ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
สนุกมากเลยค่า อิจฉาญี่ปุ่นตรงที่เรียนโรงเรียนแถวบ้านได้เลยเพราะเท่าเทียมกันทั่วประเทศ ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางตื่นเช้า TT เด็กไทยนี่ต้องตื่นกันตั้งแต่ตีสี่ตีห้าเพื่อไปเข้าแถวเจ็ดโมงครึ่ง เสียเวลาชีวิตมากกรอดูพาร์ทแต่ละวิชานะคะะ
โดยส่วนตัวมองว่าสายที่แยกไปให้คล้ายแต่ละคณะยังไม่ค่อยเหมาะกับบริบทไทย ณ ปัจจุบันอยู่ดีค่ะ เพราะสุดท้ายแล้วระบบการสอบเข้ายังเป็นระบบที่ข้อสอบคัดเลือกเหมือนกันหมดในกลุ่มสาขาคณะที่ใกล้เคียงกัน การจะไปเน้นแค่ไบโอ เน้นแค่ฟิสิกส์แบบนี้ดูจะยังไม่ค่อยเวิร์กเท่าไหร่นัก ส่วนเรื่องรับจำนวนเด็กจำกัดในไทย อันนี้ไม่แน่ใจว่าจะเป็นเหตุผลนี้หรือเปล่าเพราะตัวเองเรียนโรงเรียนที่อยู่ยาวๆ ป.1-ม.6 เลย แต่คิดว่าน่าจะเพราะจำนวนบุคลากรไม่เพียงพอไหมคะ การที่รับเด็กจำนวนมาไปเรียนอาจจะทำให้การดูแลไม่ทั่วถึง เลยต้องจำกัดคนเข้าค่ะ
ส่วนเรื่องจำนวนนักเรียนคือพอมันเป็นโรงเรียนที่อยู่ยาว กว่าจะถึงมอปลายก็ลาออกไปหมดแล้วค่ะ 55555ตอนมอต้นมีประมาณ 40 คน แต่พอมอปลายก็เหลือ 30 คนค่ะ
อีกแขนงนึงของการศึกษาสายวิชาชีพ เช่น วิทยาลัยการอาชีพ, วิทยาลัยอาชีวะ, วิทยาลัยนาฏศิลป, วิทยาลัยในวัง ฯลฯ อันนี้จะมุ่งเน้นการฝึกวิชาชีพโดยตรงเลย ซึ่งไทยเปิดรับสมัครพนักงงานที่จบสายอาชีพเยอะมาก แต่คนไทยไม่ค่อยให้ความสำคัญเท่าสายสามัญ กลับไปมุ่งเน้นจบ ม.6 ต่อปริญญาตรีมากกว่า ส่วนตัวแล้ว อยากให้คนไทยเข้าใจว่า สายอาชีพนั้นมีความสำคัญมากต่อตลาดแรงงาน ทั้งด้านการท่องเที่ยว และการผลิตในอุตสาหกรรม ที่รองรับคนที่มีฝีมือที่ผ่านการอบรมจากสถาบันต่างๆมาแล้ว มากกว่าจะให้รอแรงงานต่างด้าว ที่ต้องปรับทั้งภาษาและสอนงานใหม่ทุกอย่าง แถมโอกาสในการเลื่อนตำแหน่งก็ชัดเจนกว่า แต่คนไทยน้อยนักที่จะทราบเรื่องนี้
จริงค่ะ เราเรียนสายอาชีพด้วย(เรียนสายภาษา) ได้ไปฝึกงานที่โรงแรม ปวช.1ครั้ง ปวส.1ครั้ง ถ้าเราทำงานดีที่ฝึกงานจะยื่นข้อเสนอมาให้เข้าทำงานเลยก็มีค่ะ แล้วก็ยังมีโรงเรียนต่อเรืออันนี้น่าสนใจมากๆ เรียนเกี่ยวกับการช่าง เทคนิค โลจิสติกส์ เคยได้ยินมาว่ามีไปฝึกงานที่ต่างประเทศด้วย โหดมาก
คลิปนี้ยังไม่ได้พูดถึงสายอาชีพงับ ที่ญี่ปุ่นก็มีเหมือนกัน เดี๋ยวยังไงขอบีมไปศึกษาวิจัยก่อน แล้วจะมาพูดเรื่องสายอาชีพบ้างน้าาา
ที่ม.ต้นของไทยต้องสอบเข้า คงเพราะมันรวมกับม.ปลาย และส่วนใหญ่โรงเรียนมักจะให้สิทธิ์นักเรียนโรงเรียนเก่าขึ้นม.ปลายมากกว่าเด็กนอก เขาเลยคัดตั้งแต่ม.ต้นเลย
ชอบคอนเทนต์แบบนี้มากเลยคะ ข้อแตกต่างระหว่างไทยและญี่ปุ่น น่าสนใจที่สุด☺️☺️
ขอบคุณนะคะ รอดูคอนเทนต์ต่อไปน้า
ไม่คิดว่าตัวเองจะมารอดูอะไรแบบนี้มาก่อนเลย ตื่นเต้นมากเลยค่ะ ชอบคอนเทนต์นี้มากๆเลย สนุกๆ ได้ความรู้และความบันเทิงไปพร้อมๆ กัน รอคลิปต่อๆ ไปเลยนะคะ
ขอบคุณมากนะคะ อ่านเม้นต์นี้ดีใจมาก น้ำตาคลอเลยแงงงงงงงง TTT
@@BeamSensei คอนเทนต์แบบนี้สนุกจริงๆ ค่ะ ชอบที่มีการแต่งตัวสร้างสีสันบรรยากาศตามธีมด้วย รอคลิปต่อๆ ไปเลยนะคะ
@@BeamSensei ชอบม้วกกกกเลยค่ะเดี๋ยวจะมาติดตามคลิปต่อๆไปนะคะ♡私はそれがとても好き♡เราไม่รู้ภาษาญี่ปุ่นแต่ยังไงก็ชอบค่ะ นี่แปลเอา^^
今日のbeamSenseiのTH-camでタイと日本の教育制度の違いの特集を見ていろいろと勉強になりました。ありがとうございます。タイの学校のことも知れてためになりました。次回のbeamSenseiのTH-camを楽しみにしています。
มานั่งนึกอิซากะตอนเจอกับคุณบีมใหม่ๆพูดไทยไม่ชัดพูดได้นิดหน่อย มาฟังตอนนี้คือแบบ ต่างกันมากจ้าาาาา เก่งมากเลย นึกแล้วยังรู้สึกน่าชื่นชมทุกที
ชอบคอนเทนต์แบบนี้มากค่ะ ได้เห็นความแตกต่างไทยและญี่ปุ่น รอขมคลิปต่อไปอยู่นะคะ
ขอบคุณนะคะ
หนูเรียนครูแล้วได้เรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาญี่ปุ่น ชอบมากๆเลย ตอนนี้คิดว่าจะไปเรียนต่อที่ญี่ปุ่นด้วย อยากไปเรียนรู้จริงๆนะคะ ชอบมากๆ
ตอนนี้น่าจะห้องละ 40 ได้แหละค่ะ แบบเฉลี่ย เพราะอัตราการเกิดของคนไทยน้อยลงเยอะมากค่ะ (ปีที่แล้วเด็กไทยทั้งประเทศเกิดแค่สามแสนคนเองค่ะ) เราน่าจะรุ่นๆใกล้ๆกับคุณบีม ห้องสมัยมัธยมคือประมาณ 60 คน
เรียนเอกชนตอนประถมค่ะ เขาแบ่งเป็น EPกับห้องธรรมดาค่ะ ซึ่งอีพีจะเรียนกับต่างชาติห้องมีแอร์ไรทำนองนี้ พอขึ้นมัธยมอยู่รัฐอยู่ห้องgifted วิชาเรียนก็คล้ายๆห้องธรรมดาที่แตกต่างคือห้องมีแอร์ กับเรามีเรียนคาบ9ค่ะ(เรียนเสริมวิชาห้องแล็บ) ที่รร.เรามีแบ่งเป็นห้องกิ๊ฟ อีพี(เรียนกับต่างชาติเหมือนที่ในคลิปบอก) ไอพี(เรียนหลากภาษาค่ะ คือจะมีพวกภาษาที่สามสี่ไรงี้ ขอกระซิบว่าค่าเทอมแพงมากอยู่นะคะ) ห้องธรรมดา(ก็มีคิง ควีนนั่นแหละค่ะ เขาไม่ได้บอกแต่รู้กันเอง) ส่วนม.ปลายห้องกิ๊ฟบางวันเรียนถึงสิบคาบเลยก็มีค่ะ ที่รร.ไทยสมัยนี้คือแต่ละห้องมีน่าจะไม่เยอะเท่าสมัยก่อนค่ะ ขอบอกเลยค่ะว่าถึงจะมีเรียน9-10คาบ แต่เด็กบางคนก็มีเรียนพิเศษต่ออีกค่ะ ทำให้การเรียนของเด็กไทยคือหนักมากๆค่ะ
ขอบคุณที่มาแชร์กันน้า จริงด้วย มีห้องมีแอรฺ์กับไม่มีแอร์ เข้าใจนะว่าค่าเทอมมันไม่เท่ากัน มันก็เลยออกมาเป็นแบบนี้ แต่แบบว่า พอเห็นแล้วใจมันหดหู่ยังไงไม่รู้อะ แง้
ชอบคอนเทนต์มากเลยค่าาา ฮือออ คิดถึงโรงเรียนเก่ามาก55555 (ตอนนี้จบแล้วจ้า)อันที่จริงเรื่องโรงเรียนไทยบางที่ก็อาจจะไม่เหมือนกัน อย่างโรงเรียนเก่าเราเป็นโรงเรียนเอกชน ม.ต้นกับม.ปลาย จะอยู่ด้วยกัน (โดยโรงเรียนเก่าจะแบ่งเป็น 2 โซน ด้านหน้าเป็นโรงเรียนฝั่งประถม+อนุบาลและเตรียมอนุบาล ส่วนด้านหลังเป็นโรงเรียนฝั่งมัธยม) ส่วนเรื่องการสอบเข้าม.ต้น โรงเรียนเราไม่ได้เน้นเนื้อหามาก แต่เป็นการสอบคัดห้องมากกว่า (ซึ่งห้อง 1 ทุกคนจะรู้ว่าเป็นห้องคิง และเราเป็นหนึ่งในนั้น 😂) รับทุกคนไม่จำกัดค่ะเรื่องพักกลางวันแล้วแต่บางคน บางคนก็กินที่โรงอาหาร บางคนก็ซื้อของมากินบนห้องไม่ก็ห่อข้าวกล่องมาเองการสอบเข้าม.ปลายโรงเรียนเราไม่เข้มงวดค่ะ เหมือนเป็นการทบทวนเนื้อหาจากม.ต้นมากกว่า (ใครอยากเข้าสายไหนเข้าได้เลย) ส่วนการรับคนเพิ่มนั่นทางนี้รับไม่จำกัดเหมือนม.ต้น (แอบกระซิบไว้ก่อนว่าม.ปลายสอบแค่ 5 วิชา วิชาละ 20 ข้อเอง)ค่าเทอมประมาณพันกว่า บางคนจ่ายเต็ม ผ่อนเป็นงวดก็มี ของเราประมาณ 1,800 เพราะเราขับรถมาเองเรื่องการมาโรงเรียน บางโรงเรียนอาจจะมีรถโดยสารหรือรถตู้มาส่ง (ซึ่งจะบวกรวมกับค่าเทอม) บางคนขับรถยนต์/มอเตอร์ไซค์มา บางคนก็ผู้ปกครองมาส่งส่วนเรื่องชมรมที่โรงเรียนเราเน้นฝึกซ้อมอย่างมากโดยเฉพาะวงดนตรี/ดุริยางค์ไม่ก็วงกลองยาว (เกือบเหมือนชมรมของญี่ปุ่น)เราเรียนศิลป์-ภาษา(ญี่ปุ่น จีน อังกฤษ)มานะ แต่จบมาเป็นเด็กคอมฯ นี่คือคนละขั้วเลย555อยากรู้ว่าที่ญี่ปุ่นมีระบบการเรียน ปวช./ปวส. เหมือนที่ไทยไหม เพราะตอนนี้เราเรียนปวส.อยู่อ่ะค่ะ
โรงเรียนเทศบาลแถวบ้าน มีสามแห่ง แต่งตัวเหมือนโรงเรียนคอนแวนจ้า แขนยาวผูกไทด์ มีตั้งแต่อนุบาลถึง ม.3
คือที่ญี่ปุ่นกับไทยต่างกันตรงที่การเข้าทำงานรึเปล่าคะ คนญี่ปุ่นทำงานในบริษัทหลังจากจบมัธยมปลายได้เลย แต่ที่ไทยส่วนใหญ่ต้องจบปริญญาตรีตามสายที่ตัวเองเรียนมาค่อยทำงานในบริษัท
ชอบมากๆเลยครับ ได้รู้ถึงการศึกษาของเขา เหมือนได้รับรู้วัฒนธรรมของเขาด้วย อีกอย่างนึงน่ารักทั้งคู่เลยครับผม
ขอบคุณมากเลยค่า
@@BeamSensei รอติดตามอีกหลายๆคอนเท้นท์เลยนะครับ✌️
เคยเรียน MEP(mini english program)ตอนม.ต้น ร.ร.รัฐบาลตจว.ค่ะ ต้องสอบเข้า เป็นห้องเรียนประจำค่ะ มีแอร์ ไม่ต้องเดินเรียนวิทย์ คณิต อังกฤษ สอนเป็นภาษาอังกฤษ จะใช้ตำราเรียนของอังกฤษทั้งหมดเลยค่ะ ตามในคลิปเลย ส่วนวิชาอื่นก็ครูคนไทยสอนค่ะใช้หนังสือต่างประเทศ ไม่ได้ใช้หนังสือศธ. หลักสูตรก็จะช้ากว่าโปรแกรมปกติ ต้องหาเรียนพิเศษเพิ่มอยู่ดี จะได้สอบonetตามภาคปกติได้😅ค่าเทอมถือว่าแพงค่ะ 18xxx฿ (ราคาสมัย255x ต้นๆ)เรียนจบก็จะได้เกียรติบัตรจบการศึกษาMEPด้วยค่ะ
อยากให้พี่บีมทำคลิปสำนวนสุภาษิตไทยกับญี่ปุ่นอีกค่ะ ชอบมากเลย💕
ได้จ้า รอก่อนน้า ขอบคุณมากเลย
ดูสนุกมากครับ เห็นด้วยเรื่องความเท่าเทียมของมาตรฐานการศึกษาภาคบังคับครับ ที่ไทยเรายังขาดในจุดนี้ ทั้งๆที่การศึกษาภาคบังคับเป็นสิ่งที่สำคัญในการปูรากฐานเพื่อเพื่อการศึกษาขั้นต่อไป เด็กๆควรจะได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานเดียวกันไม่ว่าจะอยู่โรงเรียนไหนก็ตาม
++1000%
รร.ผมเคยเรียนแบ่ง 3 สายครับ วิทคณิต ศิลภาษา เเละกีฬาอาชีพ
12:54 จริงค่ะ ห้องเราแต่ก่อนมี40คนจริงๆ แต่ตอนนี้เหลือแค่36คนเองนะ เพราะมีคนย้ายออก
5:18 ส่วนตัวนะคะ เราเรียนโครงการEnglish Programของรัฐบาลไม่แน่ใจของเจ้าอื่นเรียนเป็นอังกฤษหมดเลยมั้ยจากที่เราเรียนมาเราเรียน ภาคอังกฤษ + ภาคไทย รวมด้วยกันก้อจะเป็น18วิชา เพราะว่าเรียนจีนด้วย 🥲 ส่วนค่าเทอมเราประมาณ18000ค่ะ แต่ช่วงเข้ามาใหม่ต้องซื้อMacด้วยเลยเป็นแสน ตอนนี้หมดตัวหมดตังค์แล้วค่ะ😂🥲
ถ้าขึ้นรถไฟช่วง บ่ายสามครึ่ง ถึงสี่โมง จะเจอเด็กนักเรียนญี่ปุ่นขึ้นรถไฟกันเยอะมาก แล้วเสียงอย่างดัง คุยกัน โดยเฉพาะสายที่ใกล้ๆโรงเรียน ใครบอกว่ามีระเบียบ คือ ไม่เลย คุยกันดังมากกกก
ม.ปลายที่ไทยก้อแบ่งออกเป็น2ประเภทเหมือนกันค่ะ มีแบบสายสามัญกับสายอาชีพ ค่ะที่เรียกว่า ปวช.ค่ะก้อจะเริ่มทั้งแต่ม.4ค่ะ
คุณบีมใส่ชุดนรได้เนียนมากเกิ้นนน ดูไปพักนึงเพิ่งนึกได้ว่า อ้าว นั่นชุดนรหญิง ดูเนียนมาก 😊👏 รูปอิซากะตอนม.ต้นกับม.ปลายคือน่ารักมาก ดูทะเล้นๆ ตั้งแต่เด็ก 😂👍
อิอิ เขิน
หนูอยู่ห้องกิฟท์วิทย์ม.1(ที่ไม่มีแอร์TT) หนูเรียน9คาบทุกวันและเริ่มเรียนตั้งแต่8:15ซึ่งวิทย์เสริมที่หนูเรียนมันอยู่ในเนื้อหาม.4😵
เรื่องของเนื้อหาที่อยากให้ทุกที่ทุกห้องได้เรียนเท่ากะน เข้มข้นเท่ากัน เป็นอะไรที่อยู่ในอุดมคติมากๆ ค่ะ เพราะความสามารถในการรับสารหรือรับความรู้ของนักเรียนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ไม่เท่าเทียมกัน ในหนึ่งห้องเรียนคนนึงเข้าใจที่ครูอธบายไปตั้งแต่ครั้งแรก ส่วนอีกคนพูดย้ำแล้วย้ำอีก เปลี่ยนมุมมองหรือวิธีอธิบายเขาก็ยังไม่เข้าใจ จะให้เด็กที่เรียนรู้ได้เร็วกว่ามานั่งรอเด็กที่เรียนรู้ช้าอยู่เป็นประจำ จะทำให้เด็กเบื่อและไม่อยากเรียนในที่สุดค่ะ ที่พูดอย่างนี้เพราะเราเคยอยู่จุดนั้นมาก่อนส่วนเรื่องสภาพแวดล้อมของโรงเรียนแต่ละที่ก็ไม่เหมือนกัน ซึ่งก็มีส่วนทำให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนนั้นไม่เท่ากันตามไปด้วย
การศึกษาแบ่งได้ 2 แบบการศึกษาในโรงเรียน และการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ส่วนสายการเรียนแบ่งเป็น สายสามัญ กับ สายอาชีพ ซึ่งในต่างประเทศ ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นการเรียนการสอนแบบสายอาชีพ (vocational) มากกว่า ในประเทศญี่ปุ่นก็เน้น vocational เช่นกันรูปแบบของโรงเรียนนอกจาก รัฐบาล เอกชน แล้วยังมีอีกประเภทคือ อินเตอร์ ซึ่งหลักสูตรจะแตกต่างกับ 2 รูปแบบแรกโดยสิ้นเชิงขอตัวอย่าง โรงเรียนรัฐบาลของไทย มีรูปแบบการเรียกค่อนข้างซับซ้อน เช่น โรงเรียนเทศบาล โรงเรียนกีฬา แผนการเรียนม.ปลาย บางโรงเรียนแบ่งเป็น วิทย์-ถาปัตย์ วิทย์-สาธารณสุข อะไรแบบนี้ด้วย -- ยิ่งเขียนยิ่งมึน -- 😅
โรงเรียนรัฐบาลของไทย (ที่เป็นโรงเรียนสายสามัญ) ก็จะแยกออกเป็น 2 หน่วยงานที่สังกัด คือ กระทรวงศึกษาธิการ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กทม. เมืองพัทยา อบจ. เทศบาล อบต.) เคยคิดที่จะทำเป็นโรงเรียนรัฐบาลท้องถิ่น โดยจะทำการถ่ายโอนโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ทำให้ครูหลายคนไม่เห็นด้วยเพราะไม่อยากทำงานภายใต้นักการเมือง มีการประท้วงถึงขั้นกรีดเลือดกรีดเนื้อกันเลย ปัจจุบันก็มีการแก้กฎหมายให้ถ่ายโอนโดยความสมัครใจแทน
ขออนุญาตนอกเรื่องจากการศึกษานะคะ😅 พี่บีมหน้าเด็กมากค่ะ มากแบบม๊ากกกกกกกกก มากแบบตะโกน😂 หลังจากดูมาหลายคลิป หน้าตาเหมือนเดิมเลยค่ะตั้งแต่สมัยเรียน อยากให้พี่บีมบอกวิธีดูแลตัวเองกับสกินแคร์รูทีนจังเลยค่ะ❤
สมัยก่อน โรงเรียนรัฐบาล จะมีโควต้าบ้านใกล้โรงเรียนหรือเรียกว่าเด็กในพื้นที่ ไม่ต้องสอบเข้า แต่ถ้าเด็กนอกพื้นที่อยากเรียนก็ต้องสอบเข้าเพราะมีโควต้าจำกัดจำนวนคน ถ้าเกินก็จับฉลาก แต่ส่วนใหญ่จะรับหมด หรือโควต้าผู้อุปการะคุณโรงเรียนเอ่อเสริมนิดนึง บางโรงเรียนเขาสัมภาษณ์พ่อแม่นะ ถ้าไม่ผ่านเขาไม่รับ
เราเรียนโรงเรียนประจำจังหวัด รร.มีห้องพิเศษกับห้องปกติ สอบเข้ามอหนึ่งคือแข่งขันกันดุเดือด มีแบ่งรับเด็กในเขตกับนอกเขตเหมือนกัน คนสมัครเยอะมาก ม.1 เทอม 2 (ห้องปกติ) จะมีให้เลือกแผนการเรียน วิทย์คณิต ศิลป์ภาษา พอมอปลายจะมีโควต้าให้เด็กที่เรียนมอต้น(ส่วนใหญ่เรียนยาวๆ6ปีเลย) คนที่เลือกสายศิลป์คือไม่ต้องสอบ แต่คนที่เลือกสายวิทย์คณิตต้องสอบคัดห้อง และที่เหลือคือรับเด็กข้างนอกแต่รับน้อยมากไม่ถึง 100 คน ห้องพิเศษมี smte sme ep ilp(มอปลาย) ต้องสอบเข้าทุกคน รร.เรามีแอร์ทุกห้องยันห้องน้ำเลยจะไม่มีปัญหาพรีเลจระหว่างห้องพิเศษกับห้องปกติ ห้องพิเศษรร.เราจะเป็นวิทย์คณิตหมดเลย มีแต่ ilp ที่เป็นห้องพิเศษสายภาษา รร.เรามีห้องอีสปอร์ตด้วย ใครสนใจก็มาสอบได้นะคับ สังคมในรร.ดีเลยแหละ ความพร้อมของรร.ดีสุดๆ อุปกรณ์ห้องเรียนอาคาร มีแต่คนตึงๆสวยหล่อ @รร.อดีตหญิงล้วนประจำจังหวัดสุรินทร์5555
ผมว่าพี่ลืมพูดถึงสายอาชีพไปนะคือรร.รัฐจะเป็นสองแบบคือถึง ป.6 กับ ม.3ตามที่พี่ว่า คือสายการเรียนน่าเริ่มเลือกกันตั้งแต่จุดนี้ตอนที่จบ ป.6 จะเห็นว่ามีนร.ส่วนนึงที่เลือกเรียนให้ถึงม.3จากรร.รัฐเท่าที่เห็น นร.เหล่านี้ค่อนข้างจะไปต่อในสายอาชีพโดยตรงเช่นเทคนิคหรือพานิชเเละอาจไปต่อจบถึงปวส.เลยจะมีส่วนน้อยที่แยกมาเข้าม.ปลาย ต่างจากเด็กที่เลือกสายมัธยมที่ออกจะไปเข้ามัธยมที่มีถึงม.6 ตั้งแต่ม.1เลยเเละเรียนยาวไปถึง ม.6 จนถึงจบมหาลัย ผมอิงจากตัวผมและเท่าที่ผมเห็นมานะ
ของเราอยู่รร.รัฐที่นึงมันรวมทั้งม.ปลายแล้วก็ม.ต้น มันมีหลักสูตรค่อนข้างเยอะ จะขอเรียงจากห้องที่เรียนหนักสุดแล้วกันนะคะ- smep (science math education program) ปล.ถ้าจำไม่ผิดนะคะ- talent - gifted- ep (english program)- ip (international program) อันนี้จะเป็นหลายภาษาแล้วแต่คนเลือกค่ะ เช่น จีน ไทย- would classไหนๆก็บอกของมัธยมไปแล้วขอเล่าตอนประถมบ้างนะคะที่รร.เก่าเราจะแบ่งออกเป็น2หลักสูตร คือ IEP กับธรรมดาค่ะ IEP ก็เรียนเหมือนหลักสูตรธรรมดาค่ะเพียงแต่จะมีคณิต อังกฤษแล้วก็วิทย์ที่มีครูอังกฤษสอนเพิ่มด้วยค่ะ
หนูอยู่ศิลป์-ญี่ปุ่นม.ปลายค่ะ เเต่ม.ต้นร.ร.หนูไม่มีเเบ่งสายเรียนเเบบปกติเลย เป็นร.ร.รัฐของร.9 สอบเข้ายากอยู่ค่ะเพราะคนสอบเยอะมาก ไม่คิดว่าจะได้เข้า(เพราะข้อสอบยากสําหรับคนโง่คณิตเเบบหนูมากTT) ม.ต้นก็สอบปกติ เเต่ ม.ปลายเขาก็จะให้โควต้าไม่ต้องสอบไม่กี่คนสําหรับนักเรียนเก่าที่มีเกรดดี ส่วนใหญ่ก็ต้องสอบเข้า เเละมีสอบสัมภาษณ์ด้วย เเต่นักเรียนเก่าจะได้เปรียบเพราะมีโอกาสสอบได้2ครั้ง เพราะครั้งเเรกสําหรับนักเรียนเก่าเท่านั้นสอบเเค่ไม่กี่วิชาถ้าเกี่ยวกับภาษาก็จะมีศิลป์ภาษาที่ตัวเองเลือกกับอังกฤษ เเต่ต้องผ่านครึ่งถึงจะผ่าน รอบ2คือ สําหรับนักเรียนใหม่นักเรียนเก่าก็สอบได้ เเต่เเค่สอบหลายวิชากว่า ร.ร.หนูก็จะมี วิทย์-คณิต,ศิลป์-คํานวณ,ศิลป์-ญี่ปุ่น,ศิลป์-จีน,ศิลป์-ฝรั่งเศษ,ศิลป์-เทคโนโลยี ห้องหนูมีประมาญ35คน เเต่ตอนอยู่ประถมมีตั้ง45คนน่ะ เเต่ห้องคิงหนูก็ไม่มีนะ มีเเค่ห้องวิทย์คณิต ศิลป์คํานวณ เรียนหนักกว่าห้องอื่นเฉยๆ ขนาดเพื่อนหนูก็ถือว่าเก่งคณิตยังท้อเลย เรียนหนักจริงค่ะ😅
ขอบคุณสำหรับข้อมูลที่มาช่วยกันแชร์น้าา น่ารักมาก
ช่วงประมาณปี 2539 ม.1 ยังมีการเลือกสายการเรียนนะ ยกตัวอย่าง ห้อง 1/1 ศิลปะ 1/2นาฏศิลป์ แล้วก็ไล่ไป คหกรรม อุตสาหกรรม เกษตร ธุรกิจ อังกฤษ-อังกฤษ (คณิต-อังกฤษ คณิต-คณิต)
5:22 ไม่มั่นใจว่าทุกโรงเรียนที่มีหลักสูตรepจะเป็นแบบเรารึป่าวนะคะ 😅 แต่โรงเรียนเราไม่ได้เรียนกับครูฝรั่งหมดอ่ะ แค่วิชาหลักเฉยๆ เช่น อังกฤษ คณิต วิทย์ คอม แต่วิชาภาษาไทย ประวัติ สังคม ยังเรียนเป็นภาษาไทยค่ะ
นึกถึงที่บ้านที่ลพบุรีเลย ใครจบม.ต้นจากที่อื่น เช่นจบม.3 ที่โรงเรียนพระนารายณ์ ไปเรียนต่อม.ปลายที่โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย ต้องสอบเข้า แต่ถ้าต้องการต่อม.ปลายที่เดิมก็ต่อเนื่องได้เลย
ผมชอบเรื่องการเข้าร่วมชมรมของโรงเรียนญี่ปุ่นตรงที่ มีชมรมเยอะ คนในชมรมคือให้ความสนใจมากๆ ใจรักจริงๆและได้เจอคนที่ชอบในสิ่งเดียวกัน
ตอนนี้หนูมาเรียนม.2ที่ญี่ปุ่นค่ะ มา2เดือนกำลังปรับตัวค่ะ แล้วเหนื่อยมาก พยายามอยู่ค่ะ🥲🥲🥲! !
こんにちは、こんな内容も興味があります。今はの公立学校で化学を教えています。日本とタイの学校について知りたいと思います。いつもBeamsenseiの動画を見ます。^ ^ ただ、タイの学校が見学したらうちの学校でも見てほしいです。特別な学校じゃなくて、今の学校に見学して喜んでます。ขอบคุณที่ทำคอนเทนท์แบบนี้นะคะ ไว้จะติดตามเรื่อย ๆ ค่ะ กำลังสนใจเรื่องการศึกษาของญี่ปุ่นด้วยค่ะ ได้รู้ข้อมูลดีมากๆๆ ขอบคุณค่ะ
ม.ปลายโรงเรียนที่ผมจบมา นักเรียนแต่ะห้อง20กว่าๆสำหรับสายศิล ส่วนวิท-คณิต35-40
โรงเรียนหนูมีห้องIEP\IGPตั้งแต่อนุบาล3 แล้วก็จะมีให้สอบห้องสายอื่นๆ ตอนป.3เริ่มตอนป.4-6 แล้วมีให้สอบอีกตอนป.6ขึ้นม.1-3แล้วก็สอบอีกทีตอนม.3ขึ้นม.4-6 โรงเรียนเอกชนกับโรงเรียนนานาชาติจะเป็นประมาณนี้อ่ะค่ะ
แต่ว่าตอนสอบป.4-6จะเป็นนิดๆหน่อยๆ น่าจะมีวิทย์-คณิต กับ คอม
เข้า ป.1 ก็สอบเข้าแล้วค่ะ ^^ ดูเกณฑ์ความรู้พื้นฐานของเด็ก ส่วนใหญ่ก็เรียนยาวถึง ม.6 บางคนก็ไปต่อ ม.ปลายที่อื่น สายสาธิต เตรียมฯ
รร ผม ม.ปลายก็สอบเข้านะ แค่เป็นเด็กจบ ม.ต้น จาก รร นั้นไม่ได้หมายความว่าจะได้เข้าต่อแน่นอน 100%แต่เขาจะมีสอบภายในก่อน ค่อยไปเปิดสอบภายนอก
ตอนประถมรร.เป็นรร.รัฐหนูมีจัดหังคิงห้องควีนและห้องปรกติที่จำฉลากเข้าตอนอนุบาลกับป.1ค่าเทอมประมาณหลักพัน และก็มีห้องep ด้วยต้องสอบเข้าตั้งแต่ป.1ค่าเทอมประมาณหมื่นเก้า ส่วนหนูอยู่ห้องปรกติห้องคิงค่ะ พอขึ้นมัธยมก็เข้าโรงเรียนที่เน้นวิทย์คณิตเลยไม่มีจัดห้องคิงเพราะมีห้องเรียนแค่สี่ห้องๆละ 24 คน และรร.หนูเป็นนักเรียนทุนค่ะ
โรงเรียนหนูช่วงเช้าเรียน 4 คาบ เพราะมีพัก 20 ขั้นกลาง เเละภาคบ่ายปกติเลยเรียน 3 วิชาค่ะ
12:53ไม่จริงครับโรงเรียนผมมีนร.49คน (อาจเป็นเฉพาะบางโรงเรียนครับ)
รร หนูมีศิลป์-ดนตรี ศิลป์ท่องเที่ยว ศิลป์อาชีพด้วย มันเพิ่มมาทุกปีเลยค่ะ เขาเอาครูที่สอนมหาลัยมาสอนในแต่ละศิลป์ด้วยเท่าที่ครูอธิบาย
จริงๆการแบ่ง rank ห้องเป็นข้อดี ทั้งการสอน และสังคมในห้องของเด็ก เด็กเก่งๆก็ไม่อยากอยู่กับเด็กเกเร เด็กเกเรอยู่กับเด็กเก่งก็ตามไม่ทัน
ไทย ม.4 ก็ต้องสอบเข้านะคะ ถึงจะจบม.ต้นจากที่เดิมก็ตามมมม สาธิต มศว ประสานมิตรฝ่ายมัธยม มีสายการเรียน23สาย(ถ้าจำไม่ผิด) ครูก็จะแบ่งเป็นกลุ่มสาระอยู่แล้ว เช่น ครูวิทยาศาสตร์ ก็สอนวิทยาศาสตร์ถ้าเป็นห้องวิทย์แพทย์ วิทย์วิศวะ ก็สอนเน้นวิทย์แบบนั้นๆไป มีวิชาตามสาย แต่ก็ตรงกับกลุ่มสาระของครูค่ะ
จริงๆหลังๆมานี้ จบม.ต้นขึ้นม.ปลายก็ต้องสอบเข้าอีกเพราะแต่ละโรงเรียนก็จะมีชื่อเสียงแต่ละช่วงม.ไม่เหมือนกัน อย่างโรงเรียนนี้ดังการสอนของม.ต้นแต่ม.ปลายไม่เด่น เด็กๆก็ต้องเตรียมตัวเพื่อแย่งสอบโรงเรียนเด่นๆตอนขึ้นม.ปลายอีกค่ะ ส่วนเรื่องคาบเรียน ในตารางการสอนมี7วิชา แต่พอไปเรียนจริงๆก็จะมีนัดเรียนนอกตาราง บางวันก็โดนนัดเรียนวันนึงตก 9-10 คาบได้เลยค่ะ เด็กไทยตอนนี้เรียนหนักมากจริงๆค่ะ
เราอยู่รรรัฐประจำจังหวัด นรค่อนข้างเยอะ ทั้งม.ต้นปลายแต่ละห้อง40-50คนเลยค่ะ
ตอนนี้ที่ไทยหลายที่ให้สอบเข้าตั้งแต่อนุบาลเลยค่ะ ประถมก็ต้องสอบเหมือนกัน 5555 ค่อนข้างช็อกเลยค่ะ เหมือนกับว่าให้สอบไหวพริบค่ะ ที่ไทยมีวิชาจ๊าบ ๆ เยอะเลยค่ะ แบบพวกกระบี่กระบอง 555
จำได้ว่าประถมบีมก็สอบแต่เป็น รร เอกชน แต่อนุบาลจำไม่ได้เลย 555 โอ๊ะะะ เคร่งเครียดไปไหนนนน แง้
@@BeamSensei ของเราตอนอนุบาลมีสอบจริงจังเลยค่ะ ให้สอบตัวต่อตัวเป็นสัมภาษณ์ แบบว่าถ้ามีนมกับน้ำอัดลมจะเลือกกินอันไหน ถ้ามีคนแปลกหน้ามาชวนไปเที่ยวจะตามไปไหม ชื่อจริงตัวเองภาษาอัวกฤษสะกดยังไง แบบนี้เลยค่ะ
ระบบห้องคิงมันดีตรงเด็กตั้งใจเรียนไปอยู่ที่เดียว เด็กไม่สนใจเรียนก็ไปรวมกันอีกห้องนึง มันไม่ถ่วงกัน แต่ถ้าเด็กห้องไหนตั้งเรียนขึ้นเก่งขึ้นก็ควรให้ย้ายห้องง่ายๆ เผื่อเด็กบางคนเบื่อเล่นเบื่อความวุ่นวายจากเพื่อนที่เอาแต่เล่นกัน อยากตั้งใจเรียน จะได้มีโอกาสทางการศึกษาในตอนนั้นเลย
เราอายุ21จบมา3ปีแล้ว จำนวนนักเรียนต่อห้อง แ1-แ6 40-44คนค่ะ ม1-ม3 50-53คนค่ะม4 50คน ม5 48คน ม6 45คน มั่งตอนนี้ลืมชื่อเพื่อนแล้วค่ะ
และหนึ่งวันที่โนงเรียนทำอะไรบ้าง คาบ1เวลา8.30-9.20 ภาษาไทย คาบ2 9.25-10.15 เป็นว่าง(ทำงานที่ต่อแั่นต่อ)คาบ3-4 10.20-12.05นาที(สาระเสิ่มเต็มเช่นสาระคณิตเราเป็นสายง.การงานอาชีพและเทคโนโลยี)พักเที่ยง12.5-13.00 คาบ5 13.00-13.50 พละนะ คาบ613.55-14.45สาระเพิ่มเต็ม คาบ714.30-15.40 วิทย์ (วันจันทน์ของเรา) ฉันเป็นสาย การงานอาชีพและเทคโนโลยี ต่อม1-ม3 เกรด2.45 ผ่านแบบเส้นยาแดงมากค่ะรรเอา2.44 มปลายรรของเกรด2.50เราได้2.52 แต่จำนวนหน่วยกิตเพิ่มเต็มรวม80.5นะ อิอิ รรเอา80-82นะ
รร.เราที่เคยเรียนตอนประถม เขาจะเข้าแถว8โมงครึ่ง แล้วเริ่มเรียน9โมง เรียน3คาบแล้วพักเที่ยง ตอนบ่ายเรียนอีก3คาบแล้วพัก40นาที แล้วเรียนอีก1คาบ แล้วกลับบ้านค่ะ
ห้องเรียนพิเศษวิทย์คณิตบ้างโรงเรียนก็มีตั้งแต่ประถมแล้วนะคะ หนูก็เรียนห้องวิทย์คณิต ก็จะมีวิชาวิทย์เพิ่ม คณิตเพิ่มและก็มีวิชาอื่นๆที่ห้องธรรมดาไม่มี
โหดมาก โอ้ เด็กสมัยนี้ ลำบากกันมั้ยหรือยังไงก็ได้
จริงๆโรงเรียนไทยมีสอบตั้งเเต่เข้าอนุบาลเเล้วนะคะ เเต่จะไม่ได้สอบยากอะไร ส่วนใหญ่สอบการสื่อการกับพวกครู เเล้วก็พวก ก.ไก่ ไม่ก็ ABC + การอ่านนิดๆหน่อยๆ อันนี้คือของ English program ที่เคยเรียนประมาณ 10กว่าปีที่เเล้ว เเต่รู้สึกว่าสมัยนี้เห็นผู้ปกครองที่ให้ลูก,หลาน ไปเรียนจะบอกว่าข้อสอบของเด็กยากขึ้นมากเลย ส่วนภาค normal program อาจจะมีจับฉลากเข้าไปบ้างเหมือนกันค่ะ เเต่ไม่รู้ว่ามีสอบไหม (*ไม่รู้ว่าพูดได้ไหม*)เเต่บางคนก็จ่ายใต้โต๊ะเหมือนกัน
16:13เรียนในห้องเรียนเสร็จก็เรียนพิเศษต่อ(ส่วนใหญ่เป็นลูกของคนมีฐานะครับ)
ของไทยก็คล้ายๆนะ รัฐ จากสพฐ กับรัฐท้องถิ่น เช่น รร.ของกทม. (รร.วัดส่วนมาก)
面白かったです!日本の義務教育は、勉強についていけなくても、次の年には学年が上がってしまいますがタイでもそうですか?気になりました。
ありがとうございます〜昔は上がれなかったらしいですが、今は日本と同じで、上がれます😄
ไปโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีหน่อยค่ะ เป็นเด็กนักเรียนนะคะ
พี่บีม ในไทยก็มีโรงเรียนกีฬานะคะ แต่หนูรู้ไม่ค่อยเยอะ เพราะไปสอบคัดนักกีฬาโรงเรียนกีฬาไม่ผ่านค่ะ แต่ก็เคยไปแข่งสนามในโรงเรียนกีฬาบ่อย แต่ที่ทราบจริงๆ นั่นก็คือ เขามีระเบียบวินัยหนักมาก ถ้าร่างกายไปไม่ถึงมีน็อกค่ะ ตื่น ตี 4-5 ซ้อมถึง 9 โมงเช้า แล้วไปเรียน เรียนเสร็จ ซ้อมต่อยาว 2-3 ทุ่ม 7 วันต่อสัปดาห์ (กีฬาส่วนใหญ่)
ของหนูสอบเข้าโรงเรียนไหนไม่ได้เลย(มีแต่หัวกะทิ!!!!!) เพราะว่าหนูเป็นออทิสติกและสติปัญญา(ครูทั่วไปดูถูกความสามารถหนูแรงมาก) หนูเลยเข้ากศน. แล้วค่อยไปเรียนภาษาเสริมควบไป หนูเรียนอังกฤษเพื่อสื่อสาร และ ญี่ปุ่น(เรียนด้วยตัวเอง แอบยาก)
日本はほとんどの学校にあると思うけど、タイには合唱コンクールとかあるのかな?学生時代の青春を語るのに外せない思い出だから気になる!
มีครับ
日本みたいな学校行事はあまりないですね🥺なので、アニメとか漫画見てすごく憧れてました😍😍
ของรร.เราห้องนึงมีนักเรียน40อัพหลายห้องเลยนะคะ เเบ่งคาบเรียนเป็นเช้า5คาบ พักกลางวัน เรียน3คาบ กิจกรรมชมรมจะเข้าแค่วันอังคารค่ะ ส่วนชมรมก็จะมีให้เลือก20กว่าชมรมค่ะ ทั้งโคฟเวอร์ ประชาสัมพันธ์ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดนตรีสากล ดนตรีไทย ดีไอวาย ส่วนแนะแนวทางรร.ได้คัดออกแล้วเปลี่ยนเป็นวิชาดนตรีสากลแทนค่ะ มีสอบทุกวันศุกร์ และพักกลางวัน บางห้องอาจจะไม่ได้พักเพราะต้องไปหาคุณครูเพื่อท่องภาษาจีนทุกวันค่ะ🫶🏻 (ทางรร.จะเป็นรร.จีนที่เน้นจีนไปเลยค่ะ ทำให้ให้ความสำคะกับภาษาจีนและการท่องมากๆ)
สมัยเรียนม.ต้นเกือบๆสามสิบปีที่แล้ว โรงเรียนผมก็มีแบ่งสายแล้วเหมือนกัน แต่จะไม่ได้เรียกเหมือนของม.ปลาย อย่างผมตอนต้นก็เรียนสายวิชาการ จะเน้นวิทย์ คณิต แล้วภาษาอังกฤษ สามวิชาที่เรียนเพิ่มจากห้องอื่น ส่วนห้องอื่นที่จำได้ก็มีคหกรรม กับงานช่างมั้งถ้าจำไม่ผิด แต่พอขึ้นม.ปลายก็เหมือนกับม.ปลายทั่วไปปกติเลย
เดี๋ยวนี้ ชั้นม ต้น มีไม่เกินห้องละ40-45 เพราะอัตราการเกิดเด็กไทยต่ำลง เลยจำนวนเด็กต่อห้องลดลง มาประมาณ 5-6ปีแล้วครับ
เรียนห้องepหรือmepทุกวิชาไม่ได้เป็นอังกฤษหมดน้า ที่ได้เรียนเป็นอังกฤษมี วิทย์ คณิต pe(พละ) คอม จริงๆก็แล้วแต่รร.ด้วย แต่ส่วนมากน่าจะเป็นแบบนี้ก็หมด จากใจเด็กห้องmep(mini english program) บอกเลยว่ายากมากๆเลยค่ะ ยิ่งวิชาคณิตวิทย์นี่หัวจะระเบิด ฟังครูเขาพูดไม่ออกเลยค่ะ🥹 แต่สอบเข้าห้องนี้ได้ไงไม่รู้😂
ได้ความรู้มาก ๆ เลยครับ
จะบอกอิซากะว่า บางโรงเรียนก็มีทั้งอนุบาล ประถม มัธยมทั้งต้นและปลาย รวมอยู่ในโรงเรียนเดียวเลยก็มี 5555
โอ๊ย 555 ยาว ๆ ไป
เท่าที่ทั้งสองคนเล่ามาเนี่ย... การศึกษาระหว่างของไทยกับญี่ปุ่นอาจจะแตกต่างกันนิดนึง แต่ของญี่ปุ่นอาจจะเข้มงวดกว่าของไทยเราอ่ะนะ เหมือนในการ์ตูนอนิเมะญี่ปุ่นทุกประการ ถ้าเป็นเมื่อ 25 ปีก่อนตอนจะเข้าม.ต้นโรงเรียนรัฐบาลบางแห่งคือจ่ายตั้งแล้วเข้าเรียนได้เลย แต่ตอนนี้ก็ต้องสอบเข้าโรงเรียนที่เราต้องการจะเรียน ถ้าเป็นเข้าชมรมของโรงเรียนม.ปลายของญี่ปุ่น พวกผู้หญิงก็เข้าชมรมเข้าครัวเรือนเช่นทำอาหารซักผ้ารีดผ้าพับผ้าเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกผู้ชายจะเข้าชมรมกีฬาที่ใช้แรงเยอะ เช่น ฟุตบอล,บาสเกตบอล,เบสบอล ฯลฯ เวลาเข้าเวรทำความสะอาดของโรงเรียนไทยเราตอนม.ต้นจะมีเวรสีต่างๆและแบ่งให้คนโน้นคนนี้คนนั้นต้องรับผิดชอบกวาดถูโน่นนี่นั่น เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกในการรักษาทำความสะอาดทั้งในโรงเรียนและที่บ้านของนักเรียนอีกด้วย โรงเรียนที่ญี่ปุ่นก็เช่นกัน ปลูกจิตสำให้ให้นักเรียนรู้จัดทำความสะอาดตั้งแต่เด็กๆจนถึงวัยรุ่นเพื่อให้นักเรียนรู้จักรับผิดชอบรักษาความสะอาดทั้งในที่บ้านและที่โรงเรียน แม้แต่ตอนเป็นผู้ใหญ่แล้วก็ต้องรู้จักทำความสะอาดบ้าน,ที่โรงเรียนหรือว่าที่ทำงานของตัวเองเช่นกัน
อิซากะคุง น่าจะใส่ เครื่องแบบ นร.ไทยบ้างง
รอบหน้า ๆ
คลิปนี้เป็นคอนเทนต์ที่ดีมากๆเลย อยากรู้มานานแล้วเกี่ยวกับระบบการศึกษาเปรียบเทียบไทย-ญี่ปุ่น
ขอบคุณมากนะคะ ดีใจที่ชอบค่ะ
จะทำเกี่ยวกับเซมมง กับสายอาชีพในไทยอะไรแบบนี้มั้ยคะ อยากรู้ของญี่ปุ่นด้วยว่าเป็นยังไงจำนวนเด็กในห้องเรียน คิดว่าอยู่ที่ขนาดโรงเรียนด้วยค่ะ นี่ตอนประถมซัก 10 กว่าปีที่แล้วมี 30 กว่าคน ชั้นละ 3-4 ห้องพอมัธยม(10ปีที่แล้ว) ย้ายไปโรงเรียนที่ใหญ่กว่า ห้องนึงประมาณ 50 กว่าคน ม.ต้น 5 ห้อง ม.ปลาย 3 ห้อง (แต่ปัจจุบันรู้สึกว่าจำนวนห้องจะเยอะกว่านี้แล้วค่ะ แต่ไม่รู้เรื่องจำนวนคน จบมานานละ)
คนขอมาเยอะเลย เดี๋ยวหาข้อมูลก่อนน้า แล้วมาคุยกัน อิอิ
โรงเรียนที่มีม.ต้นกับม.ปลายรวมกัน เราจะมีสิ่งที่เรียกว่าโควตาศิษย์เก่า=ได้เรียนแน่นอน ถ้าเลือกต่อที่เดิม แต่ก็ต้องตามเงื่อไขของเขาอย่าง เกรดไม่ต่ำกว่าที่กำหนด หรือคะแนนความประพฤติไม่โดนหักจนถึงที่กำหนด แบบนี้อะค่ะ
เป็นกำลังใจให้ครับ ^_^
เรื่องนักเรียนแต่ละห้องมีจำนวนกี่คนนั้น สมัยรุ่นๆพวกเราก็จะเยอะครับ 50+ ห้องไหนมีเลขหลัก 40 คือถือว่าน้อย แต่สมัยนี้เนื่องจากเด็กมีจำนวนน้อยลงกว่ารุ่นเรามากจริงๆ ตอนนี้ผมเป็นครูโรงเรียนรัฐ ส่วนมากห้องนึงจะแค่ 30-40 คนเองบางชั้นบางห้องเหลือหลัก 20 ปลายๆด้วยซ็ำ
จริงด้วยเนอะ บีมก็ลืมคิดไปว่าเด็กน้อยลงกว่าสมัยบีมเยอะเลย ฮ่า
ไทย..ก็มีท้องถิ่น คือร.ร.สังกัดเทศบาลในกทม.ก็มีร.ร.ในสังกัดเและสังกัด อบจ...เนื่องจากหนูบีมเป็นเด็กกทม. จึงไม่ทราบว่าร.ร.ในต่างจังหวัด มีร.ร.ประจำจังหวัด ร.ร.วิทยาศาสตร์ (จุฬาภรณ์) ร.ร.ในสังกัด มหาลัย (ร.ร.สาธิต) ฯลฯ
ถ้ามีโอกาส อยากเห็นคุณอิซากะลองเข้าค่ายลูกเสือสักครั้งจัง 555555 ภาพในหัวเราคือขำไปก่อนแล้ว จะงงไหมว่าทำไมต้องคัทฉากก่อนกินข้าว 😂😂
ที่ไหนรับบ้าง อยากส่งไป 555
ผมเรียนโรงเรียนเทศบาลตั้งแต่อนุบาล-ประถม 6 มีชั้ยละ 5 ห้อง ห้องละประมาณ 30 คน (ไม่รู้ว่ายุคนี้กี่คนแล้วนะ) ห้องKing จะไม่ได้นับว่าเป็นห้อง 1 เสมอไป เเต่พวกครูจะรู้ว่าห้องไหนห้องKing มีการคัดตั้งแต่ประถมปลาย ก็คือ ป.4-6 ห้องKing จะคัดเอา ที่ 1-5 หรือมากกว่าของแต่ละห้องมาอยู่ด้วยกัน ได้ 25-30 คน ว่าไป และห้องต่อๆไปก็คัดยังไงไม่รู้55 // พอมามัธยมก็เข้าโรงเรียนประจำอำเภอ ก็ค่อนข้างเเข่งขันกันสูง สอบเข้าตั้งแต่ ม.1 มีการสอบแยก แบบห้องธรรมดา และห้อง King ชัดๆไปเลย ส่วนมากจะรับคนในท้องถิ่นก่อน มีอยู่ 9 ห้อง ห้องละไม่เกิน 40 คน ส่วนมากจะ 30 กว่าๆ ห้องคิงจะจ่ายเยอะกว่าห้องธรรมดาอยู่ 2-3 พัน การเรียนคล้ายกันกับห้องอื่นๆ พอมาม.ปลายก็แข่งขันกันหนักยิ่งขึ้น มีแบ่งสาย วิทย์-คณิต ไทย-สังคม ศิลป์-คำนวณ และ พละ-เกษตร (ห้องท้าย 8-9) ก็จะแบ่งกันชัดมากๆและเวลาทำกีฬาสีก็มักจะจับให้ห้อง 1 หรือ King มาร่วมกับห้องเกษตร เพื่อรวมความต่างให้หลากหลาย แน่นอนว่ามีทะเลาะกันบ้างแน่ๆในโรงเรียน การแบ่งฝ่าย พันธมิตรห้อง/สาย // ไม่รู้ที่ รร อื่นเป็นมั้ย ศึกระหว่าง ห้อง King กับ ห้อง 2 (เก่งสุดสำหรับห้องปกติ) จริงๆเด็กนักเรียนก็เพื่อนๆกันนี่แหละแต่ครูชอบเปรียบเทียบและกดดันให้ 2 ห้องแข่งกัน//กิจวัตรประจำวัน 1) มาโรงเรียน 2) นั่งชิว,ปั่นการบ้านที่โต๊ะ ม้านั่งที่ประจำ ไม่ก็ที่ห้องของตัวเอง3) เพลงขึ้น ให้ไปทำเวรความสะอาดที่จุดรับผิดชอบของห้องตัวเอง คนที่เป็นเวรห้องไม่ต้องทำให้ไปทำความสะอาดบนห้อง4) เพลงโรงเรียนขึ้น เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและไปเข้าเเถว5) เรียนๆ 4 คาบ 6) พักกินข้าวกลางวันที่โรงอาหาร และก็แยกย้ายกันไป เช่น ไปรอห้องเรียนวิชาบ่าย ไปเล่นบอล บาส วอลเลย์ แบดมินตัน เปตอง ปั่นการบ้านที่โต๊ะม้านั่งประจำ7) เรียนอีก 3 คาบ 8) คนที่ไม่มีเรียนพิเศษก็กลับบ้าน ห้อง King มีคาบที่ 8 เลิกช้ากว่าห้องอื่นๆ เสร็จแล้วก็เตรียมตัวเรียนพิเศษ ต่อยัน 17:00 น. หรือมากกว่านั้น9) เรียนพิเศษเสร็จเปลี่ยนชุดบาส ไปซ้อมบาสที่สนาม จน 20:00 น. กลับบ้าน (อันนี้แล้วแต่คนนะ)10) กลับบ้านกินข้าว ทำการบ้าน เล่นเกม อาบน้ำ นอน และก็วนลูปไปมีอยู่แค่ตอน ม.4-5 จะมีไปเรียนพิเศษ ตอน 19:00 ถึง 21:00 วิชาเคมี ที่บ้านครู ตึงเครียดมากแต่ก็สอนละเอียดความรักในวัยเรียนหวานอมขม มีทั้งรักในห้องเดียวกัน ชอบกับเพื่อนห้องอื่นๆ หรือข้ามชั้น ม.ปลายชอบ ม.ต้น ก็ยังมี เเละที่เสียดายอยากให้มีเหมือนญี่ปุ่นคือ การจัดนิทัศการโรงเรียน ที่เราเคยดูตามอนิเมพวก ฮารุฮิ เค-อง บลาๆ ชมรมก็ไม่มีโรงเรียนผม ชม.ชุมนุมก็จะให้มารวมกันที่ห้องคล้าย Home-room ส่วนมากจะนั่งป่นงาน ไม่ก็นอนกัน
ขอบคุณที่มาเล่าให้ฟังนะ อ่านพลินเลยยย
@@BeamSensei ยินดีครับ 😄 เรื่องวัยเรียนหรือวัฒนธรรมแต่ละที่นี่คุยได้เพลินๆจริงครับ
สายอาชีพอะพี่ ปวช. ปวส. มีไหมครับ เพิ่มเติม ม.ปลายลูกเสือไม่มี แต่มี รด. รักษาดินแดน วิชายุวชนทหาร ตามความสมัครใจครับ
แบ่งสายการเรียนรู้สึกว่าจะมีตั้งแต่ประถมเลยนะแต่ถ้าเป็นประถมไม่เชิงแบ่งสายการเรียนแต่จะเป็นเด็กห้องพิเศษมากกว่า(ในส่วนที่เคยเจอมา) เพราะรร.ตอนประถมของเรามีห้องMEPที่เน้นภาษาอังกฤษกับคณิตศาสตร์และก็ห้องวิทย์คณิตที่เน้นวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ซึ่งจะมีค่าเทอมที่แพงกว่าเด็กห้องธรรมดาเป็นพิเศษแต่ก็จะตามมาด้วยสิ่งที่ได้รับมากกว่า เช่น ได้อยู่ห้องแอร์ มีล็อกเกอร์ มีการเรียนการสอนพิเศษที่เพิ่มเข้ามาและก็มีการเข้าค่ายพิเศษสำหรับห้องพวกนี้ด้วย ส่วนมัธยมต้นก็มีแค่ห้องวิทย์พิเศษกับห้องธรรมดา ซึ่งก็เหมือนเดิมที่ค่าเทอมแพงกว่ากับได้เรียนวิชาเพิ่มเติมที่เน้นไปสำหรับห้องวิทย์คณิต มีการเข้าค่ายสำหรับห้องวิทย์พิเศษบ่อยๆ แต่ถ้าเป็นม.ปลายก็แบ่งตามปกติคือ วิทย์คณิตพิเศษ วิทย์คณิต ศิลป์ภาษา ศิลป์คำนวณและก็ศิลป์ทั่วไปที่จะมีวิชาให้เลือกเรียนพวกช่าง กีฬา คหกรรมอะไรแบบนี้ แต่ถ้าเป็นรร.ดังๆรู้สึกว่าจะมีห้องวิทย์หมอ วิทย์วิศวะอะไรแบบนี้ด้วย โหดมาก🥹
ไม่เกิน40คนจริงครับแต่มี7-8ห้องเลยม.4 8ห้อง อะไรประมาณนั้น สำหรับโรงเรียนใกล้บ้านผมนะ
ที่โรงเรียนเรานี่ บางวันจะมีคาบ 0 ด้วย 7 10-7 50 ค่า(ห้องวิทย์คณิตน่าจะเจอเยอะว่าแผนอื่น ๆ ) ส่วนตัวคือเข้าเกือบไม่ทันบ่อยมาก ๆ เพราะบ้านไกล55555 วิ่งตาเหลือกทุกเช้า ถ้าเข้าไม่ทันครบกำหนดก็หมดสิทธิ์สอบได้ วันไหนมีคาบ 0 จะลุ้นมาก ๆ ค่ะส่วน 8 00-8 30จะเป็นเข้าแถว+ฟังครูใหญ่บ่น แล้วก็เริ่มคาบแรก 8 30 ค่ะ เรียน 7 คาบ เลิก 15 30 พอดีค่า
คาบ 0 คืออะไรอะ แงงงงงงงงงงงงง ทำไมไม่นับเป็น 1
@@BeamSensei คาบ 0 คือเริ่มก่อนเวลาเรียนปกติฮะ ปกติเราเริ่มคาบ 1 ตอน 8 โมงครึ่งใช่ม้า อันนี้เริ่มก่อนก็จะเป็นคาบ 0 ฮะ ไม่ได้มีทุกวันนะแต่เจอทุกเทอมเลย มากสุดที่เคยเจอคือ 3 วันจาก 5 วันค่า
ไม่รู้คุณบีมจะนับโรงเรียนสายอาชีพเป็นโรงเรียนด้วยหรือเปล่า หรือจะนับว่าเป็นวิทยาลัย ระบบการศึกษาไทยนอกจากสายสามัณแล้วยังมีสายอาชีพด้วย จบม.3 ไม่ต่อสายสามัณก็ต่อสายอาชีพ ไม่รู้ที่ญี่ปุ่นมีไหมนะสายอาชีพเนี่ย ยังไงน่าจะลองทำคลิปเทียบไทยกับญี่ปุ่นดูนะครับว่าโรงเรียนสายอาชีพบ้านเขากับบ้านเราต่างกันไหม ... ของไทยน่าจะแยกเป็น พวกช่างกล ช่างไฟฟ้า ช่างเชื่อม ช่างก่อสร้าง ช่างอุตสาหการ คอมพิวเตอร์ บัญชี เขียนแบบ การเรือน (ทำอาหาร) การโรงแรม การท่องเที่ยว วิจิตรศิลป์ ดนตรี (ดุริยางคศิลป์) ตอนนี้เห็นมีความพยายามที่จะก่อตั้งโรงเรียนสอนพวก logistic ขึ้นมาอีก ไม่รู้ถึงไหนแล้ว น่าจะประมาณนี้แหละ ของญี่ปุ่นไม่รู้มีไหม แยกประเภทไว้ยังไง และจบชั้นไหนถึงไปต่อสายอาชีพได้นะ
นับค่ะ ๆ แต่ว่าอันนี้ยังไม่ได้คุยถึงสายอาชีพ เดี๋ยวสายอาชีพต้องไปหาข้อมูลสักพักก่อน เพราะว่าทั้งบีมกับอิซากะเป็นสายสามัญทั้งคู่เลย ยังไงคลิปนี้น่าจะมีแน่ แต่รอหน่อยน้าาา ต้องไปสัมภาษณ์ผู้คนสายอาชีพมาก่อน รอดูกันนะคะ ^^
ประเด็นนี้ก็น่าสนใจมากๆ ครับ ผมมีลูกว้ยประถมด้วย รู้สึกว่า สมัยนี้เด็กไทยเรียนอะไรยากมาก ทั้งยาก ทั้งเยอะ กำลังอยากรู้เชียวครับว่า ที่ประเทศอื่นเขาเรียนกันแบบนี้หรือเปล่า
การศึกษาช่วงม.ปลายน่าจะลืมพวก สายอาชีพไปนะคะส่วนโรงเรียนรัฐบาลกลางของญี่ปุ่นน่าจะเกรดเทียบเท่ากับพวกโรงเรียนสายเตรียม สายสาธิต ของมหาลัยที่เปิดสอนมั้งนะคิดว่า
จริงๆ ถ้าเราเป็นเด็กในพื้นที่บริการของ รร. นั้น เราสามารถเข้าได้เลย แต่อาจจะมีการสอบคัดห้อง ส่วนที่คัดออกจะเป็นเด็กนอกพื้นที่บริการครับ โดย รร.ส่วนใหญ่จะจัดแผนชั้นเรียนเอาไว้รองรับเด็กในพื้นที่ไว้แล้ว ถ้ามีที่นั่งเหลือจะรับเด็กพื้นที่บริการได้ครับ
แต่ว่าตอนบีมอยู่พื้นที่บริการต้องจับฉลากเอานะ เพราะว่าคนเกิน
ผมนี่ อยากพรีเซ้นต์มากกกก สตรีวิทยา 2 ม.1 - ม.6ม.ปลาย เด็กห้องควีน ศิลป์-ฝรั่งเศส แต่พวกศิลป์-คำนวณ ให้เรียน ภาษาญี่ปุ่น คิดเอา ไม่แฟร์เลย 5555+ จำนวน นร. ในห้องหรอ ของเรา 47 คน ทั้ง ม.ต้ม ม.ปลาย เลยแหละ ชมรม ก็แยกเลย ชอบเพลงฝรั่ง จำได้ขึ้นใจเลย แค่ ม.ต้น ส่วน ม.ปลาย จำไม่ได้นะ แต่ชอบอ่านเรื่องประวัติศาสตร์นานาชาติ ม.ต้น เจอทุกๆ อย่างเลยจร้า เลข/วิทย์/ไทย/อังกฤษ/สังคม/พละ/ช่าง/ฯลฯ แถมจบมา เกรดไม่ถึงด้วย แต่มีสอบเปลี่ยนสายได้ จาก ทั่วไป เปลี่ยนเป็น ศิลป์-ฝรั่งเศส ตอนสอบได้นี่ โคตรดีใจ ก่อนไปดูบอร์ดเจอแบงค์ 20 พาเฮง 555+ม.ปลาย นี่ ENG หลัก / ENG เสริม อ่าน-เขียน & ฟัง-พูด / ฝรั่งเศส หลัก / ฝรั่งเศส เสริม วิชาสังคม-ประวัติศาสตร์
บีม : ห้องละไม่เกิน 40 คน คาบ 7-8 คาบโรงเรียนผม(บางห้อง) : 41 คนและเรียน 9 คาบ
เอาจริงๆเราเพิ่งขึ้นม1มา เราจะบอกว่า มันเกิน40คนนะ แต่อันนี้ไม่รู้ของโรงเรียนอื่นนะ ห้องเรามี45คน ห้องอื่นน่าจะมี40คนขึ้นไป แต่45น่าจะเยอะสุดสำหรับโรงเรียนเราแล้ว ใครมีข้อมูลจะแลกเปลี่ยนตอบเราต่อได้เลยนะคะ
ตอนเราเรียนม.ต้นเราเคยอยู่ห้อง 49 คนค่ะ ลาออก 1 เหลือ 48 เยอะมากแบบตะโกน พอม.ปลายลดลงเยอะค่ะ ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเกิน 40 แล้ว เพราะก็จะมีบางส่วนจากม.ต้นไปเรียนสายอาชีพด้วย
อยากให้ไปเยี่ยมชมโรงเรียนเอกชน ยานากาวา ที่นครศรีธรรมราช
อ่าอีก1ปีก็ม.1แล้วอะได้ยินปุบรีบทำใจบับเล😢
ดูเหมือนไม่ค่อยจริงเลยนะคะ ห้องละไม่เกิน 40 ห้องเราตอนอยู่ ม.6 (ปี64) ห้องเรา 43 คนค่ะ😂😂😂😂 จริงๆ แล้วยังมีสายการเรียนอื่นๆ ด้วยนะคะพวกโรงเรียนใหญ่ๆ เช่น สายคหกรรม กีฬา ทวิภาคี ฯลฯ ค่ะ ส่วน ม.ต้น เรามีการแบ่งสายค่ะแต่จะสอบแยกต่างหาก บางโรงเรียนมีห้องนานาชาติด้วยค่ะเราจึ้งมาก😂
ชมรม สมัยผม สวนกุหลาบฯ จริงจังมากนะครับ มีชมรมเป็นสิบๆ
จากที่เล่ามา ขอเล่าประสบการณ์ตอนพี่ยังเด็กนะ ตอนนี้พี่ 30 กว่า ๆ ละของพี่ไม่ได้สอบเข้านะ แต่เป็นระบบสอบคัดห้อง ก็เหมือนที่น้องบีมบอก เราจะเรียกห้องคิง แล้วก็ห้องบ๊วย (ซึ่งเอาจริง ๆ ถ้าวัดคะแนนห้องโดยรวม แน่นอนละมีนห้องคิงจะสูงกว่า แต่ถ้าวัดเป็นรายคน เด็กห้องบ๊วยบางคน ได้คะแนนชีววิทยา หรือเคมี ชนะห้องคิงก็มี)ตอนพักกลางวันโรงเรียนพี่สลับเวลากันพัก (ม.ต้น ม.ปลาย ไม่งั้นโรงอาหารแตก) แล้วก็มีเวลาพักเบรกอีก 1 เวลา ประมาณ 30 นาทีตอนบ่าย 2 อาหารไม่มีฟรี ซื้อทานเอา ร้านอาหารมีราว ๆ 30 ร้าน แต่ร้านน้ำมีผูกขาด 2 ร้าน (จริง ๆ พี่ก็สงสัยนะ ตอนอยู่โรงเรียนเราก็เก็บจานชามเองนะ แต่ทำไมพอออกมาสังคมข้างนอกถึงไม่เก็บ ทั้ง ๆ ที่โรงเรียนก็สอน 😢)เวรทำความสะอาดห้องไม่มี เรามีภารโรง
ผมมีคำถามอะครับ อยากทราบว่าที่ญี่ปุ่น มีโรงเรียนสายอาชีพเหมือนไทยมั้ย แบบจบ ม.3 ไม่เรียนต่อ ม.ปลาย แต่ย้ายไปเรียนสาขาอาชีพ ปวช.ปวส สาขาช่าง สาขาพานิชอะไรแบบนี้อะครับ
มีค้าบ ไว้ไปศึกษาแล้วจะมาเล่าให้ฟังนะ
@@BeamSensei รับทราบคราบบบ
หลังๆห้องต่อห้องไม่เกิน25คนแล้วบางห้องออกก่อนหรือตกชั้นเหลือแค่ประมาณ10-15คนต่อห้อง
18:20 ของผม ม.ปลายก็มีลูกเสือครับรร.สห แต่ส่วนใหญ่จะมีแต่ผญ.เพราะผู้ชายไปเรียน นศท. หรือที่เรียกว่า รด.นั่นละ แต่รร.คุณบีมเป็นหญิงล้วนไงเลยไม่มี ซึ่งคนญี่ปุ่นไม่มีแน่ๆ อิซะกะต้องไม่เข้าใจชัวร์ ถึงความน่ากลัวของการจับใบดำใบแดง
สนุกมากเลยค่า อิจฉาญี่ปุ่นตรงที่เรียนโรงเรียนแถวบ้านได้เลยเพราะเท่าเทียมกันทั่วประเทศ ไม่ต้องเสียเวลาเดินทางตื่นเช้า TT เด็กไทยนี่ต้องตื่นกันตั้งแต่ตีสี่ตีห้าเพื่อไปเข้าแถวเจ็ดโมงครึ่ง เสียเวลาชีวิตมากก
รอดูพาร์ทแต่ละวิชานะคะะ
โดยส่วนตัวมองว่าสายที่แยกไปให้คล้ายแต่ละคณะยังไม่ค่อยเหมาะกับบริบทไทย ณ ปัจจุบันอยู่ดีค่ะ เพราะสุดท้ายแล้วระบบการสอบเข้ายังเป็นระบบที่ข้อสอบคัดเลือกเหมือนกันหมดในกลุ่มสาขาคณะที่ใกล้เคียงกัน การจะไปเน้นแค่ไบโอ เน้นแค่ฟิสิกส์แบบนี้ดูจะยังไม่ค่อยเวิร์กเท่าไหร่นัก ส่วนเรื่องรับจำนวนเด็กจำกัดในไทย อันนี้ไม่แน่ใจว่าจะเป็นเหตุผลนี้หรือเปล่าเพราะตัวเองเรียนโรงเรียนที่อยู่ยาวๆ ป.1-ม.6 เลย แต่คิดว่าน่าจะเพราะจำนวนบุคลากรไม่เพียงพอไหมคะ การที่รับเด็กจำนวนมาไปเรียนอาจจะทำให้การดูแลไม่ทั่วถึง เลยต้องจำกัดคนเข้าค่ะ
ส่วนเรื่องจำนวนนักเรียนคือพอมันเป็นโรงเรียนที่อยู่ยาว กว่าจะถึงมอปลายก็ลาออกไปหมดแล้วค่ะ 55555
ตอนมอต้นมีประมาณ 40 คน แต่พอมอปลายก็เหลือ 30 คนค่ะ
อีกแขนงนึงของการศึกษาสายวิชาชีพ เช่น วิทยาลัยการอาชีพ, วิทยาลัยอาชีวะ, วิทยาลัยนาฏศิลป, วิทยาลัยในวัง ฯลฯ อันนี้จะมุ่งเน้นการฝึกวิชาชีพโดยตรงเลย ซึ่งไทยเปิดรับสมัครพนักงงานที่จบสายอาชีพเยอะมาก แต่คนไทยไม่ค่อยให้ความสำคัญเท่าสายสามัญ กลับไปมุ่งเน้นจบ ม.6 ต่อปริญญาตรีมากกว่า
ส่วนตัวแล้ว อยากให้คนไทยเข้าใจว่า สายอาชีพนั้นมีความสำคัญมากต่อตลาดแรงงาน ทั้งด้านการท่องเที่ยว และการผลิตในอุตสาหกรรม ที่รองรับคนที่มีฝีมือที่ผ่านการอบรมจากสถาบันต่างๆมาแล้ว มากกว่าจะให้รอแรงงานต่างด้าว ที่ต้องปรับทั้งภาษาและสอนงานใหม่ทุกอย่าง แถมโอกาสในการเลื่อนตำแหน่งก็ชัดเจนกว่า แต่คนไทยน้อยนักที่จะทราบเรื่องนี้
จริงค่ะ เราเรียนสายอาชีพด้วย(เรียนสายภาษา) ได้ไปฝึกงานที่โรงแรม ปวช.1ครั้ง ปวส.1ครั้ง ถ้าเราทำงานดีที่ฝึกงานจะยื่นข้อเสนอมาให้เข้าทำงานเลยก็มีค่ะ แล้วก็ยังมีโรงเรียนต่อเรืออันนี้น่าสนใจมากๆ เรียนเกี่ยวกับการช่าง เทคนิค โลจิสติกส์ เคยได้ยินมาว่ามีไปฝึกงานที่ต่างประเทศด้วย โหดมาก
คลิปนี้ยังไม่ได้พูดถึงสายอาชีพงับ ที่ญี่ปุ่นก็มีเหมือนกัน เดี๋ยวยังไงขอบีมไปศึกษาวิจัยก่อน แล้วจะมาพูดเรื่องสายอาชีพบ้างน้าาา
ที่ม.ต้นของไทยต้องสอบเข้า คงเพราะมันรวมกับม.ปลาย และส่วนใหญ่โรงเรียนมักจะให้สิทธิ์นักเรียนโรงเรียนเก่าขึ้นม.ปลายมากกว่าเด็กนอก เขาเลยคัดตั้งแต่ม.ต้นเลย
ชอบคอนเทนต์แบบนี้มากเลยคะ ข้อแตกต่างระหว่างไทยและญี่ปุ่น น่าสนใจที่สุด☺️☺️
ขอบคุณนะคะ รอดูคอนเทนต์ต่อไปน้า
ไม่คิดว่าตัวเองจะมารอดูอะไรแบบนี้มาก่อนเลย ตื่นเต้นมากเลยค่ะ ชอบคอนเทนต์นี้มากๆเลย สนุกๆ ได้ความรู้และความบันเทิงไปพร้อมๆ กัน รอคลิปต่อๆ ไปเลยนะคะ
ขอบคุณมากนะคะ อ่านเม้นต์นี้ดีใจมาก น้ำตาคลอเลยแงงงงงงงง TTT
@@BeamSensei คอนเทนต์แบบนี้สนุกจริงๆ ค่ะ ชอบที่มีการแต่งตัวสร้างสีสันบรรยากาศตามธีมด้วย รอคลิปต่อๆ ไปเลยนะคะ
@@BeamSensei ชอบม้วกกกกเลยค่ะ
เดี๋ยวจะมาติดตามคลิปต่อๆไปนะคะ♡
私はそれがとても好き♡
เราไม่รู้ภาษาญี่ปุ่น
แต่ยังไงก็ชอบค่ะ นี่แปลเอา^^
今日のbeamSenseiのTH-camでタイと日本の教育制度の違いの特集を見ていろいろと勉強になりました。ありがとうございます。タイの学校のことも知れてためになりました。次回のbeamSenseiのTH-camを楽しみにしています。
มานั่งนึกอิซากะตอนเจอกับคุณบีมใหม่ๆพูดไทยไม่ชัดพูดได้นิดหน่อย มาฟังตอนนี้คือแบบ ต่างกันมากจ้าาาาา เก่งมากเลย นึกแล้วยังรู้สึกน่าชื่นชมทุกที
ชอบคอนเทนต์แบบนี้มากค่ะ ได้เห็นความแตกต่างไทยและญี่ปุ่น รอขมคลิปต่อไปอยู่นะคะ
ขอบคุณนะคะ
หนูเรียนครูแล้วได้เรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาญี่ปุ่น ชอบมากๆเลย ตอนนี้คิดว่าจะไปเรียนต่อที่ญี่ปุ่นด้วย อยากไปเรียนรู้จริงๆนะคะ ชอบมากๆ
ตอนนี้น่าจะห้องละ 40 ได้แหละค่ะ แบบเฉลี่ย เพราะอัตราการเกิดของคนไทยน้อยลงเยอะมากค่ะ (ปีที่แล้วเด็กไทยทั้งประเทศเกิดแค่สามแสนคนเองค่ะ) เราน่าจะรุ่นๆใกล้ๆกับคุณบีม ห้องสมัยมัธยมคือประมาณ 60 คน
เรียนเอกชนตอนประถมค่ะ เขาแบ่งเป็น EPกับห้องธรรมดาค่ะ ซึ่งอีพีจะเรียนกับต่างชาติห้องมีแอร์ไรทำนองนี้ พอขึ้นมัธยมอยู่รัฐอยู่ห้องgifted วิชาเรียนก็คล้ายๆห้องธรรมดาที่แตกต่างคือห้องมีแอร์ กับเรามีเรียนคาบ9ค่ะ(เรียนเสริมวิชาห้องแล็บ) ที่รร.เรามีแบ่งเป็นห้องกิ๊ฟ อีพี(เรียนกับต่างชาติเหมือนที่ในคลิปบอก) ไอพี(เรียนหลากภาษาค่ะ คือจะมีพวกภาษาที่สามสี่ไรงี้ ขอกระซิบว่าค่าเทอมแพงมากอยู่นะคะ) ห้องธรรมดา(ก็มีคิง ควีนนั่นแหละค่ะ เขาไม่ได้บอกแต่รู้กันเอง) ส่วนม.ปลายห้องกิ๊ฟบางวันเรียนถึงสิบคาบเลยก็มีค่ะ ที่รร.ไทยสมัยนี้คือแต่ละห้องมีน่าจะไม่เยอะเท่าสมัยก่อนค่ะ ขอบอกเลยค่ะว่าถึงจะมีเรียน9-10คาบ แต่เด็กบางคนก็มีเรียนพิเศษต่ออีกค่ะ ทำให้การเรียนของเด็กไทยคือหนักมากๆค่ะ
ขอบคุณที่มาแชร์กันน้า จริงด้วย มีห้องมีแอรฺ์กับไม่มีแอร์ เข้าใจนะว่าค่าเทอมมันไม่เท่ากัน มันก็เลยออกมาเป็นแบบนี้ แต่แบบว่า พอเห็นแล้วใจมันหดหู่ยังไงไม่รู้อะ แง้
ชอบคอนเทนต์มากเลยค่าาา ฮือออ คิดถึงโรงเรียนเก่ามาก55555 (ตอนนี้จบแล้วจ้า)
อันที่จริงเรื่องโรงเรียนไทยบางที่ก็อาจจะไม่เหมือนกัน อย่างโรงเรียนเก่าเราเป็นโรงเรียนเอกชน ม.ต้นกับม.ปลาย จะอยู่ด้วยกัน (โดยโรงเรียนเก่าจะแบ่งเป็น 2 โซน ด้านหน้าเป็นโรงเรียนฝั่งประถม+อนุบาลและเตรียมอนุบาล ส่วนด้านหลังเป็นโรงเรียนฝั่งมัธยม) ส่วนเรื่องการสอบเข้าม.ต้น โรงเรียนเราไม่ได้เน้นเนื้อหามาก แต่เป็นการสอบคัดห้องมากกว่า (ซึ่งห้อง 1 ทุกคนจะรู้ว่าเป็นห้องคิง และเราเป็นหนึ่งในนั้น 😂) รับทุกคนไม่จำกัดค่ะ
เรื่องพักกลางวันแล้วแต่บางคน บางคนก็กินที่โรงอาหาร บางคนก็ซื้อของมากินบนห้องไม่ก็ห่อข้าวกล่องมาเอง
การสอบเข้าม.ปลายโรงเรียนเราไม่เข้มงวดค่ะ เหมือนเป็นการทบทวนเนื้อหาจากม.ต้นมากกว่า (ใครอยากเข้าสายไหนเข้าได้เลย) ส่วนการรับคนเพิ่มนั่นทางนี้รับไม่จำกัดเหมือนม.ต้น (แอบกระซิบไว้ก่อนว่าม.ปลายสอบแค่ 5 วิชา วิชาละ 20 ข้อเอง)
ค่าเทอมประมาณพันกว่า บางคนจ่ายเต็ม ผ่อนเป็นงวดก็มี ของเราประมาณ 1,800 เพราะเราขับรถมาเอง
เรื่องการมาโรงเรียน บางโรงเรียนอาจจะมีรถโดยสารหรือรถตู้มาส่ง (ซึ่งจะบวกรวมกับค่าเทอม) บางคนขับรถยนต์/มอเตอร์ไซค์มา บางคนก็ผู้ปกครองมาส่ง
ส่วนเรื่องชมรมที่โรงเรียนเราเน้นฝึกซ้อมอย่างมากโดยเฉพาะวงดนตรี/ดุริยางค์ไม่ก็วงกลองยาว (เกือบเหมือนชมรมของญี่ปุ่น)
เราเรียนศิลป์-ภาษา(ญี่ปุ่น จีน อังกฤษ)มานะ แต่จบมาเป็นเด็กคอมฯ นี่คือคนละขั้วเลย555
อยากรู้ว่าที่ญี่ปุ่นมีระบบการเรียน ปวช./ปวส. เหมือนที่ไทยไหม เพราะตอนนี้เราเรียนปวส.อยู่อ่ะค่ะ
โรงเรียนเทศบาลแถวบ้าน มีสามแห่ง แต่งตัวเหมือนโรงเรียนคอนแวนจ้า แขนยาวผูกไทด์ มีตั้งแต่อนุบาลถึง ม.3
คือที่ญี่ปุ่นกับไทยต่างกันตรงที่การเข้าทำงานรึเปล่าคะ คนญี่ปุ่นทำงานในบริษัทหลังจากจบมัธยมปลายได้เลย แต่ที่ไทยส่วนใหญ่ต้องจบปริญญาตรีตามสายที่ตัวเองเรียนมาค่อยทำงานในบริษัท
ชอบมากๆเลยครับ ได้รู้ถึงการศึกษาของเขา เหมือนได้รับรู้วัฒนธรรมของเขาด้วย อีกอย่างนึงน่ารักทั้งคู่เลยครับผม
ขอบคุณมากเลยค่า
@@BeamSensei รอติดตามอีกหลายๆคอนเท้นท์เลยนะครับ✌️
เคยเรียน MEP(mini english program)ตอนม.ต้น ร.ร.รัฐบาลตจว.ค่ะ ต้องสอบเข้า เป็นห้องเรียนประจำค่ะ มีแอร์ ไม่ต้องเดินเรียน
วิทย์ คณิต อังกฤษ สอนเป็นภาษาอังกฤษ จะใช้ตำราเรียนของอังกฤษทั้งหมดเลยค่ะ ตามในคลิปเลย ส่วนวิชาอื่นก็ครูคนไทยสอนค่ะ
ใช้หนังสือต่างประเทศ ไม่ได้ใช้หนังสือศธ. หลักสูตรก็จะช้ากว่าโปรแกรมปกติ ต้องหาเรียนพิเศษเพิ่มอยู่ดี จะได้สอบonetตามภาคปกติได้😅
ค่าเทอมถือว่าแพงค่ะ 18xxx฿ (ราคาสมัย255x ต้นๆ)
เรียนจบก็จะได้เกียรติบัตรจบการศึกษาMEPด้วยค่ะ
อยากให้พี่บีมทำคลิปสำนวนสุภาษิตไทยกับญี่ปุ่นอีกค่ะ ชอบมากเลย💕
ได้จ้า รอก่อนน้า ขอบคุณมากเลย
ดูสนุกมากครับ เห็นด้วยเรื่องความเท่าเทียมของมาตรฐานการศึกษาภาคบังคับครับ ที่ไทยเรายังขาดในจุดนี้ ทั้งๆที่การศึกษาภาคบังคับเป็นสิ่งที่สำคัญในการปูรากฐานเพื่อเพื่อการศึกษาขั้นต่อไป เด็กๆควรจะได้รับการศึกษาที่มีมาตรฐานเดียวกันไม่ว่าจะอยู่โรงเรียนไหนก็ตาม
++1000%
รร.ผมเคยเรียนแบ่ง 3 สายครับ วิทคณิต ศิลภาษา เเละกีฬาอาชีพ
12:54 จริงค่ะ ห้องเราแต่ก่อนมี40คนจริงๆ แต่ตอนนี้เหลือแค่36คนเองนะ เพราะมีคนย้ายออก
5:18 ส่วนตัวนะคะ เราเรียนโครงการEnglish Programของรัฐบาลไม่แน่ใจของเจ้าอื่นเรียนเป็นอังกฤษหมดเลยมั้ย
จากที่เราเรียนมาเราเรียน ภาคอังกฤษ + ภาคไทย รวมด้วยกันก้อจะเป็น18วิชา เพราะว่าเรียนจีนด้วย 🥲 ส่วนค่าเทอมเราประมาณ18000ค่ะ
แต่ช่วงเข้ามาใหม่ต้องซื้อMacด้วยเลยเป็นแสน ตอนนี้หมดตัวหมดตังค์แล้วค่ะ😂🥲
ถ้าขึ้นรถไฟช่วง บ่ายสามครึ่ง ถึงสี่โมง จะเจอเด็กนักเรียนญี่ปุ่นขึ้นรถไฟกันเยอะมาก แล้วเสียงอย่างดัง คุยกัน โดยเฉพาะสายที่ใกล้ๆโรงเรียน ใครบอกว่ามีระเบียบ คือ ไม่เลย คุยกันดังมากกกก
ม.ปลายที่ไทยก้อแบ่งออกเป็น2ประเภทเหมือนกันค่ะ มีแบบสายสามัญกับสายอาชีพ ค่ะที่เรียกว่า ปวช.ค่ะก้อจะเริ่มทั้งแต่ม.4ค่ะ
คุณบีมใส่ชุดนรได้เนียนมากเกิ้นนน ดูไปพักนึงเพิ่งนึกได้ว่า อ้าว นั่นชุดนรหญิง ดูเนียนมาก 😊👏 รูปอิซากะตอนม.ต้นกับม.ปลายคือน่ารักมาก ดูทะเล้นๆ ตั้งแต่เด็ก 😂👍
อิอิ เขิน
หนูอยู่ห้องกิฟท์วิทย์ม.1(ที่ไม่มีแอร์TT) หนูเรียน9คาบทุกวันและเริ่มเรียนตั้งแต่8:15ซึ่งวิทย์เสริมที่หนูเรียนมันอยู่ในเนื้อหาม.4😵
เรื่องของเนื้อหาที่อยากให้ทุกที่ทุกห้องได้เรียนเท่ากะน เข้มข้นเท่ากัน เป็นอะไรที่อยู่ในอุดมคติมากๆ ค่ะ เพราะความสามารถในการรับสารหรือรับความรู้ของนักเรียนแต่ละคนไม่เหมือนกัน ไม่เท่าเทียมกัน ในหนึ่งห้องเรียนคนนึงเข้าใจที่ครูอธบายไปตั้งแต่ครั้งแรก ส่วนอีกคนพูดย้ำแล้วย้ำอีก เปลี่ยนมุมมองหรือวิธีอธิบายเขาก็ยังไม่เข้าใจ จะให้เด็กที่เรียนรู้ได้เร็วกว่ามานั่งรอเด็กที่เรียนรู้ช้าอยู่เป็นประจำ จะทำให้เด็กเบื่อและไม่อยากเรียนในที่สุดค่ะ ที่พูดอย่างนี้เพราะเราเคยอยู่จุดนั้นมาก่อน
ส่วนเรื่องสภาพแวดล้อมของโรงเรียนแต่ละที่ก็ไม่เหมือนกัน ซึ่งก็มีส่วนทำให้ประสิทธิภาพการเรียนการสอนนั้นไม่เท่ากันตามไปด้วย
การศึกษาแบ่งได้ 2 แบบการศึกษาในโรงเรียน และการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.)
ส่วนสายการเรียนแบ่งเป็น สายสามัญ กับ สายอาชีพ ซึ่งในต่างประเทศ ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นการเรียนการสอนแบบสายอาชีพ (vocational) มากกว่า ในประเทศญี่ปุ่นก็เน้น vocational เช่นกัน
รูปแบบของโรงเรียนนอกจาก รัฐบาล เอกชน แล้วยังมีอีกประเภทคือ อินเตอร์ ซึ่งหลักสูตรจะแตกต่างกับ 2 รูปแบบแรกโดยสิ้นเชิง
ขอตัวอย่าง โรงเรียนรัฐบาลของไทย มีรูปแบบการเรียกค่อนข้างซับซ้อน เช่น โรงเรียนเทศบาล โรงเรียนกีฬา
แผนการเรียนม.ปลาย บางโรงเรียนแบ่งเป็น วิทย์-ถาปัตย์ วิทย์-สาธารณสุข อะไรแบบนี้ด้วย
-- ยิ่งเขียนยิ่งมึน -- 😅
โรงเรียนรัฐบาลของไทย (ที่เป็นโรงเรียนสายสามัญ) ก็จะแยกออกเป็น 2 หน่วยงานที่สังกัด คือ กระทรวงศึกษาธิการ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กทม. เมืองพัทยา อบจ. เทศบาล อบต.) เคยคิดที่จะทำเป็นโรงเรียนรัฐบาลท้องถิ่น โดยจะทำการถ่ายโอนโรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ทำให้ครูหลายคนไม่เห็นด้วยเพราะไม่อยากทำงานภายใต้นักการเมือง มีการประท้วงถึงขั้นกรีดเลือดกรีดเนื้อกันเลย ปัจจุบันก็มีการแก้กฎหมายให้ถ่ายโอนโดยความสมัครใจแทน
ขออนุญาตนอกเรื่องจากการศึกษานะคะ😅 พี่บีมหน้าเด็กมากค่ะ มากแบบม๊ากกกกกกกกก มากแบบตะโกน😂 หลังจากดูมาหลายคลิป หน้าตาเหมือนเดิมเลยค่ะตั้งแต่สมัยเรียน อยากให้พี่บีมบอกวิธีดูแลตัวเองกับสกินแคร์รูทีนจังเลยค่ะ❤
สมัยก่อน โรงเรียนรัฐบาล จะมีโควต้าบ้านใกล้โรงเรียนหรือเรียกว่าเด็กในพื้นที่ ไม่ต้องสอบเข้า แต่ถ้าเด็กนอกพื้นที่อยากเรียนก็ต้องสอบเข้าเพราะมีโควต้าจำกัดจำนวนคน ถ้าเกินก็จับฉลาก แต่ส่วนใหญ่จะรับหมด หรือโควต้าผู้อุปการะคุณโรงเรียน
เอ่อเสริมนิดนึง บางโรงเรียนเขาสัมภาษณ์พ่อแม่นะ ถ้าไม่ผ่านเขาไม่รับ
เราเรียนโรงเรียนประจำจังหวัด รร.มีห้องพิเศษกับห้องปกติ สอบเข้ามอหนึ่งคือแข่งขันกันดุเดือด มีแบ่งรับเด็กในเขตกับนอกเขตเหมือนกัน คนสมัครเยอะมาก ม.1 เทอม 2 (ห้องปกติ) จะมีให้เลือกแผนการเรียน วิทย์คณิต ศิลป์ภาษา พอมอปลายจะมีโควต้าให้เด็กที่เรียนมอต้น(ส่วนใหญ่เรียนยาวๆ6ปีเลย) คนที่เลือกสายศิลป์คือไม่ต้องสอบ แต่คนที่เลือกสายวิทย์คณิตต้องสอบคัดห้อง และที่เหลือคือรับเด็กข้างนอกแต่รับน้อยมากไม่ถึง 100 คน ห้องพิเศษมี smte sme ep ilp(มอปลาย) ต้องสอบเข้าทุกคน รร.เรามีแอร์ทุกห้องยันห้องน้ำเลยจะไม่มีปัญหาพรีเลจระหว่างห้องพิเศษกับห้องปกติ ห้องพิเศษรร.เราจะเป็นวิทย์คณิตหมดเลย มีแต่ ilp ที่เป็นห้องพิเศษสายภาษา รร.เรามีห้องอีสปอร์ตด้วย ใครสนใจก็มาสอบได้นะคับ สังคมในรร.ดีเลยแหละ ความพร้อมของรร.ดีสุดๆ อุปกรณ์ห้องเรียนอาคาร มีแต่คนตึงๆสวยหล่อ @รร.อดีตหญิงล้วนประจำจังหวัดสุรินทร์5555
ผมว่าพี่ลืมพูดถึงสายอาชีพไปนะคือรร.รัฐจะเป็นสองแบบคือถึง ป.6 กับ ม.3ตามที่พี่ว่า คือสายการเรียนน่าเริ่มเลือกกันตั้งแต่จุดนี้ตอนที่จบ ป.6 จะเห็นว่ามีนร.ส่วนนึงที่เลือกเรียนให้ถึงม.3จากรร.รัฐเท่าที่เห็น นร.เหล่านี้ค่อนข้างจะไปต่อในสายอาชีพโดยตรงเช่นเทคนิคหรือพานิชเเละอาจไปต่อจบถึงปวส.เลยจะมีส่วนน้อยที่แยกมาเข้าม.ปลาย ต่างจากเด็กที่เลือกสายมัธยมที่ออกจะไปเข้ามัธยมที่มีถึงม.6 ตั้งแต่ม.1เลยเเละเรียนยาวไปถึง ม.6 จนถึงจบมหาลัย ผมอิงจากตัวผมและเท่าที่ผมเห็นมานะ
ของเราอยู่รร.รัฐที่นึงมันรวมทั้งม.ปลายแล้วก็ม.ต้น มันมีหลักสูตรค่อนข้างเยอะ จะขอเรียงจากห้องที่เรียนหนักสุดแล้วกันนะคะ
- smep (science math education program) ปล.ถ้าจำไม่ผิดนะคะ
- talent
- gifted
- ep (english program)
- ip (international program) อันนี้จะเป็นหลายภาษาแล้วแต่คนเลือกค่ะ เช่น จีน ไทย
- would class
ไหนๆก็บอกของมัธยมไปแล้วขอเล่าตอนประถมบ้างนะคะที่รร.เก่าเราจะแบ่งออกเป็น2หลักสูตร คือ IEP กับธรรมดาค่ะ IEP ก็เรียนเหมือนหลักสูตรธรรมดาค่ะเพียงแต่จะมีคณิต อังกฤษแล้วก็วิทย์ที่มีครูอังกฤษสอนเพิ่มด้วยค่ะ
หนูอยู่ศิลป์-ญี่ปุ่นม.ปลายค่ะ เเต่ม.ต้นร.ร.หนูไม่มีเเบ่งสายเรียนเเบบปกติเลย เป็นร.ร.รัฐของร.9 สอบเข้ายากอยู่ค่ะเพราะคนสอบเยอะมาก ไม่คิดว่าจะได้เข้า(เพราะข้อสอบยากสําหรับคนโง่คณิตเเบบหนูมากTT) ม.ต้นก็สอบปกติ เเต่ ม.ปลายเขาก็จะให้โควต้าไม่ต้องสอบไม่กี่คนสําหรับนักเรียนเก่าที่มีเกรดดี ส่วนใหญ่ก็ต้องสอบเข้า เเละมีสอบสัมภาษณ์ด้วย เเต่นักเรียนเก่าจะได้เปรียบเพราะมีโอกาสสอบได้2ครั้ง เพราะครั้งเเรกสําหรับนักเรียนเก่าเท่านั้นสอบเเค่ไม่กี่วิชาถ้าเกี่ยวกับภาษาก็จะมีศิลป์ภาษาที่ตัวเองเลือกกับอังกฤษ เเต่ต้องผ่านครึ่งถึงจะผ่าน รอบ2คือ สําหรับนักเรียนใหม่นักเรียนเก่าก็สอบได้ เเต่เเค่สอบหลายวิชากว่า ร.ร.หนูก็จะมี วิทย์-คณิต,ศิลป์-คํานวณ,ศิลป์-ญี่ปุ่น,ศิลป์-จีน,ศิลป์-ฝรั่งเศษ,ศิลป์-เทคโนโลยี ห้องหนูมีประมาญ35คน เเต่ตอนอยู่ประถมมีตั้ง45คนน่ะ เเต่ห้องคิงหนูก็ไม่มีนะ มีเเค่ห้องวิทย์คณิต ศิลป์คํานวณ เรียนหนักกว่าห้องอื่นเฉยๆ ขนาดเพื่อนหนูก็ถือว่าเก่งคณิตยังท้อเลย เรียนหนักจริงค่ะ😅
ขอบคุณสำหรับข้อมูลที่มาช่วยกันแชร์น้าา น่ารักมาก
ช่วงประมาณปี 2539 ม.1 ยังมีการเลือกสายการเรียนนะ ยกตัวอย่าง ห้อง 1/1 ศิลปะ 1/2นาฏศิลป์ แล้วก็ไล่ไป คหกรรม อุตสาหกรรม เกษตร ธุรกิจ อังกฤษ-อังกฤษ (คณิต-อังกฤษ คณิต-คณิต)
5:22 ไม่มั่นใจว่าทุกโรงเรียนที่มีหลักสูตรepจะเป็นแบบเรารึป่าวนะคะ 😅 แต่โรงเรียนเราไม่ได้เรียนกับครูฝรั่งหมดอ่ะ แค่วิชาหลักเฉยๆ เช่น อังกฤษ คณิต วิทย์ คอม แต่วิชาภาษาไทย ประวัติ สังคม ยังเรียนเป็นภาษาไทยค่ะ
นึกถึงที่บ้านที่ลพบุรีเลย ใครจบม.ต้นจากที่อื่น เช่นจบม.3 ที่โรงเรียนพระนารายณ์ ไปเรียนต่อม.ปลายที่โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย ต้องสอบเข้า แต่ถ้าต้องการต่อม.ปลายที่เดิมก็ต่อเนื่องได้เลย
ผมชอบเรื่องการเข้าร่วมชมรมของโรงเรียนญี่ปุ่นตรงที่ มีชมรมเยอะ คนในชมรมคือให้ความสนใจมากๆ ใจรักจริงๆและได้เจอคนที่ชอบในสิ่งเดียวกัน
ตอนนี้หนูมาเรียนม.2ที่ญี่ปุ่นค่ะ มา2เดือนกำลังปรับตัวค่ะ แล้วเหนื่อยมาก พยายามอยู่ค่ะ🥲🥲🥲! !
こんにちは、こんな内容も興味があります。
今はの公立学校で化学を教えています。
日本とタイの学校について知りたいと思います。いつもBeamsenseiの動画を見ます。
^ ^ ただ、タイの学校が見学したらうちの学校でも見てほしいです。
特別な学校じゃなくて、今の学校に見学して喜んでます。
ขอบคุณที่ทำคอนเทนท์แบบนี้นะคะ ไว้จะติดตามเรื่อย ๆ ค่ะ กำลังสนใจเรื่องการศึกษาของญี่ปุ่นด้วยค่ะ ได้รู้ข้อมูลดีมากๆๆ ขอบคุณค่ะ
ม.ปลายโรงเรียนที่ผมจบมา นักเรียนแต่ะห้อง20กว่าๆสำหรับสายศิล ส่วนวิท-คณิต35-40
โรงเรียนหนูมีห้องIEP\IGPตั้งแต่อนุบาล3 แล้วก็จะมีให้สอบห้องสายอื่นๆ ตอนป.3เริ่มตอนป.4-6 แล้วมีให้สอบอีกตอนป.6ขึ้นม.1-3แล้วก็สอบอีกทีตอนม.3ขึ้นม.4-6 โรงเรียนเอกชนกับโรงเรียนนานาชาติจะเป็นประมาณนี้อ่ะค่ะ
แต่ว่าตอนสอบป.4-6จะเป็นนิดๆหน่อยๆ น่าจะมีวิทย์-คณิต กับ คอม
เข้า ป.1 ก็สอบเข้าแล้วค่ะ ^^ ดูเกณฑ์ความรู้พื้นฐานของเด็ก ส่วนใหญ่ก็เรียนยาวถึง ม.6 บางคนก็ไปต่อ ม.ปลายที่อื่น สายสาธิต เตรียมฯ
รร ผม ม.ปลายก็สอบเข้านะ แค่เป็นเด็กจบ ม.ต้น จาก รร นั้นไม่ได้หมายความว่าจะได้เข้าต่อแน่นอน 100%
แต่เขาจะมีสอบภายในก่อน ค่อยไปเปิดสอบภายนอก
ตอนประถมรร.เป็นรร.รัฐหนูมีจัดหังคิงห้องควีนและห้องปรกติที่จำฉลากเข้าตอนอนุบาลกับป.1ค่าเทอมประมาณหลักพัน และก็มีห้องep ด้วยต้องสอบเข้าตั้งแต่ป.1ค่าเทอมประมาณหมื่นเก้า ส่วนหนูอยู่ห้องปรกติห้องคิงค่ะ พอขึ้นมัธยมก็เข้าโรงเรียนที่เน้นวิทย์คณิตเลยไม่มีจัดห้องคิงเพราะมีห้องเรียนแค่สี่ห้องๆละ 24 คน และรร.หนูเป็นนักเรียนทุนค่ะ
โรงเรียนหนูช่วงเช้าเรียน 4 คาบ เพราะมีพัก 20 ขั้นกลาง เเละภาคบ่ายปกติเลยเรียน 3 วิชาค่ะ
12:53ไม่จริงครับโรงเรียนผมมีนร.49คน (อาจเป็นเฉพาะบางโรงเรียนครับ)
รร หนูมีศิลป์-ดนตรี ศิลป์ท่องเที่ยว ศิลป์อาชีพด้วย มันเพิ่มมาทุกปีเลยค่ะ เขาเอาครูที่สอนมหาลัยมาสอนในแต่ละศิลป์ด้วยเท่าที่ครูอธิบาย
จริงๆการแบ่ง rank ห้องเป็นข้อดี ทั้งการสอน และสังคมในห้องของเด็ก เด็กเก่งๆก็ไม่อยากอยู่กับเด็กเกเร เด็กเกเรอยู่กับเด็กเก่งก็ตามไม่ทัน
ไทย ม.4 ก็ต้องสอบเข้านะคะ ถึงจะจบม.ต้นจากที่เดิมก็ตามมมม
สาธิต มศว ประสานมิตรฝ่ายมัธยม มีสายการเรียน23สาย(ถ้าจำไม่ผิด) ครูก็จะแบ่งเป็นกลุ่มสาระอยู่แล้ว เช่น ครูวิทยาศาสตร์ ก็สอนวิทยาศาสตร์ถ้าเป็นห้องวิทย์แพทย์ วิทย์วิศวะ ก็สอนเน้นวิทย์แบบนั้นๆไป มีวิชาตามสาย แต่ก็ตรงกับกลุ่มสาระของครูค่ะ
จริงๆหลังๆมานี้ จบม.ต้นขึ้นม.ปลายก็ต้องสอบเข้าอีกเพราะแต่ละโรงเรียนก็จะมีชื่อเสียงแต่ละช่วงม.ไม่เหมือนกัน อย่างโรงเรียนนี้ดังการสอนของม.ต้นแต่ม.ปลายไม่เด่น เด็กๆก็ต้องเตรียมตัวเพื่อแย่งสอบโรงเรียนเด่นๆตอนขึ้นม.ปลายอีกค่ะ ส่วนเรื่องคาบเรียน ในตารางการสอนมี7วิชา แต่พอไปเรียนจริงๆก็จะมีนัดเรียนนอกตาราง บางวันก็โดนนัดเรียนวันนึงตก 9-10 คาบได้เลยค่ะ เด็กไทยตอนนี้เรียนหนักมากจริงๆค่ะ
เราอยู่รรรัฐประจำจังหวัด นรค่อนข้างเยอะ ทั้งม.ต้นปลายแต่ละห้อง40-50คนเลยค่ะ
ตอนนี้ที่ไทยหลายที่ให้สอบเข้าตั้งแต่อนุบาลเลยค่ะ ประถมก็ต้องสอบเหมือนกัน 5555 ค่อนข้างช็อกเลยค่ะ เหมือนกับว่าให้สอบไหวพริบค่ะ ที่ไทยมีวิชาจ๊าบ ๆ เยอะเลยค่ะ แบบพวกกระบี่กระบอง 555
จำได้ว่าประถมบีมก็สอบแต่เป็น รร เอกชน แต่อนุบาลจำไม่ได้เลย 555 โอ๊ะะะ เคร่งเครียดไปไหนนนน แง้
@@BeamSensei ของเราตอนอนุบาลมีสอบจริงจังเลยค่ะ ให้สอบตัวต่อตัวเป็นสัมภาษณ์ แบบว่าถ้ามีนมกับน้ำอัดลมจะเลือกกินอันไหน ถ้ามีคนแปลกหน้ามาชวนไปเที่ยวจะตามไปไหม ชื่อจริงตัวเองภาษาอัวกฤษสะกดยังไง แบบนี้เลยค่ะ
ระบบห้องคิงมันดีตรงเด็กตั้งใจเรียนไปอยู่ที่เดียว เด็กไม่สนใจเรียนก็ไปรวมกันอีกห้องนึง มันไม่ถ่วงกัน แต่ถ้าเด็กห้องไหนตั้งเรียนขึ้นเก่งขึ้นก็ควรให้ย้ายห้องง่ายๆ เผื่อเด็กบางคนเบื่อเล่นเบื่อความวุ่นวายจากเพื่อนที่เอาแต่เล่นกัน อยากตั้งใจเรียน จะได้มีโอกาสทางการศึกษาในตอนนั้นเลย
เราอายุ21จบมา3ปีแล้ว จำนวนนักเรียนต่อห้อง แ1-แ6 40-44คนค่ะ ม1-ม3 50-53คนค่ะม4 50คน ม5 48คน ม6 45คน มั่งตอนนี้ลืมชื่อเพื่อนแล้วค่ะ
และหนึ่งวันที่โนงเรียนทำอะไรบ้าง คาบ1เวลา8.30-9.20 ภาษาไทย คาบ2 9.25-10.15 เป็นว่าง(ทำงานที่ต่อแั่นต่อ)คาบ3-4 10.20-12.05นาที(สาระเสิ่มเต็มเช่นสาระคณิตเราเป็นสายง.การงานอาชีพและเทคโนโลยี)พักเที่ยง12.5-13.00 คาบ5 13.00-13.50 พละนะ คาบ613.55-14.45สาระเพิ่มเต็ม คาบ714.30-15.40 วิทย์ (วันจันทน์ของเรา) ฉันเป็นสาย การงานอาชีพและเทคโนโลยี ต่อม1-ม3 เกรด
2.45 ผ่านแบบเส้นยาแดงมากค่ะรรเอา2.44 มปลายรรของเกรด2.50เราได้2.52 แต่จำนวนหน่วยกิตเพิ่มเต็มรวม80.5นะ อิอิ รรเอา80-82นะ
รร.เราที่เคยเรียนตอนประถม เขาจะเข้าแถว8โมงครึ่ง แล้วเริ่มเรียน9โมง เรียน3คาบแล้วพักเที่ยง ตอนบ่ายเรียนอีก3คาบแล้วพัก40นาที แล้วเรียนอีก1คาบ แล้วกลับบ้านค่ะ
ห้องเรียนพิเศษวิทย์คณิตบ้างโรงเรียนก็มีตั้งแต่ประถมแล้วนะคะ หนูก็เรียนห้องวิทย์คณิต ก็จะมีวิชาวิทย์เพิ่ม คณิตเพิ่มและก็มีวิชาอื่นๆที่ห้องธรรมดาไม่มี
โหดมาก โอ้ เด็กสมัยนี้ ลำบากกันมั้ยหรือยังไงก็ได้
จริงๆโรงเรียนไทยมีสอบตั้งเเต่เข้าอนุบาลเเล้วนะคะ เเต่จะไม่ได้สอบยากอะไร ส่วนใหญ่สอบการสื่อการกับพวกครู เเล้วก็พวก ก.ไก่ ไม่ก็ ABC + การอ่านนิดๆหน่อยๆ อันนี้คือของ English program ที่เคยเรียนประมาณ 10กว่าปีที่เเล้ว เเต่รู้สึกว่าสมัยนี้เห็นผู้ปกครองที่ให้ลูก,หลาน ไปเรียนจะบอกว่าข้อสอบของเด็กยากขึ้นมากเลย ส่วนภาค normal program อาจจะมีจับฉลากเข้าไปบ้างเหมือนกันค่ะ เเต่ไม่รู้ว่ามีสอบไหม (*ไม่รู้ว่าพูดได้ไหม*)เเต่บางคนก็จ่ายใต้โต๊ะเหมือนกัน
16:13เรียนในห้องเรียนเสร็จก็เรียนพิเศษต่อ(ส่วนใหญ่เป็นลูกของคนมีฐานะครับ)
ของไทยก็คล้ายๆนะ รัฐ จากสพฐ กับรัฐท้องถิ่น เช่น รร.ของกทม. (รร.วัดส่วนมาก)
面白かったです!日本の義務教育は、勉強についていけなくても、次の年には学年が上がってしまいますがタイでもそうですか?気になりました。
ありがとうございます〜
昔は上がれなかったらしいですが、今は日本と同じで、上がれます😄
ไปโรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรีหน่อยค่ะ เป็นเด็กนักเรียนนะคะ
พี่บีม ในไทยก็มีโรงเรียนกีฬานะคะ แต่หนูรู้ไม่ค่อยเยอะ เพราะไปสอบคัดนักกีฬาโรงเรียนกีฬาไม่ผ่านค่ะ แต่ก็เคยไปแข่งสนามในโรงเรียนกีฬาบ่อย แต่ที่ทราบจริงๆ นั่นก็คือ เขามีระเบียบวินัยหนักมาก ถ้าร่างกายไปไม่ถึงมีน็อกค่ะ ตื่น ตี 4-5 ซ้อมถึง 9 โมงเช้า แล้วไปเรียน เรียนเสร็จ ซ้อมต่อยาว 2-3 ทุ่ม 7 วันต่อสัปดาห์ (กีฬาส่วนใหญ่)
ของหนูสอบเข้าโรงเรียนไหนไม่ได้เลย(มีแต่หัวกะทิ!!!!!) เพราะว่าหนูเป็นออทิสติกและสติปัญญา(ครูทั่วไปดูถูกความสามารถหนูแรงมาก) หนูเลยเข้ากศน. แล้วค่อยไปเรียนภาษาเสริมควบไป หนูเรียนอังกฤษเพื่อสื่อสาร และ ญี่ปุ่น(เรียนด้วยตัวเอง แอบยาก)
日本はほとんどの学校にあると思うけど、タイには合唱コンクールとかあるのかな?
学生時代の青春を語るのに外せない思い出だから気になる!
มีครับ
日本みたいな学校行事はあまりないですね🥺
なので、アニメとか漫画見てすごく憧れてました😍😍
ของรร.เราห้องนึงมีนักเรียน40อัพหลายห้องเลยนะคะ เเบ่งคาบเรียนเป็นเช้า5คาบ พักกลางวัน เรียน3คาบ กิจกรรมชมรมจะเข้าแค่วันอังคารค่ะ ส่วนชมรมก็จะมีให้เลือก20กว่าชมรมค่ะ ทั้งโคฟเวอร์ ประชาสัมพันธ์ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ดนตรีสากล ดนตรีไทย ดีไอวาย ส่วนแนะแนวทางรร.ได้คัดออกแล้วเปลี่ยนเป็นวิชาดนตรีสากลแทนค่ะ มีสอบทุกวันศุกร์ และพักกลางวัน บางห้องอาจจะไม่ได้พักเพราะต้องไปหาคุณครูเพื่อท่องภาษาจีนทุกวันค่ะ🫶🏻 (ทางรร.จะเป็นรร.จีนที่เน้นจีนไปเลยค่ะ ทำให้ให้ความสำคะกับภาษาจีนและการท่องมากๆ)
สมัยเรียนม.ต้นเกือบๆสามสิบปีที่แล้ว โรงเรียนผมก็มีแบ่งสายแล้วเหมือนกัน แต่จะไม่ได้เรียกเหมือนของม.ปลาย อย่างผมตอนต้นก็เรียนสายวิชาการ จะเน้นวิทย์ คณิต แล้วภาษาอังกฤษ สามวิชาที่เรียนเพิ่มจากห้องอื่น ส่วนห้องอื่นที่จำได้ก็มีคหกรรม กับงานช่างมั้งถ้าจำไม่ผิด แต่พอขึ้นม.ปลายก็เหมือนกับม.ปลายทั่วไปปกติเลย
เดี๋ยวนี้ ชั้นม ต้น มีไม่เกินห้องละ40-45 เพราะอัตราการเกิดเด็กไทยต่ำลง เลยจำนวนเด็กต่อห้องลดลง มาประมาณ 5-6ปีแล้วครับ
เรียนห้องepหรือmepทุกวิชาไม่ได้เป็นอังกฤษหมดน้า ที่ได้เรียนเป็นอังกฤษมี วิทย์ คณิต pe(พละ) คอม จริงๆก็แล้วแต่รร.ด้วย แต่ส่วนมากน่าจะเป็นแบบนี้ก็หมด จากใจเด็กห้องmep(mini english program) บอกเลยว่ายากมากๆเลยค่ะ ยิ่งวิชาคณิตวิทย์นี่หัวจะระเบิด ฟังครูเขาพูดไม่ออกเลยค่ะ🥹 แต่สอบเข้าห้องนี้ได้ไงไม่รู้😂
ได้ความรู้มาก ๆ เลยครับ
จะบอกอิซากะว่า บางโรงเรียนก็มีทั้งอนุบาล ประถม มัธยมทั้งต้นและปลาย รวมอยู่ในโรงเรียนเดียวเลยก็มี 5555
โอ๊ย 555 ยาว ๆ ไป
เท่าที่ทั้งสองคนเล่ามาเนี่ย... การศึกษาระหว่างของไทยกับญี่ปุ่นอาจจะแตกต่างกันนิดนึง แต่ของญี่ปุ่นอาจจะเข้มงวดกว่าของไทยเราอ่ะนะ เหมือนในการ์ตูนอนิเมะญี่ปุ่นทุกประการ ถ้าเป็นเมื่อ 25 ปีก่อนตอนจะเข้าม.ต้นโรงเรียนรัฐบาลบางแห่งคือจ่ายตั้งแล้วเข้าเรียนได้เลย แต่ตอนนี้ก็ต้องสอบเข้าโรงเรียนที่เราต้องการจะเรียน ถ้าเป็นเข้าชมรมของโรงเรียนม.ปลายของญี่ปุ่น พวกผู้หญิงก็เข้าชมรมเข้าครัวเรือนเช่นทำอาหารซักผ้ารีดผ้าพับผ้าเป็นส่วนใหญ่ แต่พวกผู้ชายจะเข้าชมรมกีฬาที่ใช้แรงเยอะ เช่น ฟุตบอล,บาสเกตบอล,เบสบอล ฯลฯ เวลาเข้าเวรทำความสะอาดของโรงเรียนไทยเราตอนม.ต้นจะมีเวรสีต่างๆและแบ่งให้คนโน้นคนนี้คนนั้นต้องรับผิดชอบกวาดถูโน่นนี่นั่น เพื่อให้ปลูกจิตสำนึกในการรักษาทำความสะอาดทั้งในโรงเรียนและที่บ้านของนักเรียนอีกด้วย โรงเรียนที่ญี่ปุ่นก็เช่นกัน ปลูกจิตสำให้ให้นักเรียนรู้จัดทำความสะอาดตั้งแต่เด็กๆจนถึงวัยรุ่นเพื่อให้นักเรียนรู้จักรับผิดชอบรักษาความสะอาดทั้งในที่บ้านและที่โรงเรียน แม้แต่ตอนเป็นผู้ใหญ่แล้วก็ต้องรู้จักทำความสะอาดบ้าน,ที่โรงเรียนหรือว่าที่ทำงานของตัวเองเช่นกัน
อิซากะคุง น่าจะใส่ เครื่องแบบ นร.ไทยบ้างง
รอบหน้า ๆ
คลิปนี้เป็นคอนเทนต์ที่ดีมากๆเลย อยากรู้มานานแล้วเกี่ยวกับระบบการศึกษาเปรียบเทียบไทย-ญี่ปุ่น
ขอบคุณมากนะคะ ดีใจที่ชอบค่ะ
จะทำเกี่ยวกับเซมมง กับสายอาชีพในไทยอะไรแบบนี้มั้ยคะ อยากรู้ของญี่ปุ่นด้วยว่าเป็นยังไง
จำนวนเด็กในห้องเรียน คิดว่าอยู่ที่ขนาดโรงเรียนด้วยค่ะ นี่ตอนประถมซัก 10 กว่าปีที่แล้วมี 30 กว่าคน ชั้นละ 3-4 ห้อง
พอมัธยม(10ปีที่แล้ว) ย้ายไปโรงเรียนที่ใหญ่กว่า ห้องนึงประมาณ 50 กว่าคน ม.ต้น 5 ห้อง ม.ปลาย 3 ห้อง (แต่ปัจจุบันรู้สึกว่าจำนวนห้องจะเยอะกว่านี้แล้วค่ะ แต่ไม่รู้เรื่องจำนวนคน จบมานานละ)
คนขอมาเยอะเลย เดี๋ยวหาข้อมูลก่อนน้า แล้วมาคุยกัน อิอิ
โรงเรียนที่มีม.ต้นกับม.ปลายรวมกัน เราจะมีสิ่งที่เรียกว่าโควตาศิษย์เก่า=ได้เรียนแน่นอน ถ้าเลือกต่อที่เดิม แต่ก็ต้องตามเงื่อไขของเขาอย่าง เกรดไม่ต่ำกว่าที่กำหนด หรือคะแนนความประพฤติไม่โดนหักจนถึงที่กำหนด แบบนี้อะค่ะ
เป็นกำลังใจให้ครับ ^_^
เรื่องนักเรียนแต่ละห้องมีจำนวนกี่คนนั้น สมัยรุ่นๆพวกเราก็จะเยอะครับ 50+ ห้องไหนมีเลขหลัก 40 คือถือว่าน้อย แต่สมัยนี้เนื่องจากเด็กมีจำนวนน้อยลงกว่ารุ่นเรามากจริงๆ ตอนนี้ผมเป็นครูโรงเรียนรัฐ ส่วนมากห้องนึงจะแค่ 30-40 คนเองบางชั้นบางห้องเหลือหลัก 20 ปลายๆด้วยซ็ำ
จริงด้วยเนอะ บีมก็ลืมคิดไปว่าเด็กน้อยลงกว่าสมัยบีมเยอะเลย ฮ่า
ไทย..ก็มีท้องถิ่น คือร.ร.สังกัดเทศบาลในกทม.ก็มีร.ร.ในสังกัดเและสังกัด อบจ...เนื่องจากหนูบีมเป็นเด็กกทม. จึงไม่ทราบว่าร.ร.ในต่างจังหวัด มีร.ร.ประจำจังหวัด ร.ร.วิทยาศาสตร์ (จุฬาภรณ์) ร.ร.ในสังกัด มหาลัย (ร.ร.สาธิต) ฯลฯ
ถ้ามีโอกาส อยากเห็นคุณอิซากะลองเข้าค่ายลูกเสือสักครั้งจัง 555555 ภาพในหัวเราคือขำไปก่อนแล้ว จะงงไหมว่าทำไมต้องคัทฉากก่อนกินข้าว 😂😂
ที่ไหนรับบ้าง อยากส่งไป 555
ผมเรียนโรงเรียนเทศบาลตั้งแต่อนุบาล-ประถม 6 มีชั้ยละ 5 ห้อง ห้องละประมาณ 30 คน (ไม่รู้ว่ายุคนี้กี่คนแล้วนะ) ห้องKing จะไม่ได้นับว่าเป็นห้อง 1 เสมอไป เเต่พวกครูจะรู้ว่าห้องไหนห้องKing มีการคัดตั้งแต่ประถมปลาย ก็คือ ป.4-6 ห้องKing จะคัดเอา ที่ 1-5 หรือมากกว่าของแต่ละห้องมาอยู่ด้วยกัน ได้ 25-30 คน ว่าไป และห้องต่อๆไปก็คัดยังไงไม่รู้55
// พอมามัธยมก็เข้าโรงเรียนประจำอำเภอ ก็ค่อนข้างเเข่งขันกันสูง สอบเข้าตั้งแต่ ม.1 มีการสอบแยก แบบห้องธรรมดา และห้อง King ชัดๆไปเลย ส่วนมากจะรับคนในท้องถิ่นก่อน มีอยู่ 9 ห้อง ห้องละไม่เกิน 40 คน ส่วนมากจะ 30 กว่าๆ ห้องคิงจะจ่ายเยอะกว่าห้องธรรมดาอยู่ 2-3 พัน การเรียนคล้ายกันกับห้องอื่นๆ พอมาม.ปลายก็แข่งขันกันหนักยิ่งขึ้น มีแบ่งสาย วิทย์-คณิต ไทย-สังคม ศิลป์-คำนวณ และ พละ-เกษตร (ห้องท้าย 8-9) ก็จะแบ่งกันชัดมากๆและเวลาทำกีฬาสีก็มักจะจับให้ห้อง 1 หรือ King มาร่วมกับห้องเกษตร เพื่อรวมความต่างให้หลากหลาย แน่นอนว่ามีทะเลาะกันบ้างแน่ๆในโรงเรียน การแบ่งฝ่าย พันธมิตรห้อง/สาย
// ไม่รู้ที่ รร อื่นเป็นมั้ย ศึกระหว่าง ห้อง King กับ ห้อง 2 (เก่งสุดสำหรับห้องปกติ) จริงๆเด็กนักเรียนก็เพื่อนๆกันนี่แหละแต่ครูชอบเปรียบเทียบและกดดันให้ 2 ห้องแข่งกัน
//กิจวัตรประจำวัน
1) มาโรงเรียน
2) นั่งชิว,ปั่นการบ้านที่โต๊ะ ม้านั่งที่ประจำ ไม่ก็ที่ห้องของตัวเอง
3) เพลงขึ้น ให้ไปทำเวรความสะอาดที่จุดรับผิดชอบของห้องตัวเอง คนที่เป็นเวรห้องไม่ต้องทำให้ไปทำความสะอาดบนห้อง
4) เพลงโรงเรียนขึ้น เก็บอุปกรณ์ทำความสะอาดและไปเข้าเเถว
5) เรียนๆ 4 คาบ
6) พักกินข้าวกลางวันที่โรงอาหาร และก็แยกย้ายกันไป เช่น ไปรอห้องเรียนวิชาบ่าย ไปเล่นบอล บาส วอลเลย์ แบดมินตัน เปตอง ปั่นการบ้านที่โต๊ะม้านั่งประจำ
7) เรียนอีก 3 คาบ
8) คนที่ไม่มีเรียนพิเศษก็กลับบ้าน ห้อง King มีคาบที่ 8 เลิกช้ากว่าห้องอื่นๆ เสร็จแล้วก็เตรียมตัวเรียนพิเศษ ต่อยัน 17:00 น. หรือมากกว่านั้น
9) เรียนพิเศษเสร็จเปลี่ยนชุดบาส ไปซ้อมบาสที่สนาม จน 20:00 น. กลับบ้าน (อันนี้แล้วแต่คนนะ)
10) กลับบ้านกินข้าว ทำการบ้าน เล่นเกม อาบน้ำ นอน และก็วนลูปไป
มีอยู่แค่ตอน ม.4-5 จะมีไปเรียนพิเศษ ตอน 19:00 ถึง 21:00 วิชาเคมี ที่บ้านครู ตึงเครียดมากแต่ก็สอนละเอียด
ความรักในวัยเรียนหวานอมขม มีทั้งรักในห้องเดียวกัน ชอบกับเพื่อนห้องอื่นๆ หรือข้ามชั้น ม.ปลายชอบ ม.ต้น ก็ยังมี เเละที่เสียดายอยากให้มีเหมือนญี่ปุ่นคือ การจัดนิทัศการโรงเรียน ที่เราเคยดูตามอนิเมพวก ฮารุฮิ เค-อง บลาๆ ชมรมก็ไม่มีโรงเรียนผม ชม.ชุมนุมก็จะให้มารวมกันที่ห้องคล้าย Home-room ส่วนมากจะนั่งป่นงาน ไม่ก็นอนกัน
ขอบคุณที่มาเล่าให้ฟังนะ อ่านพลินเลยยย
@@BeamSensei ยินดีครับ 😄 เรื่องวัยเรียนหรือวัฒนธรรมแต่ละที่นี่คุยได้เพลินๆจริงครับ
สายอาชีพอะพี่ ปวช. ปวส. มีไหมครับ เพิ่มเติม ม.ปลายลูกเสือไม่มี แต่มี รด. รักษาดินแดน วิชายุวชนทหาร ตามความสมัครใจครับ
แบ่งสายการเรียนรู้สึกว่าจะมีตั้งแต่ประถมเลยนะแต่ถ้าเป็นประถมไม่เชิงแบ่งสายการเรียนแต่จะเป็นเด็กห้องพิเศษมากกว่า(ในส่วนที่เคยเจอมา) เพราะรร.ตอนประถมของเรามีห้องMEPที่เน้นภาษาอังกฤษกับคณิตศาสตร์และก็ห้องวิทย์คณิตที่เน้นวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ซึ่งจะมีค่าเทอมที่แพงกว่าเด็กห้องธรรมดาเป็นพิเศษแต่ก็จะตามมาด้วยสิ่งที่ได้รับมากกว่า เช่น ได้อยู่ห้องแอร์ มีล็อกเกอร์ มีการเรียนการสอนพิเศษที่เพิ่มเข้ามาและก็มีการเข้าค่ายพิเศษสำหรับห้องพวกนี้ด้วย ส่วนมัธยมต้นก็มีแค่ห้องวิทย์พิเศษกับห้องธรรมดา ซึ่งก็เหมือนเดิมที่ค่าเทอมแพงกว่ากับได้เรียนวิชาเพิ่มเติมที่เน้นไปสำหรับห้องวิทย์คณิต มีการเข้าค่ายสำหรับห้องวิทย์พิเศษบ่อยๆ แต่ถ้าเป็นม.ปลายก็แบ่งตามปกติคือ วิทย์คณิตพิเศษ วิทย์คณิต ศิลป์ภาษา ศิลป์คำนวณและก็ศิลป์ทั่วไปที่จะมีวิชาให้เลือกเรียนพวกช่าง กีฬา คหกรรมอะไรแบบนี้ แต่ถ้าเป็นรร.ดังๆรู้สึกว่าจะมีห้องวิทย์หมอ วิทย์วิศวะอะไรแบบนี้ด้วย โหดมาก🥹
ไม่เกิน40คนจริงครับแต่มี7-8ห้องเลยม.4 8ห้อง อะไรประมาณนั้น สำหรับโรงเรียนใกล้บ้านผมนะ
ที่โรงเรียนเรานี่ บางวันจะมีคาบ 0 ด้วย 7 10-7 50 ค่า(ห้องวิทย์คณิตน่าจะเจอเยอะว่าแผนอื่น ๆ ) ส่วนตัวคือเข้าเกือบไม่ทันบ่อยมาก ๆ เพราะบ้านไกล55555 วิ่งตาเหลือกทุกเช้า ถ้าเข้าไม่ทันครบกำหนดก็หมดสิทธิ์สอบได้ วันไหนมีคาบ 0 จะลุ้นมาก ๆ ค่ะ
ส่วน 8 00-8 30จะเป็นเข้าแถว+ฟังครูใหญ่บ่น แล้วก็เริ่มคาบแรก 8 30 ค่ะ เรียน 7 คาบ เลิก 15 30 พอดีค่า
คาบ 0 คืออะไรอะ แงงงงงงงงงงงงง ทำไมไม่นับเป็น 1
@@BeamSensei คาบ 0 คือเริ่มก่อนเวลาเรียนปกติฮะ ปกติเราเริ่มคาบ 1 ตอน 8 โมงครึ่งใช่ม้า อันนี้เริ่มก่อนก็จะเป็นคาบ 0 ฮะ ไม่ได้มีทุกวันนะแต่เจอทุกเทอมเลย มากสุดที่เคยเจอคือ 3 วันจาก 5 วันค่า
ไม่รู้คุณบีมจะนับโรงเรียนสายอาชีพเป็นโรงเรียนด้วยหรือเปล่า หรือจะนับว่าเป็นวิทยาลัย ระบบการศึกษาไทยนอกจากสายสามัณแล้วยังมีสายอาชีพด้วย จบม.3 ไม่ต่อสายสามัณก็ต่อสายอาชีพ ไม่รู้ที่ญี่ปุ่นมีไหมนะสายอาชีพเนี่ย ยังไงน่าจะลองทำคลิปเทียบไทยกับญี่ปุ่นดูนะครับว่าโรงเรียนสายอาชีพบ้านเขากับบ้านเราต่างกันไหม ... ของไทยน่าจะแยกเป็น พวกช่างกล ช่างไฟฟ้า ช่างเชื่อม ช่างก่อสร้าง ช่างอุตสาหการ คอมพิวเตอร์ บัญชี เขียนแบบ การเรือน (ทำอาหาร) การโรงแรม การท่องเที่ยว วิจิตรศิลป์ ดนตรี (ดุริยางคศิลป์) ตอนนี้เห็นมีความพยายามที่จะก่อตั้งโรงเรียนสอนพวก logistic ขึ้นมาอีก ไม่รู้ถึงไหนแล้ว น่าจะประมาณนี้แหละ ของญี่ปุ่นไม่รู้มีไหม แยกประเภทไว้ยังไง และจบชั้นไหนถึงไปต่อสายอาชีพได้นะ
นับค่ะ ๆ แต่ว่าอันนี้ยังไม่ได้คุยถึงสายอาชีพ เดี๋ยวสายอาชีพต้องไปหาข้อมูลสักพักก่อน เพราะว่าทั้งบีมกับอิซากะเป็นสายสามัญทั้งคู่เลย ยังไงคลิปนี้น่าจะมีแน่ แต่รอหน่อยน้าาา ต้องไปสัมภาษณ์ผู้คนสายอาชีพมาก่อน รอดูกันนะคะ ^^
ประเด็นนี้ก็น่าสนใจมากๆ ครับ ผมมีลูกว้ยประถมด้วย รู้สึกว่า สมัยนี้เด็กไทยเรียนอะไรยากมาก ทั้งยาก ทั้งเยอะ กำลังอยากรู้เชียวครับว่า ที่ประเทศอื่นเขาเรียนกันแบบนี้หรือเปล่า
การศึกษาช่วงม.ปลายน่าจะลืมพวก สายอาชีพไปนะคะ
ส่วนโรงเรียนรัฐบาลกลางของญี่ปุ่นน่าจะเกรดเทียบเท่ากับพวกโรงเรียนสายเตรียม สายสาธิต ของมหาลัยที่เปิดสอนมั้งนะคิดว่า
จริงๆ ถ้าเราเป็นเด็กในพื้นที่บริการของ รร. นั้น เราสามารถเข้าได้เลย แต่อาจจะมีการสอบคัดห้อง ส่วนที่คัดออกจะเป็นเด็กนอกพื้นที่บริการครับ โดย รร.ส่วนใหญ่จะจัดแผนชั้นเรียนเอาไว้รองรับเด็กในพื้นที่ไว้แล้ว ถ้ามีที่นั่งเหลือจะรับเด็กพื้นที่บริการได้ครับ
แต่ว่าตอนบีมอยู่พื้นที่บริการต้องจับฉลากเอานะ เพราะว่าคนเกิน
ผมนี่ อยากพรีเซ้นต์มากกกก สตรีวิทยา 2 ม.1 - ม.6
ม.ปลาย เด็กห้องควีน ศิลป์-ฝรั่งเศส แต่พวกศิลป์-คำนวณ ให้เรียน ภาษาญี่ปุ่น คิดเอา ไม่แฟร์เลย 5555+
จำนวน นร. ในห้องหรอ ของเรา 47 คน ทั้ง ม.ต้ม ม.ปลาย เลยแหละ
ชมรม ก็แยกเลย ชอบเพลงฝรั่ง จำได้ขึ้นใจเลย แค่ ม.ต้น ส่วน ม.ปลาย จำไม่ได้นะ แต่ชอบอ่านเรื่องประวัติศาสตร์นานาชาติ
ม.ต้น เจอทุกๆ อย่างเลยจร้า เลข/วิทย์/ไทย/อังกฤษ/สังคม/พละ/ช่าง/ฯลฯ
แถมจบมา เกรดไม่ถึงด้วย แต่มีสอบเปลี่ยนสายได้ จาก ทั่วไป เปลี่ยนเป็น ศิลป์-ฝรั่งเศส ตอนสอบได้นี่ โคตรดีใจ ก่อนไปดูบอร์ดเจอแบงค์ 20 พาเฮง 555+
ม.ปลาย นี่ ENG หลัก / ENG เสริม อ่าน-เขียน & ฟัง-พูด / ฝรั่งเศส หลัก / ฝรั่งเศส เสริม วิชาสังคม-ประวัติศาสตร์
บีม : ห้องละไม่เกิน 40 คน คาบ 7-8 คาบ
โรงเรียนผม(บางห้อง) : 41 คน
และเรียน 9 คาบ
เอาจริงๆเราเพิ่งขึ้นม1มา เราจะบอกว่า มันเกิน40คนนะ แต่อันนี้ไม่รู้ของโรงเรียนอื่นนะ ห้องเรามี45คน ห้องอื่นน่าจะมี40คนขึ้นไป แต่45น่าจะเยอะสุดสำหรับโรงเรียนเราแล้ว ใครมีข้อมูลจะแลกเปลี่ยนตอบเราต่อได้เลยนะคะ
ตอนเราเรียนม.ต้นเราเคยอยู่ห้อง 49 คนค่ะ ลาออก 1 เหลือ 48 เยอะมากแบบตะโกน
พอม.ปลายลดลงเยอะค่ะ ส่วนใหญ่จะไม่ค่อยเกิน 40 แล้ว เพราะก็จะมีบางส่วนจากม.ต้นไปเรียนสายอาชีพด้วย
อยากให้ไปเยี่ยมชมโรงเรียนเอกชน ยานากาวา ที่นครศรีธรรมราช
อ่าอีก1ปีก็ม.1แล้วอะได้ยินปุบรีบทำใจบับเล😢
ดูเหมือนไม่ค่อยจริงเลยนะคะ ห้องละไม่เกิน 40 ห้องเราตอนอยู่ ม.6 (ปี64) ห้องเรา 43 คนค่ะ😂😂😂😂 จริงๆ แล้วยังมีสายการเรียนอื่นๆ ด้วยนะคะพวกโรงเรียนใหญ่ๆ เช่น สายคหกรรม กีฬา ทวิภาคี ฯลฯ ค่ะ
ส่วน ม.ต้น เรามีการแบ่งสายค่ะแต่จะสอบแยกต่างหาก บางโรงเรียนมีห้องนานาชาติด้วยค่ะเราจึ้งมาก😂
ชมรม สมัยผม สวนกุหลาบฯ จริงจังมากนะครับ มีชมรมเป็นสิบๆ
จากที่เล่ามา ขอเล่าประสบการณ์ตอนพี่ยังเด็กนะ ตอนนี้พี่ 30 กว่า ๆ ละ
ของพี่ไม่ได้สอบเข้านะ แต่เป็นระบบสอบคัดห้อง ก็เหมือนที่น้องบีมบอก เราจะเรียกห้องคิง แล้วก็ห้องบ๊วย (ซึ่งเอาจริง ๆ ถ้าวัดคะแนนห้องโดยรวม แน่นอนละมีนห้องคิงจะสูงกว่า แต่ถ้าวัดเป็นรายคน เด็กห้องบ๊วยบางคน ได้คะแนนชีววิทยา หรือเคมี ชนะห้องคิงก็มี)
ตอนพักกลางวันโรงเรียนพี่สลับเวลากันพัก (ม.ต้น ม.ปลาย ไม่งั้นโรงอาหารแตก) แล้วก็มีเวลาพักเบรกอีก 1 เวลา ประมาณ 30 นาทีตอนบ่าย 2 อาหารไม่มีฟรี ซื้อทานเอา ร้านอาหารมีราว ๆ 30 ร้าน แต่ร้านน้ำมีผูกขาด 2 ร้าน (จริง ๆ พี่ก็สงสัยนะ ตอนอยู่โรงเรียนเราก็เก็บจานชามเองนะ แต่ทำไมพอออกมาสังคมข้างนอกถึงไม่เก็บ ทั้ง ๆ ที่โรงเรียนก็สอน 😢)
เวรทำความสะอาดห้องไม่มี เรามีภารโรง
ผมมีคำถามอะครับ อยากทราบว่าที่ญี่ปุ่น มีโรงเรียนสายอาชีพเหมือนไทยมั้ย แบบจบ ม.3 ไม่เรียนต่อ ม.ปลาย แต่ย้ายไปเรียนสาขาอาชีพ ปวช.ปวส สาขาช่าง สาขาพานิชอะไรแบบนี้อะครับ
มีค้าบ ไว้ไปศึกษาแล้วจะมาเล่าให้ฟังนะ
@@BeamSensei รับทราบคราบบบ
หลังๆห้องต่อห้องไม่เกิน25คนแล้วบางห้องออกก่อนหรือตกชั้นเหลือแค่ประมาณ10-15คนต่อห้อง
18:20 ของผม ม.ปลายก็มีลูกเสือครับรร.สห แต่ส่วนใหญ่จะมีแต่ผญ.เพราะผู้ชายไปเรียน นศท. หรือที่เรียกว่า รด.นั่นละ แต่รร.คุณบีมเป็นหญิงล้วนไงเลยไม่มี ซึ่งคนญี่ปุ่นไม่มีแน่ๆ อิซะกะต้องไม่เข้าใจชัวร์ ถึงความน่ากลัวของการจับใบดำใบแดง