สำเนียงภาษาพูดในสมัยอยุธยา

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 8 เม.ย. 2018
  • แท้จริงแล้วผู้คนในสมัยอยุธยาเมื่อราว 300 ปีก่อน เขามีสำเนียงการพูดอย่างไร? มาเรียนรู้เกี่ยวกับความแตกต่างของภาษาไทยระหว่างอดีตและปัจจุบัน พร้อมฟังตัวอย่างเสียงคุณพี่หมื่นแบบคนโบราณกัน!

ความคิดเห็น • 50

  • @prai-samun
    @prai-samun ปีที่แล้ว +12

    เคยฟังคุณสุจิตต์ เขาบอกว่า คนอยุธยาพูดเหน่อลาวหลวงพระบาง ก็คือเป็นสำเนียงหลัก หรือ สำเนียงหลวง คนบางกอกที่พูดสำเนียงแบบทุกวันนี้คือคนพูดเยื้อง สำเนียงแปลกพิลึก พอตั้งราชธานีใหม่ที่บางกอก คนส่วนใหญ่สำเนียงบางกอก ก็เลยกลายเป็นสำเนียงหลักแทนสำเนียงหลวงพระบางแทน น่าสนใจ
    สำเนียงที่มีต้นกำเนิดที่จีนตอนใต้ เดินทางผ่านการค้าการขาย ถึงลาวหรือเมืองลุ่มแม่น้ำโขง และมาสุพรรณ มาสุโขทัย เมื่อสุพรรณยึดอยุธยาได้จากราชวงศ์อู่ทอง ที่เดิมทีพูดเขมร ก็เปลี่ยนเป็นพูดไท ถ้าไม่เป็นแบบนี้ ปัจจุบันเราอาจจะพูดเขมรมากกว่า ลาว ไท บาลี สันสกฤต ก็ได้

    • @user-lm6rn5xo8s
      @user-lm6rn5xo8s 6 หลายเดือนก่อน

      เขมรเป็นชนเผ่าที่ถูกจับตัวมาจากเกาะสุลาเวสีและเกาะชวาสังเกตได้จาก DNA เขมรคล้ายชาวชวาต่างกันแค่ไม่กี่เปอร์เซ็นต์แล้วที่สำคัญเกณมาเป็นทาศแล้วจะมาเป็นจ้าวใด้ไงและอีกอย่างไอสุจิตมันไม่ใช่นักวิชาการคนไทยในภาคกลางและภาคใต้มีDNAมอญไม่ใช่เขมรล่าสุดยูเนตโก้ลบความเชื่อจักรรรวัติเขมรแล้วพูดง่ายๆจักรรวัติเขมรไม่มีจริง😂

    • @user-lm6rn5xo8s
      @user-lm6rn5xo8s 6 หลายเดือนก่อน +2

      มาโคโปโล,พม่า,ล้านนาบันทึกว่าคนละโว้พูดไทยปนมอญ

    • @doubleskrealshit9109
      @doubleskrealshit9109 4 หลายเดือนก่อน

      พอๆกับ สุจิต นักวิชาการก็ไม่ได้เป็น อ้าปากมาก็บอกไทยมาจากเขมร จะรั่ว มั่วชิปหาย เเค่ DNA ก็ต่างละ

  • @rung771
    @rung771 2 ปีที่แล้ว +11

    เรื่องการศึกษาภาษาไทยในอดีตที่พัฒนามาจนถึงปัจจุบัน สมควรเผยแพร่ ศึกษาวิเคราะห์ใหเป็นสาขาหนึ่งให้กระจายในหมู่คนไทย ผมว่าความสำคัญและความกระจ่างมีได้มากกว่าการไปศึกษาว่าชาติไทยมาจากไหน ซึ่งออันนั้นมันยาวไป แต่การสืบจากกการวิวัฒนาตัวหนังสือในไทยอาจจะทำให้การระบุชาติไทยน่าจะทำได้ง่านและกระจ่างกว่า เพราะนี่คือหลักฐานที่เป็นรูปธรรมทางด้านอักษรที่สืบไปถึงอยุทยาและอาจจะก่อนอยุทธยา บางทีอาจจะทำให้เข้าใจความสัมพันธ์อักษรสุโขทันที่เป็นอีกความรู้ชุดใหม่ - เมื่อก่อนภาษาพูดกับภาษาเขียนจะต่างกัน เขาไม่เอาภาษาพูดมาเขียน แและเอาภาษาเขียนมาพูด แต่เดี๋ยวนี้ภาษาพูดกับภาษาเขียนคือตัวเดียวกัน

  • @user-gy5nm4er4g
    @user-gy5nm4er4g 5 ปีที่แล้ว +10

    ไปฟังเจราโขน​ เขายังอนุรักษ์สำเนียงอโยธยาไว้อยู่ครับ

  • @teveryqin5603
    @teveryqin5603 3 ปีที่แล้ว +5

    คำเดิมอย่างสวย ตัวสะกดที่ใช้แค่เห็นก็เดาได้เลยความหมายต้องมงคล

  • @user-mh5rd6fy5e
    @user-mh5rd6fy5e 4 ปีที่แล้ว +5

    ช่องนี้ให้ความรู้ดี

  • @user-tb1sy3vf7n
    @user-tb1sy3vf7n 3 ปีที่แล้ว +12

    คล้ายสุโขทัย​ คล้ายหลวงพระบาง(ลาว)​

  • @montreesakulhuha152
    @montreesakulhuha152 2 ปีที่แล้ว +3

    สุพรรณมากๆ

  • @btheb6290
    @btheb6290 6 ปีที่แล้ว +11

    เสียงเหน่อ คล้ายสุพรรณ

  • @parinthron_9870
    @parinthron_9870 2 หลายเดือนก่อน

    รู้ได้ยังไงครับ

  • @ajtom4987
    @ajtom4987 3 ปีที่แล้ว +7

    ลาวเลยครับ แต่ไม่ใช่ลาวกลาง ออกไปทางลาวเหนือหลวงพระบาง

    • @pb.4119
      @pb.4119 2 ปีที่แล้ว +1

      ไทดำ ไทแดง ไทขาว ภูไท ก็พูดสำเนียงแบบนั้น ในจารึกขุนจิดขุนจอดในสุโขทัย เค้าระบุว่า ต้นเป็น ไทเลือง เป็นปัจจุบันสืบได้อยู่เวียดนามครับ

  • @joesho211
    @joesho211 4 ปีที่แล้ว +6

    สำเนียงโคราช และ ระยอง จันทร์ ตราด

  • @kittikunn.3688
    @kittikunn.3688 5 ปีที่แล้ว +4

    เหมือนสำเนียงกาญจนบุรี สำเนียงสุพรรณ

  • @nattysmile829
    @nattysmile829 5 ปีที่แล้ว +2

    ชุมชนล้านนาในอยุธยาก็มีอยู่ทั่วไป ในอยุธยานอกเกาะเมือง เช่น วัดแค เจดีย์สมัยเชียงแสน

  • @aoychiangmai5104
    @aoychiangmai5104 6 ปีที่แล้ว +2

    555 น่ารักไปอีกแบบค่ะ

  • @user-iw8vd8ds7r
    @user-iw8vd8ds7r 3 ปีที่แล้ว +2

    ได้เรียนรู้เรื่องภาษาไทยและประวัติศาสตร์ครับ

  • @sunduncan1151
    @sunduncan1151 6 ปีที่แล้ว +16

    ผมอ่านงานวิจัยด้านภาษาตระกูลไทกะไดของอ.พิทยาวัฒน์มาเยอะมากครับ
    ผมคนสุโขทัย สำเนียงที่อ.พูดนี้ ผันเสียงวรรณยุกต์คล้ายสำเนียงสุโขทัยปัจจุบันมากเลยครับแต่ไม่เหมือนกันเป๊ะ ๆ แผ่น=แผ็น, ตก=ต๋ก, พูด=พูด๋,พ่อ=พ๋อ,แม่=แม๋,นั่ง=นัง๋ เพราะจริง ๆ แล้วชาวอยุธยาส่วนหนึ่งก็เป็น “ชาวเหนือเสียงเกื๋อไก๋” ที่ถูกเทครัวจากแคว้นสุโขทัยลงมาอยู่ภาคกลางไม่ใช่น้อยด้วย
    ภาษาสุโขทัยมีรูปวรรณยุกต์แค่ ๒ รูปแต่ผันได้ถึง ๖ เสียงเช่นเดียวกับภาษาล้านนา ได้แก่ “เลา เล่า เล้า เหลา เหล่า เหล้า” (๖ คำนี้ทั้งคนสุโขทัยและล้านนาออกเสียงวรรณยุกต์ต่างกันหมดเลย แต่ภาคกลางผันได้แค่ ๕ เสียง คือ “เล่า” กับ “เหล้า” รวมเป็นเสียงเดียวกัน) และยังมีคำศัพท์ไทเดิมมากกว่าภาคกลาง ซึ่งพบในภาษาล้านนา ล้านช้าง ไทใหญ่ ปักษ์ใต้ และภาษาเจ๊ะเหด้วย

    • @user-id1bs6gi1u
      @user-id1bs6gi1u 5 ปีที่แล้ว +2

      Sun Duncan หยุดมโนซะทีว่าภาษาอยุธยาที่พูดสมัยก่อนมาจากสุโขทัย ภาษาอยุธยาสมับก่อนคือสำเนียงแบบสุพรรณสำเนียงแบบโขน ทั้งสุพรรณและละโว้มีส่วนผลักดันให้เกิดกรุงศรีอยุธยาขึ้น เบื่อไอ้พวกมโนชอบคิดว่าจังหวัดตัวเองเป็นต้นกำเหนิดของทุกๆอย่าง ไม่ได้ลืมหูลืมตาบ้าง

    • @user-ej7wf1kr7e
      @user-ej7wf1kr7e 5 ปีที่แล้ว +1

      สำเนียงสุโขทัยนึกถึงสำเนียงแบบพี่เท่ง เถิดเทิง

    • @user-ej7wf1kr7e
      @user-ej7wf1kr7e 5 ปีที่แล้ว +3

      เอาเข้าจริงโทนสำเนียงแต่ละที่ก็ต่างกันไปนิดหน่อย สำเนียงจริงๆน่าจะผสมกันมากกว่า 1 ทางนะผมว่า
      จะทฤษฎีจากหลวงพระบาง หรือจากสุโขทัยก็ตามที เอาเข้าจริง ก็อาจะมาจากการผสมจากหลายที่ก็ได้

    • @NNP167
      @NNP167 5 ปีที่แล้ว +3

      ผมว่าไม่ค่อยเกี่ยวกันอะ สุโขทัยกะอยุธยา สุโขทัยน่าจะได้รับอิทธิพลจากส่วนกลางมาภายหลังมากกว่า ทำให้ภาษาสุโขทัยออกไปทางภาษากลาง แต่อย่างไรก็ตามยังคงเค้าของความเป็นภาษาถิ่นได้อย่างชัดเจนซึ่งต่างจาก ภาคกลางมาก บางครั้งผมยังฟังไม่ออก เลย ทั้งการออกเสียงคำ ระบบวรณณยุกต์ เอาง่ายๆ คำตาย ภาษาถิ่นสุโขทัย ขึ้นเป็นทางเสียงตรี แทบทั้งนั้น เช่น กัด เป็น กั๊ด , บกเป็นบ๊ก ในขณะที่ภาษาอยุธยาหรือภาคกลางอื่นๆ ไม่ได้ผัน มีตั้งแต่เพชรบุรี ลงไปจนถึงปักษ์ใต้ ถึงจะเริ่มเป็นแบบนี้ ในขณะที่ล้านนา หรืออีสาน ก็ขึ้นเสียงตรีคล้ายๆกัน คำศัพท์ก็ต่าง อย่างสุโขทัยยังมีคำศัพท์ที่ใช้ตรงหรือคล้ายกะล้านนาหลายคำอย่างน่าปะหลาดใจเช่น ตะวาน ล้านนาใช้ตะวา แปลว่าเมื่อวาน ตะคืน แปลว่าเมื่อคืน วันลือ(วันฮือ) แปลว่า มะรืน เป้นต้น แต่อยุธยาไม่มีคำเหล่านี้เลย

    • @humanape6031
      @humanape6031 4 ปีที่แล้ว +1

      กูก็งงมึงจะเถียงกันทำไมสุดท้ายมึงก็พวกเดียวลงมาตั้งแต่เดียนเบียนฟูแต่ไม่ยอมรับเพราะเรื่องชาตินิยมแบ่งแยกไทยลาวการศึกษาเลยเป็นแค่ขี้สุดคำว่าไทยจอมพลปอแม่งสร้างขึ้น

  • @ggez7833
    @ggez7833 5 ปีที่แล้ว +2

    สำเนียงพิมาย โคราชครับ

  • @user-sq9zk1xw7o
    @user-sq9zk1xw7o 3 ปีที่แล้ว +1

    เสียงเหน่อคล้ายกาญจบุรีเลย
    แต่กาญจบุรีจะเหน่อกว่านี้เยอะมากๆ

  • @marcydufferin505
    @marcydufferin505 ปีที่แล้ว +1

    คล้ายๆภาษาหลวงพระบางเลย

  • @vichta4943
    @vichta4943 4 ปีที่แล้ว

    สำเนียงสมัยก่อนคงจะออกไปทางลพบุรี

    • @laninmohammed588
      @laninmohammed588 3 ปีที่แล้ว

      สำเนียงยังไงอ่ะ

  • @user-nn7pj4iw1d
    @user-nn7pj4iw1d 4 ปีที่แล้ว +10

    เหมือนลาวเมืองเลยผสมลาวพิดโลกผสมเพชรบูรณ์

  • @whitehole1581
    @whitehole1581 3 ปีที่แล้ว +34

    สำเนียงอยุธยา คือ สำเนียงภาคตะวันตกในปัจจุบัน มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "สำเนียงสุพรรณ"
    จริงๆ จังหวัดในแถบตะวันตกตั้งแต่อุทัยธานีลงมาถึงเพชรบุรีล้วนเป็นคนในอาณาจักรสุพรรณภูมิโบราณทั้งสิ้น โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่สุพรรณบุรี สำเนียงพูดมันเลยเหมือนๆ กัน
    เมื่อกษัตริย์ราชวงศ์สุพรรณไปยึดอยุธยามาจากกษัตริย์ราชวงศ์ละโว้ สำเนียงสุพรรณจึงเข้ามามีบทบาทในกรุงศรีอยุธยาอย่างเต็มที่
    สำเนียงสุพรรณไม่ใช่สำเนียงตลก หากแต่เป็นสำเนียงที่ขลังและเท่มาก ที่มันดูตลกเพราะสื่อไปทำให้มันออกมาตลก ของจริงแนะนำให้ไปหาคลิปเสียงเทศน์ของหลวงปู่สดหรือหลวงปู่ชั้วที่เป็นคนสุพรรณมาฟังดู ขลังสุดๆ เหมือนหลุดไปอยู่ในดินแดนลึกลับต้องมนตร์
    _______________
    สำเนียงภาคตะวันตกหรือสำเนียงสุพรรณเป็น "เหน่อมอญทวารวดี" อ.ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ ท่านได้เขียนไว้ในหนังสือ “ศรีสุพรรณภูมิ” ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 ปี พ.ศ. 2553 หน้า 160-162 โดยมีข้อความดังนี้
    "สําหรับเรื่องสําเนียงพูดเหน่อหรือที่เรียกว่า 'เหน่อสุพรรณ' นั้น มีกว้างขวางตั้งแต่ เพชรบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี อุทัยธานี คือบริเวณถิ่นเก่าแก่ดั้งเดิมของมอญอาณาจักรทวารวดีนั่นเอง เรื่องขุนช้างขุนแผนก็เป็นไทยปนมอญ มีเรื่องพัวพันกันอยู่ระหว่างสุพรรณบุรีกับกาญจนบุรี ความจริงเสียงเหน่อนี้ควรเรียกว่า 'เหน่อมอญ' เพราะสุพรรณบุรีเป็นเมืองมอญ ผู้คนทางฟากตะวันตกจึงล้วนมีเชื้อมอญ เรื่องขุนช้างขุนแผนความจริงก็เป็นเรื่องของพวกมอญทั้งเพ คําว่า 'พลาย' แปลว่า 'หนุ่ม' (เช่น พลายแก้ว, พลายชุมพล) ชื่อ เครื่องดนตรีไทย เช่น จะเข้ ฯลฯ ก็เป็นคํารามัญ ตํานานเมืองก็บอกไว้ว่าย่านนี้เป็นถิ่นมอญเก่า โบสถ์มอญ วิหารมอญ เจดีย์มอญ ที่ยังเหลืออยู่บ้างในวัดป่าเลไลยก์ วัดพระมหาธาตุ วัดพระรูป วัดโคกกระต่าย ฯลฯ ล้วนหันหน้าไปทางตะวันตกทั้งสิ้น ผู้เขียน (อ.ประทุม) สงสัยจึงถามผู้ใหญ่คนเฒ่าคนแก่เมืองสุพรรณบุรีก็ได้รับคําตอบกลับมาว่า เพื่อเป็นที่ระลึกเตือนใจว่าครั้งหนึ่งบรรพบุรุษเราเคยอยู่ทางทิศตะวันตก นอกจากนี้ ในช่วงก่อน พ.ศ. 2500 มีคณะละครชาตรีพื้นบ้านและคณะโขนนั่งราวหรือโขนกลางแปลงพื้นบ้านมีชื่อมาเที่ยวแสดง อยู่ในเขตอ่างทอง สุพรรณบุรี ผู้เขียน (อ.ประทุม) เป็นเด็กเคยดูที่วัดเกาะ ตําบลดอนมะสัง ตื่นเต้นสนุก ติดใจมาก ตัวละครที่เล่นบทเป็นคนมอญเขาจะพูดไทยแต่เลียนสําเนียงชาวมอญ ซึ่งใครได้ฟังก็จะรู้ทันทีว่า นี่แหละคือต้นกําเนิด ของ 'เหน่อสุพรรณ' ผู้เขียน (อ.ประทุม) นั้นยังจําได้แม่นจนถึงทุกวันนี้"

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 ปีที่แล้ว +1

      ถ้าลองฟังดู ก็ไม่เหมือนสุพรรณเสียทีเดียวนะครับ ภาษา เมื่อเวลาผ่านไป ก็มีการเปลี่ยนแปลงไป อาจนิดหน่อย แต่ก็เปลี่ยน เราอาจจะบอกไม่ได้ว่าสำเนียงอยุธยาสมัยนั้นเหมือนสุพรรณเป๊ะๆ แต่ถ้าบอกว่าใกล้เคียง ก็คงได้บ้าง สำหรับผม คิดว่ามีความคล้ายสำเนียงทางระยองเหมือนกันนะ

    • @whitehole1581
      @whitehole1581 2 ปีที่แล้ว +1

      @@hilatchikkakul8980
      พวกเจ้าสุพรรณไปยึดอยุธยาและขึ้นปกครองอยุธยายาวนานกว่าใครเขา สำเนียงตะวันตกนี้มันเลยแพร่ไปทั่วเขตแดนสยามครับ

    • @hilatchikkakul8980
      @hilatchikkakul8980 2 ปีที่แล้ว

      @@whitehole1581 แต่มันไม่เหมือนเป๊ะนะครับ มันคงมีพัฒนาการแยกไปของมันเอง ตามท้องถิ่นที่ต่างกัน ที่แยกกันเป็นเวลานาน

  • @user-is3rd5wr4v
    @user-is3rd5wr4v 4 ปีที่แล้ว +1

    คล้ายภาษาไทยสำเนียงใต้

  • @sometimepowdercoat9759
    @sometimepowdercoat9759 3 ปีที่แล้ว +1

    คำบางคำผมว่ามันคล้ายภาษาอีสาน นะครับ

    • @moshisquadno3069
      @moshisquadno3069 5 หลายเดือนก่อน

      ไม่แปลกค่ะ ภาษากลุ่มไทเหมือนกันๆ

  • @ninahdjdjfdd1420
    @ninahdjdjfdd1420 4 ปีที่แล้ว +1

    เหน่อ นั่นแหละ

  • @Jammy4838
    @Jammy4838 3 ปีที่แล้ว

    อาจารโดนไปกี่ตัวแล้วคับ 55 หยอกๆ

  • @user-oz7lr4bg9x
    @user-oz7lr4bg9x 5 ปีที่แล้ว +9

    1:03 คำว่า "จึง" ตำแหน่งที่ใช้ในปัจจุบัน ถูกย้ายมาด้านหลัง เมื่อหลังสงครามโลก เพราะเป็นระบบการเรียงคำแบบภาษาจีน เดิมถูกใช้ในถิ่นกรุงเทพเท่านั้นครับ
    ส่วนพยัญชนะและสระ ถ้าเป็นสำเนียงกรุงเทพนี้คือแบบมั่วไปจากเดิมมาก เช่น สระอะ สระอึ ฉ ช ฌ ญ ย ร ล และอีกเพียบ

  • @panpraai
    @panpraai 4 ปีที่แล้ว

    ทำไมหนูขำนิ ...

  • @Noo_Lhothong.w800
    @Noo_Lhothong.w800 2 ปีที่แล้ว

    เห็นบอกว่าสมัยอยุธยาเป็นเมืองหลวง พูดแบบเดียวกับไทยโคราช ไม่รู้จริงเปล่า

  • @nipapraod8777
    @nipapraod8777 3 ปีที่แล้ว

    อ๋อ คล้ายๆ เสียง เหน่อ คำพูดปกติ แต่คล้ายๆ เสียงเหน่อ 5555 อย่าง ภาษากลาง กับ ภาษาสุพรรณ ใน คำพูดเดียวกัน

    • @user-oz7lr4bg9x
      @user-oz7lr4bg9x 3 ปีที่แล้ว

      ต้องเรียกว่า สำเนียงกลางที่เราใช้ในระบบการเรียนการสอนภาษาไทยในปัจจุบัน คือสำเนียงที่ใช้ในจังหวัดอยุธยา เอาเข้าจริงๆก็ต่างกับสำเนียงสุพรรณแค่วรรณยุกต์ ตัวคนที่วิดีโอให้สัมภาษณ์เขาก็พูดสำเนียงอยุธยา ไม่ได้พูดสำเนียงกรุงเทพ จึงทำให้ประเด็นของสำเนียงกรุงเทพตกไป
      ทั้งที่สำเนียงอยุธยาและสำเนียงกรุงเทพเป็นสำเนียงที่คุ้นหูคนไทยที่สุด เทียบความต่างได้กับสำเนียงอเมริกันมาตรฐานกับอเมริกันผิวดำ

  • @EmileLimjeong
    @EmileLimjeong 6 ปีที่แล้ว +1

    สำเนียงอยุธยา เสนา เลย

    • @user-ej7wf1kr7e
      @user-ej7wf1kr7e 5 ปีที่แล้ว

      เสนาเหน่อครึ่งเสียง เหมือนสุพรรณครึ่งนึง กรุงเทพครึ่งนึง