๆ เพิ่มประสิทธิภาพมาทีละเล็กน้อยแต่ค่อยๆ เพิ่มฟิวเจอร์ให้ตื่นตาตื่นใจ สำหรับโทรศัพท์ 1 เครื่องเอาให้มันดีไปเลย แล้วคอยเปลี่ยนรอมเอาให้ทันสมัยใช้ได้ 5-7 ปีพอมาเปลี่ยนอีกที Wow ทันทีเลย
พี่หลามย่อย x86 กับ arm มาเล่าให้ฟังแบบเข้าใจง่ายมากกกกก สุดยอดจริง ๆ
ไม่ใช่ครั้งแรกที่ Apple จะกลับไปใช้ CPU สถาปัตยกรรมแบบ RISC
- ถ้าย้อนกลับไปช่วงปี 1994 Apple ได้ทำ Mac OS 7 (System 7.1.2) เพื่อซัพพอร์ต CPU PowerPC 601 ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง Power Macintosh 6100
- และย้ายกลับไปอีกครั้งปี 2006 ได้ทำ Mac OS X Tiger (10.4) หันกลับไปใช้ CPU Intel’s Core 2 Duo ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ CISC ในเครื่อง iMac (Late 2006)
- และก็ย้าย (อีกแล้ว) ในปี 2020 ได้ทำ macOS Big Sur (11.0) ไปใช้ CPU Apple M1 (ซื้อแบบ Core CPU จาก ARM) ที่เป็นสถาปัตยกรรมแบบ RISC ในเครื่อง MacBook Air , MacBook Pro และ Mac Mini
555 พี่หลามอธิบาย OS แต่ไม่ใช่ X86 command มี CISC 1 command แปลงเป็นหลาย RISC สุดท้ายก็มี 1 command ต่อ 1 execute เหมือน ARM
สุดท้ายมันก็เรื่อง ลิขสิทธิ์ และการตลาด
ฟังพี่หลามสนุกทุกตอนคับ
พี่หลามอธิบายได้เข้าใจง่ายกว่า ในห้องเรียนอีกครับ รู้เรื่องเลย
พี่หลามทำนายไว้วันนี้ ipad มาใช้ชิพของ ARM แล้วครับ
แรมไม่ได้ส่งคำสั่งไปที่ CPU แต่CPU เอาข้อมูลไปเก็บที่แรม และเรียกใช้ ผมเข้าใจว่าแรม มีหน้าที่เก็บไว้เฉยๆ ทุกอย่างเข้าออก cpuเป็นผู้จัดการ
apple เคยมีประสบการณ์การย้าย platform มาครั้งหนึ่งแล้วสมัย mac ใช้ cpu ของ moto มาใช้ cpu ของ intel (x86) เลยมีคนเอา notebook ที่ออกแบบสำหรับ windows เอา mac os มายัดลงไปและทำงานได้ อีกอย่างการเอา สถาปัตยกรรมรุ่นทวด มี H/D แค่ 30 m ใช้งาน เทียบกับรุ่นเหลน แล้วมาบอกว่าดีกว่า เอา discrete ic มาเทียบกับ 7 nano chip ได้ไง
อะิบายเข้าใจง่ายและสนุกมาก
ชอบมากๆคะ เป้นกำลังใจให้นะคะ
ขอบคุณพี่หลามที่นำมาทำคลิปอธิบายให้ฟัง ถ้าให้ไปศึกษาเองคงเลิกตั้งแต่แรก ดูคลิปนี้แล้วเข้าใจมาขึ้นอีก 1 ขั้น
Surface Pro X ใช่ Microsoft® SQ1™ ก็เป็น ARM มาตั้งแต่ปีที่แล้วครับ
ได้ความรู้มากเลย ขอบคุณครับ👍
ถ้าไม่ใช้ภาษา c ก็เป็นpytonหรือbasicครับ
ผมว่าที่ MS ทำไม่ได้ ไม่อยากทำเพราะ kernel ไม่ใช่ linux ต้องเขียนใหม่ยกยวงหรือเปล่า
ถามหน่อยค่ะ ถ้าซื้อแมคบุ๊คเครื่อง M1 จะยังลง bootcamp เพื่อใช้ windows ได้อยู่ไหมคะ
ไม่ได้ ms ไม่ยอมต้องใช้ผ่านโปรแกรมจำลอง
เป็นวีดีโอที่มีคุณค่ามากครับ สาระมาเต็ม
Win 11 ที่ อ่านด๋อย ได้ นี่เหมือนกันมั๊ยครับ
intel เคยเอา CPU ตัวเองมาลง Mobile และเป็น x86 ตอนนั้นน่าจะ intel atom ส่วนตัวคิดว่าดีพอสมควรเลย
จำได้ว่าสมัยก่อนช่วงวิน8ใหม่ๆมีความคิดก้าวข้ามไปแล้วคือ Asus Transformer window8+andoirdในตัวสุดท้ายโดนmicrosoftสั่งห้ามลงและห้ามผลิตแบบนี้อีก เลยไม่ได้เกิดในนั้นแล้วทำให้เกิดemulator andoridขึ้นมาอย่างnox bluestackพวกนี้
จำได้แม่นเลยอยากได้asus transformer window8+andoridเพราะ มันall in oneจบในเครื่องเดียวแล้ว สุดท้ายมันหายไปไหนไม่รุ้มันแล้วไม่โผล่อีกเลย
กลับมาฟัง รอบที่ 2 ครับ
ชอบมาก
เป็นกำลังใจให้พี่ครับ
สวัสดีครับผมมาจากโลกอนาคตพี่วิเคราะห์ได้แม่นมากครับ มันดีมากจริงๆ
ส่วนตัวผมเป็นคนเล่นแต่คอม ไม่ก็โน๊ตบุ๊ต จะถ่ายรูปก็ใช้กล้อง DSLR แล้วเมื่อเร็วๆนี้ ผมขายโน๊ตบุ๊คก็ไม่มีอะไรเล่น กล้อง ก็ส่งไปซ่อม สรุปเหลือแต่ตัวกะมือถือ นอนเล่นมือถือทั้งวัน ก็ได้รู้สึว่า เออ มือถือนี่ก็ทำอะไรได้เยอะดีเนอะ 555+ แต่สุดท้ายผมก็ชอบความเป็น PC มากกว่า
ชอบเข้าใจง่ายดีครับ
เอ่อ เล่าได้เข้าใจได้ง่ายๆดี แต่ว่า1 instruction มันlow level กว่าเรื่องตัวอักษรมากไป ขอบคุณนะครับ
ok เข้าใจแจ่มแจ้งเลยครับ ขอบคุณจริงๆ