โมเดล องค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย ต้นแบบความสำเร็จ ในการเจรจาพื้นที่ OCA ไทย - กัมพูชา | SPRiNGสรุปให้
ฝัง
- เผยแพร่เมื่อ 5 ก.พ. 2025
- พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล หรือ OCA ไทย -กัมพูชา เป็นที่ที่รัฐบาลทั้ง 2 ประเทศมีความพยายามในการเจรจาเพื่อหาข้อตกลงในการพัฒนาพื้นที่ร่วมกันมานานนับ 10 ปี ถ้าหากสามารถเจรจาตกลงกันได้ ค่าไฟของประเทศไทยจะลดลง สอดคล้องกับคุณภาพชีวิตของคนไทยที่จะดีขึ้น
อย่าลืม! กด "Subscribe" เพื่อติดตามได้ที่
www.youtube.co...
ติดตามสปริงนิวส์ออนไลน์ได้ที่ :
Website : www.springnews....
Tiktok: / springonline
Facebook : / springnewsonline
Twitter : / springnews_th
Instagram : / springnews
TH-cam : / @springnewsonline
#OCA #พื้นที่ทับซ้อนทางทะเล #ก๊าซธรรมชาติ
เรื่องต้นทุนทางธุรกิจก็สำคัญมากนะ ในเรื่องการแข่งขัน ปล่อยก๊าซไว้ใต้ดินนานๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไรเลยจริงๆ
เยี่ยมครับ
🎉🎉🎉
❤❤❤❤❤❤
ลองมองข้ามเรื่องการเมืองไปดูครับ แล้วจะเห็นว่าเป็นประโยชน์กับประเทศ รีบเจารจาแล้วเอามาใช้ครับ จะได้ช่วยประชาชนเรื่องค่าไฟ
ถ้าสามารถจัดการได้เหมือนที่ไทยทำกับมาเลเซียได้ก็คงดีเพราะได้ประโยชน์กันทั้งคู่😀
เห็นด้วยครับ ที่จะเจรจาเอาก๊าซมาใช้ครับ ถ้าปล่อยไว้นานๆ เสียโอกาสเปล่าๆ
พวกพื้นที่ทับช้อน มีมาเลย์ด้วย แต่มาเลย์ยังเจรจาเอาทรัพยากรมาใช้ได้เลย พื้นที่ตรงนี้ก็ต้องทำได้เหมือนกัน
เส้นเขตแดนทางทะเลที่ประเทศไทยขีดเส้น มันเป็นไปตามหลักสากล
แต่เส้นเขตแดนทางทะเล ที่ทางฝั่งกัมพูชาขีดเส้น มันไม่เป็นไปตามหลักสากล เขาไม่ยอมรับ แล้วทำไมเราต้องไปเจรจาแบ่งทรัพยากรกับมันด้วย
ทำไมต้องเจรจาในเมื่อมันเป็นของเราตามสนธิสัญญาสมัยร.5 ที่ทำกับฝรั่งเศส
😮😮ดูตามแผ่นที่แล้วมันไม่ใช่พื้นที่ทัพซ้อนมัเป็นของไทย😮😮😮