บ่วงคเชนทร์

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 18 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 41

  • @iamqueen3739
    @iamqueen3739 2 ปีที่แล้ว +5

    เลิศค่ะ หรอยอย่างแรง ไม่ผิดหวังสมการรอคอย

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว +1

      กระผมในนามคณะผู้วิจัยขอกล่าวคำว่าขอบคุณครับ

  • @ninja_gaara1377
    @ninja_gaara1377 ปีที่แล้ว +6

    คนขับกลอน เสียงเหมือนบรมครูที่มีอายุฟังจากเนื้อเสียง ลูกคู่ ก็เพราะ แต่พอรู้ว่าเป็นนักศึกษาขับบทรับกลอน ชื่นชมมากครับ ขนพองตลอดการแลเลย เก่งมากทุกคนนักรำก็เทพ ,,ตอนช้างถูกจับได้แล้ว ชอบกลอนกับดนตรีตอนนี้มากสุด,,

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ

  • @phuparexcellance5450
    @phuparexcellance5450 2 ปีที่แล้ว +1

    ฉันหลงรักเสียงคนขับบท ว่าบอกบุญฉันทีถี

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว +1

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ คนขับบท เป็นน้องเท็น มโนราห์น้องเท็นครับ

  • @songponsupap4237
    @songponsupap4237 2 ปีที่แล้ว +5

    เนื้อเรื่องดีมาก เข้าใจว่าอากิริยาของช้างได้ถึง ชุดสวยหัวสวย

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว

      ในนามคณะผู้วิจัย ขอขอบคุณครับ 🙏😊

  • @srisununsathit6980
    @srisununsathit6980 ปีที่แล้ว +1

    สวยงามอ่อนช้อยมากเลยค่ะ

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ

  • @somphu993
    @somphu993 2 ปีที่แล้ว +3

    ตื่นตาตื่นใจดีครับ แต่ช่วยให้ข้อมูลที่เป็นความรู้บ้างก็ดีนะ

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว +8

      กระผมในนามคณะผู้วิจัยขอกล่าวคำว่าขอบคุณครับ แนวคิดในการสร้างสรรค์ ชุด บ่วงคเชนทร์ ได้แนวคิดมาจากการรำโนราคล้องช้างในพิธีกรรมโนราโรงครู ซึ่งเป็นพิธีกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อระลึกถึงคุณของตาหมอเฒ่าผู้ที่มีหน้าที่จับช้างป่า ในพิธีกรรมโนราโรงครูจะประกอบพิธีกรรมเสมือนการคล้องช้างจริง ในการแสดงจะมีการร้องบทพลายงามตามโขลงสลับกับการแสดงเป็นเรื่องราว เรื่องที่นำมาใช้แสดง คือเรื่อง ฉัททันตชาต โดยคณะผู้วิจัยได้ศึกษาขั้นตอนกระบวนท่ารำคล้องช้างของโนราเดชา วาทะศิลป์ ที่ยังคงรูปแบบกระบวนท่ารำแบบดั้งเดิมและเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ โดยคณะผูั้วิจัยได้ศึกษา ประวัติความเป็นมา องค์ประกอบและกระบวนท่ารำคล้องช้างระหว่างตาหมอเฒ่ากับพลายงาม นำข้อมูลที่ได้มาสร้างสรรค์เป็นการแสดง ชุด บ่วงคเชนทร์

  • @jakejake6092
    @jakejake6092 ปีที่แล้ว +1

    เสียงดนตรีเสียงคนขับบท ขนลุกมาก มันดีมากๆ😮😮

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณมากครับ เสียงนักร้องขับบท เป็นน้องเท็น มโนราห์น้องเท็น ครับ

  • @aongyoiichanel2586
    @aongyoiichanel2586 2 ปีที่แล้ว +3

    ถือว่ายกบทพลายงาม หรือพิธีกรรมปักหลักช้าง คล้องช้างได้ดีครับ

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว

      ในนามคณะผู้วิจัยขอขอบคุณครับ 🙏😊
      ✨คำว่า “บ่วง” หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงคล้องช้าง ทําด้วยหวายมีลักษณะขดเป็นวง
      สามารถดึงเข้าออกได้
      ✨คำว่า “คเชนทร์” หมายถึง ชื่อตัวละครของผู้แสดงที่รับบทบาทเป็นพลายงามและช้างลูกโขลง
      ประกอบด้วย พังอิน พังจัน พังนิล พังศรีสุข พังดอกสร้อย พังดอกสน
      ✨โดยได้แนวคิดมาจากการรําโนราคล้องช้างในพิธีกรรม โนราโรงครู เป็นพิธีกรรมที่จัดทําขึ้นเพื่อระลึกคุณของตาหมอเฒ่า ผู้ที่มีหน้าที่จับช้างป่า ซึ่งในพิธีกรรมโนราโรงครูจะประกอบพิธีกรรมเสมือนการคล้องช้างจริง โดยศึกษากระบวนท่ารำจากคณะโนราแซมเดชา สองพี่น้องคะนองศิลป์ จ.พัทลุง ในการแสดงจะมีการจับบทเป็นเรื่องราวโดยมี เรื่องย่อดังน้ี
      หลังจากที่พญาฉัททันต์ผู้เป็นพัสดาสิ้นลงแล้ว นางมหาสุภัททาภรรยาหลวงได้ให้กําเนิด ช้างพลาย 1 ตัว มีลักษณะดี ผิวพรรณขาวผ่อง ตั้งชื่อว่า พลายงาม เมื่อพลายงามเติบโตขึ้นเป็น หัวหน้าโขลงช้าง วันหนึ่งพลายงามได้ไปติดบ่วงของตาหมอเฒ่า พลายงามจึงร้องบอกตาหมอเฒ่าว่า ถ้าตนต้องเข้าไปอยู่กับตาหมอเฒ่าในวังแล้วลูกโขลงของข้าจะอยู่ยังไง หากตาหมอเฒ่าปล่อยข้าไป ข้าจะไปตามลูกโขลงทั้งหมดมาติดบ่วงรวมทั้งข้าด้วย ตาหมอเฒ่าจึงเช่ือในคําพูดของพลายงามยอมปล่อย พลายงามไป พลายงามจึงไปหลอกล่อช้างลูกโขลงทั้งหมดมาติดบ่วงของตาหมอเฒ่าพร้อมทั้งตนด้วย เมื่อสําเร็จดังต้องการ ตาหมอเฒ่าและบริวารจึงพาพลายงามและช้างลูกโขลงเข้าวัง👈

  • @ธราเทพเอี้ยมแฟ้ง

    เสียงมีมนต์ขลังมาก

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ

  • @เสกสรรศรีระษา
    @เสกสรรศรีระษา 2 ปีที่แล้ว +2

    ใครว่ากลอนครับ เพราะมาก

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว +1

      น้องเท็น นักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช

  • @newyearr7555
    @newyearr7555 ปีที่แล้ว

    สวัสดีค่ะ หนูเป็นนิสิตจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พอดดีทางหนูได้จัดทำโชว์การแสดงเกี่ยวกับภาคใต้ เลยอยากนำเพลงบางช่วงของการแสดงชุดนี้ไปใส่ในการแสดง เป็นการแสดงภายในมหาวิทยาลัยค่ะ ไม่ได้นำไปเผยแพร่หรือใช้ทางการค้า เลยอยากสอบถามว่าสมารถใช้ได้ไหมคะ🙏🏻

  • @phatsangsuwan1684
    @phatsangsuwan1684 2 ปีที่แล้ว +3

    อยากดูเกี้ยวแม่หม้ายด้วยอ่าาาาาาา

    • @amonratboonkwan1248
      @amonratboonkwan1248 2 ปีที่แล้ว

      เกี้ยวแม่หม้ายเป็นศิลปนิพนธ์คนละรุ่นกันค่ะ ตอนนี้ยังไม่ได้เสนอรูปแบบเต็ม ตอนนี้อยู่ในขั้นของการสอบวิจัย อีกไม่นานนจะมีรูปแบบเต็มนะคะ ฝากติดตามผลงานด้วยนะคะ ขอบคุณค่ะ 💜💜

    • @phatsangsuwan1684
      @phatsangsuwan1684 2 ปีที่แล้ว +1

      @@amonratboonkwan1248 อ่ออออ ขอบคุณมากนะครับบบบ

  • @Plug-Santiphap
    @Plug-Santiphap ปีที่แล้ว

    อยากทราบบทที่ใช้และคนขับครับ มีเสน่ห์มาก

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ บทในการแสดง มีทั้งหมด 3 บท ประพันธ์ขึ้นมาใหม่ 2 บท และใช้บทเดิม จำนวน 1 บท คือบทพรายงาม ที่ใช้ในการแสดงโนราโรงครูครับ คนขับบทเป็นน้องเท็น มโนราห์น้องเท็น

  • @ยุทธนามากใหม่
    @ยุทธนามากใหม่ 2 ปีที่แล้ว +1

    อยากได้ผ้าถุงคเชน หาซื้อจากไหนได้บ้างค่ะ

  • @klinpaengdatpradit3963
    @klinpaengdatpradit3963 2 ปีที่แล้ว

    ขออนุญาตนำเพลงมาใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานได้มั้ยคะ

  • @phuparexcellance5450
    @phuparexcellance5450 2 ปีที่แล้ว

    พรานเฒ่าเอวหวานสุด

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 ปีที่แล้ว

      กระผมในนามคณะผู้วิจัย ขอบคุณครับ

  • @wannakalinwanna476
    @wannakalinwanna476 ปีที่แล้ว

    |

  • @BkkaPunyosuk
    @BkkaPunyosuk 2 ปีที่แล้ว

    งวยงง

    • @anupongnookua5703
      @anupongnookua5703 2 ปีที่แล้ว +1

      สวัสดีครับ กระผมเป็นคณะผู้วิจัยครับ สามารถสอบถามข้อมูลได้ครับ

  • @รัตนาภรณ์หนูวงษ์
    @รัตนาภรณ์หนูวงษ์ 2 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากค่ะเป็นการแสดงที่มีรายละเอียดเข้าใจง่ายค่ะ

  • @กอบเดชดําทรัพย์-ฆ7ม

    ดัดแปลงมาจากพระสุธนมโนราห์ใช่ไหมครับ