اسم المفتي : لجنة الإفتاء ومراجعة سماحة المفتي العام الدكتور نوح علي سلمان الموضوع : زيادة لفظ: "سيدنا" في الصلاة على النبي صلى الله عليه وسلم عند التشهد رقم الفتوى : 512 التاريخ : 14-02-2010 التصنيف : صفة الصلاة نوع الفتوى : بحثية السؤال : ما حكم زيادة لفظ سيدنا في التشهد الأخير في الصلاة الإبراهيمية؟ الجواب : الحمد لله، والصلاة والسلام على سيدنا رسول الله ثبت في الأحاديث الصحيحة أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال: (أنا سيد ولد آدم) رواه مسلم، فسيدنا محمد صلى الله عليه وسلم هو سيد الناس كلهم من عهد آدم إلى يوم القيامة، بل هو سيد الإنس والجن والملائكة أيضًا، وقد عاب الله تعالى على الذي ينادون النبي صلى الله عليه وسلم باسمه المجرد، فقال: (لَا تَجْعَلُوا دُعَاء الرَّسُولِ بَيْنَكُمْ كَدُعَاء بَعْضِكُم بَعْضاً) النور/63، وقال تعالى: (يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا لَا تَرْفَعُوا أَصْوَاتَكُمْ فَوْقَ صَوْتِ النَّبِيِّ وَلَا تَجْهَرُوا لَهُ بِالْقَوْلِ كَجَهْرِ بَعْضِكُمْ لِبَعْضٍ أَن تَحْبَطَ أَعْمَالُكُمْ وَأَنتُمْ لَا تَشْعُرُونَ) الحجرات/2. ولذلك فليس من قبيل الأدب ذكر اسم النبي صلى الله عليه وسلم مجردا عن الصلاة والسلام عليه، أو من غير ألفاظ التبجيل والتعظيم. وأما زيادة لفظ: "سيدنا" في الصلاة الإبراهيمية فقد اختلف فيها الفقهاء على قولين، والمعتمد في مذهبنا استحباب هذه الزيادة وإن لم ترد في صيغة الصلاة التي علمها النبي صلى الله عليه وسلم أصحابه، وذلك لأن في زيادة لفظ "السيادة" الامتثال لما أُمرنا به من الأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم، وامتثال الأدب أفضل من الاقتصار على الوارد في الصيغة التي علمها النبي صلى الله عليه وسلم أصحابه، ألا ترى كيف رجع أبو بكر الصديق رضي الله عنه عن موقف الإمامة حين تأخر النبي صلى الله عليه وسلم عن الإمامة بسبب الانشغال في الإصلاح بين المتخاصمين، مع أن النبي صلى الله عليه وسلم أشار إليه أن يبقى مكانه، ولكنه رضي الله عنه قال: (مَا كَانَ لِابْنِ أَبِي قُحَافَةَ أَنْ يُصَلِّيَ بَيْنَ يَدَيْ رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّم) متفق عليه. وكذلك استدل العلماء على هذه القاعدة: "سلوك الأدب أفضل من الامتثال" برفض علي بن أبي طالب رضي الله عنه محو كلمة "رسول الله" من كتاب صلح الحديبية. فقال العلماء: وإن كان النبي صلى الله عليه وسلم لم يعلم الصحابة لفظ: "سيدنا" في الصلاة الإبراهيمية، فنحن نزيدها حرصا على كمال التأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم، والتغيير اليسير في أذكار الصلاة لا يضر في صحة الصلاة. ولذلك ذهب جماعة من أهل العلم إلى جواز هذه الزيادة، منهم: العز بن عبد السلام، والقرافي، والرملي، والجلال المحلي، وقليوبي، والشرقاوي، والحصفكي، وابن عابدين، والنفراوي، وغيرهم. ينظر: [مغني المحتاج 1/ 384] وإن كان نقل عن ظاهر المذهب اعتماد عدم استحباب الزيادة، [أسنى المطالب4/ 166] لزكريا الأنصاري، ] و[حاشية تحفة المحتاج2/ 88] و[الموسوعة الفقهية 11/ 346]. والخلاصة أن من زاد لفظ السيادة في التشهد في الصلاة من باب التأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم لا حرج عليه، ومن تركها التزاما بما ورد عن النبي صلى الله عليه وسلم في هذا المقام لا حرج عليه أيضا، فالأول يعظم النبي صلى الله عليه وسلم بذكر سيادته، والثاني يعظمه بترك الزيادة على ما روي عنه، والكل على خير، والمهم أن لا يسيء بعضنا الظن ببعض، ونحن متفقون على وجوب محبة وتعظيم سيدنا محمد صلى الله عليه وسلم، وقد أمرنا الله تعالى بأن يكون صفنا متراصا، خاصة في مثل الظروف التي نعيشها، والتي يريد البعض بعثرة الصفوف بمثل هذه الخلافات، عملا بالقاعدة الاستعمارية: "فَرّق تَسُد" والله أعلم
ได้ครับ ตามทรรศนะมัสฮับชาฟีอี นับเป็นสิ่งที่สมควรกระทำอย่างยิ่งครับ وذهب جماعة من أهل العلم وهو المعتمد عند الشافعية إلى استحباب زيادة لفظ "سيدنا" في الأذان والتشهد وغيرهما، قال الرملي في نهاية المحتاج: والأفضل الإتيان بلفظ السيادة -أي في التشهد في الصلاة- كما قاله ابن ظهيرة وصرح به جمع، وبه أفتى الشارح -المحلي- لأن فيه الإتيان بما أمرنا به وزيادة الإخبار بالواقع الذي هو أدب فهو أفضل من تركه وإن تردد في أفضليته الأسنوي، وأما حديث: لا تسيدوني في الصلاة. فباطل ولا أصل له كما قاله بعض متأخري الحفاظ، وقول الطوسي: إنها مبطلة غلط. انتهى
ขอบคุณ อาจารย์ ค่ะ เพิ่งเข้ามาไม่กี่วัน ไม่รู้อ่านอย่างไรจึงไพเราะ
ค่อยเป็นค่อยไปครับ
ขออัลลอฮ ช่วยเหลือ ให้ได้รับความง่ายดายครับ
ค่ะ
ขจขขจจจจขขขขขจขขขข
สู้สู้ครับอามีนยาร็อบบัลอาลามีน
❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤❤
นั่งตะชะฮุดนี่ใช้บทเดียวได้ทุกครั้งเลยไหมผมงงๆเห็นอ่านกันแต่ละละหมาดไม่เหมือนกัน
บทเดียวกันครับ เพียงแต่ ในรอกาอัตที่สอง จะอ่านหยุดที่ อัลลอฮุมม่าซ้อลลิอาลาซัยยิดินามุฮัมมัด ครับ
ส่วนรอกาอัตสุดท้าย สุนัตให้อ่านซอลาวาตเต็ม แต่ถ้ายังไม่ค่อยได้ อ่านเพียงที่ผมหยุดเอาไว้ (นั้นคือ ว่าอาลาอาลิ ซัยยิดินามุฮัมมัด) ก้อใช้ได้แล้วครับ
@@teacherkitr8994 ถ้าไม่ใช่คำว่าซัยยีดีนาใด้ไหม่คับ
@@AAa-ib1dn ได้ครับ ละหมาดใช้ได้ แต่นักวิชาการมีความเห็นเป็นสองทรรศนะว่า
1 การเรียกท่านนบีโดยเรียกชื่อท่านเลยนั้นเป็นการเสียมารยาท หรือเรียกว่า ไม่มีอาดับ คือจะเรียกชื่อ คนรักของอัลลอฮผู้ที่พระองค์ทรงรักมากที่สุดด้วยชื่อห้วนๆ มันน่าเกลียด อย่างเราแค่จะเรียกชื่อ พ่อแม่ หรือครู ด้วยชื่อ เปล่าๆ โดยไม่มีคำนำหน้านี่ก็ถือว่าหยาบคายแล้ว ถูกไหมครับ ฉะนั้น นักวิชาการจึงใส่คำว่าซัยยิดินา (แปลว่า นายท่าน คุณท่าน นายของเรา) ก่อนหน้าชื่อท่านนบีครับ ซึ่งทำได้ ครับ
2 แบบไม่ใส่ ก็ทำได้ครับ ตามรายงานฮาดีษที่มีมา หรือถ้าเราท่องไม่จำจิงๆ ก้อตัดได้ครับละหมาดยังใช้ได้อยู่เช่นกัน
สรุป : ใส่หรือไม่ใส่ก็ละหมาดใช้ได้ครับ แต่ทรรศนะที่ให้ใส่นั่นคือเป็นการรักษามารยาทต่อท่านนบี จะดีกว่า วัลลอฮุอะลัม
اسم المفتي : لجنة الإفتاء ومراجعة سماحة المفتي العام الدكتور نوح علي سلمان
الموضوع : زيادة لفظ: "سيدنا" في الصلاة على النبي صلى الله عليه وسلم عند التشهد
رقم الفتوى : 512
التاريخ : 14-02-2010
التصنيف : صفة الصلاة
نوع الفتوى : بحثية
السؤال :
ما حكم زيادة لفظ سيدنا في التشهد الأخير في الصلاة الإبراهيمية؟
الجواب :
الحمد لله، والصلاة والسلام على سيدنا رسول الله
ثبت في الأحاديث الصحيحة أن رسول الله صلى الله عليه وسلم قال: (أنا سيد ولد آدم) رواه مسلم، فسيدنا محمد صلى الله عليه وسلم هو سيد الناس كلهم من عهد آدم إلى يوم القيامة، بل هو سيد الإنس والجن والملائكة أيضًا، وقد عاب الله تعالى على الذي ينادون النبي صلى الله عليه وسلم باسمه المجرد، فقال: (لَا تَجْعَلُوا دُعَاء الرَّسُولِ بَيْنَكُمْ كَدُعَاء بَعْضِكُم بَعْضاً) النور/63، وقال تعالى: (يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُوا لَا تَرْفَعُوا أَصْوَاتَكُمْ فَوْقَ صَوْتِ النَّبِيِّ وَلَا تَجْهَرُوا لَهُ بِالْقَوْلِ كَجَهْرِ بَعْضِكُمْ لِبَعْضٍ أَن تَحْبَطَ أَعْمَالُكُمْ وَأَنتُمْ لَا تَشْعُرُونَ) الحجرات/2.
ولذلك فليس من قبيل الأدب ذكر اسم النبي صلى الله عليه وسلم مجردا عن الصلاة والسلام عليه، أو من غير ألفاظ التبجيل والتعظيم.
وأما زيادة لفظ: "سيدنا" في الصلاة الإبراهيمية فقد اختلف فيها الفقهاء على قولين، والمعتمد في مذهبنا استحباب هذه الزيادة وإن لم ترد في صيغة الصلاة التي علمها النبي صلى الله عليه وسلم أصحابه، وذلك لأن في زيادة لفظ "السيادة" الامتثال لما أُمرنا به من الأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم، وامتثال الأدب أفضل من الاقتصار على الوارد في الصيغة التي علمها النبي صلى الله عليه وسلم أصحابه، ألا ترى كيف رجع أبو بكر الصديق رضي الله عنه عن موقف الإمامة حين تأخر النبي صلى الله عليه وسلم عن الإمامة بسبب الانشغال في الإصلاح بين المتخاصمين، مع أن النبي صلى الله عليه وسلم أشار إليه أن يبقى مكانه، ولكنه رضي الله عنه قال: (مَا كَانَ لِابْنِ أَبِي قُحَافَةَ أَنْ يُصَلِّيَ بَيْنَ يَدَيْ رَسُولِ اللَّهِ صَلَّى اللَّهُ عَلَيْهِ وَسَلَّم) متفق عليه. وكذلك استدل العلماء على هذه القاعدة: "سلوك الأدب أفضل من الامتثال" برفض علي بن أبي طالب رضي الله عنه محو كلمة "رسول الله" من كتاب صلح الحديبية.
فقال العلماء: وإن كان النبي صلى الله عليه وسلم لم يعلم الصحابة لفظ: "سيدنا" في الصلاة الإبراهيمية، فنحن نزيدها حرصا على كمال التأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم، والتغيير اليسير في أذكار الصلاة لا يضر في صحة الصلاة.
ولذلك ذهب جماعة من أهل العلم إلى جواز هذه الزيادة، منهم: العز بن عبد السلام، والقرافي، والرملي، والجلال المحلي، وقليوبي، والشرقاوي، والحصفكي، وابن عابدين، والنفراوي، وغيرهم.
ينظر: [مغني المحتاج 1/ 384] وإن كان نقل عن ظاهر المذهب اعتماد عدم استحباب الزيادة، [أسنى المطالب4/ 166] لزكريا الأنصاري، ] و[حاشية تحفة المحتاج2/ 88] و[الموسوعة الفقهية 11/ 346].
والخلاصة أن من زاد لفظ السيادة في التشهد في الصلاة من باب التأدب مع النبي صلى الله عليه وسلم لا حرج عليه، ومن تركها التزاما بما ورد عن النبي صلى الله عليه وسلم في هذا المقام لا حرج عليه أيضا، فالأول يعظم النبي صلى الله عليه وسلم بذكر سيادته، والثاني يعظمه بترك الزيادة على ما روي عنه، والكل على خير، والمهم أن لا يسيء بعضنا الظن ببعض، ونحن متفقون على وجوب محبة وتعظيم سيدنا محمد صلى الله عليه وسلم، وقد أمرنا الله تعالى بأن يكون صفنا متراصا، خاصة في مثل الظروف التي نعيشها، والتي يريد البعض بعثرة الصفوف بمثل هذه الخلافات، عملا بالقاعدة الاستعمارية: "فَرّق تَسُد" والله أعلم
@@teacherkitr8994 ลูกเต๋าออนไลน้
เล่นได้ไหมคับ
ขอทุกขั้นตอนและทุกการละหมาดได้ไหมค่ะ
อินชาอัลลอฮ ครับ
มีเน้นตรงไหนเป็นพิเศษไหม ครับ
เพราะที่เหลือ ในส่วนคำกล่าวซิเกร น่าจะมีแต่สั้นๆ แล้ว
@@teacherkitr8994 เริ่มตั้งแต่นียัดตักเบรเลยครับ
ใช้ๆรบกวนด้วยนะครับ☺️☺️อามีน
อจ.ค่ะในการละหมาดหากเราม่ด้อ่านดูอาร์อิฟตีฮ์(อัลลอฮ์ฮูอักบัรกาบีรอ)นั้นการละหมาดของเราจะเซาะม่ค่ะ
@@สารีฟะทองเอียด ใช้ได้ครับ เพราะดุอาอิฟติตาอ์ เป็นสุนัตครับ
ในช่วงอ่าน(อัซฮาดูอัลลาอีลาฮาอิลลัลเลาะฮ์วาอัซฮาดูอันมาดอรอซูลูลเลาะฮ์)ต้องเหนียตอะไรไหมครับ
ไม่ต้องเหนียตครับ แต่ถ้านึกถึงความหมายไปด้วยในขณะอ่าน จะเป็นสิ่งที่ดีเยี่ยมครับ
@@teacherkitr8994 สุนนะเชยๆใช่ไหมครับ
@@saideesaming7556 มันไม่ใช่วายิบ ถูกต้อง ครับ อุลามาอฺมองว่า มันเป็นหนึ่งในการช่วย ให้มีสมาธิในละหมาดอีกด้วยครับ
@@teacherkitr8994 ต้องนึกถึงอะไรครับ
@@saideesaming7556 ความหมายของแต่ละประโยคที่อ่านครับ
ในรอกะอัตสุดท้าย ถ้าอ่านจบแค่ วาอาลาอาลีซัยยีดีนามูฮำหมัด ถือว่าละหมาดใช้ได้มั้ยคะ
ได้แล้วครับ
เรียนมา ไม่เห็นท่องเหมือนกันเลยคับ ทำไมแต่ละอาจารสอนท่องไม่เหมือนกันคับ งง
คืออย่างนี้นะครับ , การายงานฮาดีษ ที่ตกทอดมานั้น มีหลายตัวบท , แต่ละตัวบท ก็เป็นสิ่งที่สามารถปฏิบัติได้เช่นกัน เพราะท่านนบีได้เคยปฏิบัติ หรือสอนเอาไว้ , ฉะนั้น เราสะดวกท่องต้นไหน ที่มีรายงานมาก็ได้เลยครับ ไม่ผิดครับ ,😉
จริงด้วย บ้างท่องมันไม่เหมือนกัน
ขอภาษาอาหรับด้วยค่ะ ขอที่มีสระประกอบนะคะ
التَّحِيَّاتُ المُبارَكَاتُ، الصَّلَواتُ الطَّيِّباتُ لِلَّهِ، السَّلامُ عَلَيْكَ أيُّها النبيُّ ورَحْمَةُ اللهِ وبَرَكاتُهُ، السَّلامُ عَلَيْنا وعلى عِبادِ اللهِ الصّالِحِينَ، أشْهَدُ أنْ لا إلَهَ إلّا اللَّهُ، وأَشْهَدُ أنَّ مُحَمَّدًا رَسُوْلُ اللَّهِ ، اللّٰهُمَّ صَلِّ عَلَى سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍ وَعَلَى آلِ سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍ ، كَمَا صَلَّيْتَ عَلَى سَيِّدِنَا إِبْرَاهِيْمَ وَعَلَى آلِ سَيِّدِنَا إِبْرَاهِيْمَ ، وَبَارِكْ عَلَى سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍ وَعَلَى آلِ سَيِّدِنَا مُحَمَّدٍ ، كَمَا بَارَكْتَ عَلَى سَيِّدِنَا إِبْرَاهِيْمَ وَعَلَى آلِ سَيِّدِنَا إِبْرَاهِيْمَ ، فِي الْعَالَمِيْنَ إِنَّكَ حَمِيْدٌ مَجِيْدٌ .
ยะซากัลลอฮ์ค่ะ
👉
ตรีมอเสะ ❤ บาบอมากๆ
ผมอ่านไม่ได้อะครับจะละหมาดได้ไหม
หากว่า เรายังอ่านไม่ได้ ก็ค่อยๆ ฝึกไปครับ
ละหมาด ใช้ได้ครับ อัลลอฮทรงรู้ยิ่ง ถึงความตั้งใจของเราว่าเรายังไม่ได้ จริงๆ
เช่น มุอัลลัฟ คือ คนที่พึ่งเข้ารับอิสลามใหม่ เค้าก็อ่านยังไม่ได้กัน พอละหมาดไปสักพัก ใช้วิธีวางตำรา กระดาษ ที่ถ่ายไว้ ด้านหน้าให้ตามองเห็น แล้วอ่าน ทุกวันๆ ไม่นานครับจำได้ อินชาอัลลอฮ
@@teacherkitr8994 จารครับผมอยากถามเรื่องเวลาละหมาดหน่อยครับ ผมกลับมาจากทํางานกว่าจะอาบนํ้าทําอะไรเสร็จก็เกือบ6โมงแล้วซึ่งผมขาดละหมาด ดุรี่ กับอัสรี่ ที่นี้พอผมจะละหมาดผมก็ต้องละหมาดเร็วมากให้ทันเวลาซึ่งเวลาใกล้มักริบเขาห้ามละหมาดผมควรทํายังไงดีครับ. เหลือไม่ถึง10นาทีก่อนมักริบผมก็ละหลาดไปซึ่งเขาห้ามละหมาดถ้าผมละหมาดไปจะบาปไหม
@@คนจะรวยช่วยไม่ได้-ฎ1ป ละหมาดดุฮรี่นั้น ตกเป็นละหมาดกอดอ(ละหมาดชดใช้) อันนี้ตอนไหนก็ได้หลังจากนั้น ที่ดีควรรีบเร่งที่สุด เพราะบาปจะได้หลุดไปโดยไว ส่วนละหมาดอัสรี่ นั้นหากยังไม่หมดเวลา ให้ทำเค้าก่อนที่หมดเวลา จะได้ไม่ตกเป็นละหมาดกอดอ
แล้วเวลา ที่บอกว่าใกล้มักริบห้ามละหมาด เรียกวักตูการาฮะห์ นั้น คือ ห้ามละหมาดสุนัต อันนี้เราละหมาดฟัรดู ฉะนั้นได้ครับ
@@teacherkitr8994 ขอบคุณครับ
@@teacherkitr8994 จารครับผมสงสัยอีกเรื่องละหมาดคนเดียวอ่านเสียงดังไหมแล้ว ร็อกอัตที่3-4ต้องอ่านออกเสียงไหมละหมาดคนเดียวครับ
การอ่านอัตตาฮี้ยา มีกี่แบบครับ แล้วที่ท่านนบีสอนเป็นแบบไหนครับ
“หลายแบบ” ขอเรียกว่า หลาย รายงานนะครับ และทุกรายงานมาจากท่านนบีทั้งหมด
นึกภาพตามนะครับ
ท่านนบี ละหมาดอยู่ที่หนึ่ง แล้วทำแบบหนึ่ง พอละหมาดอีกที่หนึ่งแล้วทำอีกแบบ หรือ อยู่ที่หนึ่งอ่านแบบหนึ่ง อยู่อีกที่อ่านอีกแบบ คราวนี้ ซอฮาบัต ที่ได้ยิน ได้เห็น เขาก้อเล่าตามที่เขาเห็นและได้ยิน ฉะนั้น คำถามว่า นบีสอนคือแบบไหน ตอบแล้วนะครับ คือทุกแบบ
ต่อมา ทำไม ท่านนบี สอน ไม่เหมือนกันละ
คำตอบ เพราะเป็นการเปิดกว้างให้ประชะชาติของท่าน และไม่ทำให้ศาสนานั้นคับแคบ
วัลลอฮุอะลัม
0:11
สัยยีดีน่า ใส่ในละหมาดได้ป่าวครับ
ได้ครับ ตามทรรศนะมัสฮับชาฟีอี นับเป็นสิ่งที่สมควรกระทำอย่างยิ่งครับ
وذهب جماعة من أهل العلم وهو المعتمد عند الشافعية إلى استحباب زيادة لفظ "سيدنا" في الأذان والتشهد وغيرهما، قال الرملي في نهاية المحتاج: والأفضل الإتيان بلفظ السيادة -أي في التشهد في الصلاة- كما قاله ابن ظهيرة وصرح به جمع، وبه أفتى الشارح -المحلي- لأن فيه الإتيان بما أمرنا به وزيادة الإخبار بالواقع الذي هو أدب فهو أفضل من تركه وإن تردد في أفضليته الأسنوي، وأما حديث: لا تسيدوني في الصلاة. فباطل ولا أصل له كما قاله بعض متأخري الحفاظ، وقول الطوسي: إنها مبطلة غلط. انتهى
@@teacherkitr8994 อัลฮัมดูลิ้ลละ
แล้วถ้าไม่ใส่ไซยีดีนาหละผิดมั้ย
@@kungkung4512 ไม่ผิดครับ
น่าจะทำเป็นตัวอักษรอ่านตามด้วยจะได้จำอักษรได้
มะอัฟด้วยครับ ตอนนั้น ที่อัด ทำไม่เป็นครับ
ผมกำลังท่องจะได้แล้วแต่ยังลืมๆอยู่
ขออัลลอฮประทานความง่ายดายให้นะครับ
@@teacherkitr8994 ตรือลีมอกาเสหครับอาจาร์