Street DIY ใช้ไดโอดขนานแผง ในงานโซล่าร์เซลเพื่ออะไร ขนาดแผงต่างกันขนานได้หรือไม่

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 20

  • @Billionman-md6pu
    @Billionman-md6pu 5 หลายเดือนก่อน +1

    ตั้งใจให้ความรู้ดีคับ แต่อธิบายหน่วยไม่ถูกต้อง ขั้นตอนอธิบายก็เข้าใจยาก

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  5 หลายเดือนก่อน +1

      ขออภัยด้วยครับ

  • @AkhomLPD
    @AkhomLPD ปีที่แล้ว +2

    ตามที่ดูมันมีข้อต่อไดโอดที่แผงแล้วไม่ใช่เหรอครับ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  ปีที่แล้ว

      จากที่วัดดูมันก็ยังวนอยู่ดีครับ เพราะตัวมันเล็กความร้อนสูง ก็เอาไอตัวใหญ่มารับภาระนี้อีกที เพราะแค่ 0.5-1A ลงชาร์จเจอร์ก็หายไปถือว่าเยอะครับ แผงใหม่ๆที่ผมใช้มา มันก็ได้หละ พอไปสัก 6-7 เดือน ไดโอดติดแผงก็เริ่มรั่วนิดๆแล้ว พอเพิ่มของใหม่เข้าไปที่กำลังไฟดีกว่า มันก็วนอยู่ที่ตัวมันเองเกิดความร้อนด้วยครับ อีกอย่าง แผงกำลัง W ต่างกันเอามาขนานกันยิ่งควรต่อไม่งั้น จาก 25ปี น่าจะเหลือ 10-15ปี ได้ครับ

    • @mr.kaysonkoniea3015
      @mr.kaysonkoniea3015 3 หลายเดือนก่อน

      เดิมไม่มีนะ ที่มีคือช่างเขาเลือกใช้mc4ที่มีไดโอดด้วยครับ

  • @boomza1462
    @boomza1462 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าไฟจากแผงเกินมา 100 วัตต์ ปกติรับได้ 1700 แต่แพงได้ 1800 ในระบบ 24 โวลต์ ชาร์ทเจ้อจะเป็นอะไรไหมชาร์จเจอร์ 60 Aของซูเออ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  ปีที่แล้ว

      จริงๆมันก็ไม่เป็นไรครับ เพราะมันจะดันลงแบตฯได้สูงสุดที่ 60A แต่ทีนี้เรื่องที่จะตามมาคือ ชาร์จเจอร์จะทำงานหนักครับความร้อนสูงอายุมันก็จะสั้นลง ถ้าแพงเกินมาต้องจำกัดกระแสอย่าให้ไปถึง 60Aหรือ 100% ของที่ระบุไว้ครับ ถ้าอยากให้เต็ม 1800W จริงๆ ตามหลักต้องแยกเป็น 2 สตริงแล้วตีสาย 4 เส้นลงชาร์จเจอร์ 2 เครื่องแทนครับ มันจะเต็มประสิทธิภาพกว่า ความร้อนน้อยกว่า

  • @someone299art
    @someone299art ปีที่แล้ว +1

    แล้วอย่างออนกริด ที่เราอนุกรมมา 10 แผง จำเป็นต้องใส่ไดโอดไหมครับ? ถ้าใส่ ควรใส่ตรงไหนครับ? ขอบคุณสำหรับคำตอบครับ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  ปีที่แล้ว

      ในกรณี อนุกรมกันมาเยอะ ในชุดเดียว 10แผง ไม่จำเป็นต้องใส่ครับ ในกรณีที่จะใส่จริงๆ คือใส่แบบกันย้อนจากอินเวอร์เตอร์ กับอีกอย่างคือมีการอนุกรมอีก 10 แผง แล้วจับมาขนานกันเป็น 2 สตริง อันนี้ถึงจะสามารถ ใส่ไดโอทกันย้อนได้ ครับ แต่โดยส่วนมากระบบออนกริท ที่อนุกรมเป็น ไฟสูงลงอินเวอร์เตอร์ มักจะไม่ใส่ไดโอทกันเนื่องจากว่า ขนาดของแผงจะเท่ากันทุกแผงและมีเพียงสตริงเดียว ก็ไม่จำเป็นต้องใส่ไดโอทครับ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  ปีที่แล้ว

      ในกรณี อนุกรมแผงไม่ว่าจะ 8 แผง 10 แผง 2 สตริง เป็น 20 แผง ขนานกัน มันก็มีการต่อ อีกแบบนึง ซึ่ง จะใช้ ไดโอท 10 ตัว 1 ตัวใช้ ขนานแผง 1 คู่ แล้วจึง อนุกรม จนครบ 10 แผง ก็จะมาค่า Lost น้อยที่สุด แต่ข้อเสียคือ ต้องใช้ไดโอท 10 ตัว สายไฟ PV ขนานแผงอีก 10 คู่ ซึ่งราคาเอาเรื่องครับ

    • @someone299art
      @someone299art ปีที่แล้ว

      @@nineonstreet เข้าใจชัดเจนเลย ขอบคุณมากๆ สำหรับวิทยาทานครับ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  ปีที่แล้ว

      @@someone299art ขอบคุณเช่นกันครับ

  • @chanmon7622
    @chanmon7622 ปีที่แล้ว

    ❤❤❤

  • @pongsakornsangthong3484
    @pongsakornsangthong3484 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอดูโครงเหล็กวางแผงหน่อยครับ ที่เห็นข้างหลังเป็นหน้าจั่วทิศออก-ตก ใช่ไหมครับ ผมติดปัญหาหันแผงไปทางทิศใต้ไม่ได้ ถ้าติดออก-ตก สองฝั่งแล้วขนานด้วยไดโอดจะได้หรือไม่ ขอบคุณครับ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  5 หลายเดือนก่อน +2

      ใช่ครับ เนื่องจากจั่วหลังคาบ้านผมลาดลงทางทิศเหนือพอดีผมจึงต้องทำโครงแก้ 15องศา เพื่อรับทิศใต้ครับ แล้วก็เรื่องลมด้วยลมจะพัดเข้าอีกฝั่งนึง มากกว่าด้านที่ติดแผงยิ่งช่วงพายุฝนจะเข้าฝั่งด้านใต้เต็มๆ ฝั่งที่ติดแผงจะถูกบังพอดีครับ ส่วนกรณีของพี่จำเป็นต้องติด 2 ด้านของหลังคาสามารถทำได้ครับ แล้วขนานทั้ง 2 สตริงด้วยไดโอด ช่วยได้มากครับ

  • @mekhinthongjerm1104
    @mekhinthongjerm1104 10 หลายเดือนก่อน +1

    เมื่อทำการทดลองเสร็จแล้วอย่าลืมนำกล่องมาใส่ไดโอดด้วยนะครับเพราะตรงแผ่นระบายความร้อนมีไฟบวกแบบเปลือยๆ

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ

  • @sawaengthonghum
    @sawaengthonghum 5 หลายเดือนก่อน +1

    ไดโอดตัวนี้ถ้าเอาไฟAc220vเข้าไฟขาออกจะเป็นไฟDcหรือAc

    • @nineonstreet
      @nineonstreet  5 หลายเดือนก่อน

      DC ครับแต่มันจะเป็น สัญญาณครึ่งเดียวครับใช้งานแบบผสมAC/DC ไฟไม่ได้ มันใช้กันย้อนใน DC ด้วยกันครับ แต่ถ้าจะ ผสมไฟ ต้องเป็นแบบ บริจไดโอดถึงจะเป็นสัญาณ DC ปกติซึ่งมันจะใช้งานในวงจรพวกความถี่สูงได้ครับ