การวิจัยสำหรับมือใหม่ EP36: ตัวอย่างการเขียนอธิบายตารางการถดถอยพหุคูณในบทที่ 4

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 27 ม.ค. 2025

ความคิดเห็น • 27

  • @talabthongmalakul1579
    @talabthongmalakul1579 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณอาจารย์ที่ทำคลิปออกมานะคะ คลิปของอาจารย์ช่วยให้ทำงานวิจัยได้ง่ายขึ้นเลยคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  6 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ช่วยกดติดตามและบอกต่อช่องของอาจารย์ให้พี่ ๆ น้อง ๆ เพื่อน ๆ ที่กำลังเขียนงานวิจัยด้วยนะครับ

  • @พรรรัศม์ทิวนาถ
    @พรรรัศม์ทิวนาถ 7 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  7 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ฝากกดติดตาม และบอกต่อช่องยูทูปของอาจารย์ให้เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ที่กำลังเขียนงานวิจัยด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @waren1081
    @waren1081 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะอาจารย์ เป็นประโยชน์มากๆค่ะ

  • @mimi-gl6jw
    @mimi-gl6jw 8 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน

      ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @nuttawatkuboonya-aragsa8921
    @nuttawatkuboonya-aragsa8921 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณคลิปดีๆนะครับอาจารย์ มีประโยชน์สำหรับการเศึกษาต่อมากๆครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ให้เพื่อนๆ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @toeyybt
    @toeyybt 10 หลายเดือนก่อน

    ถ้าค่า Durbin Watson ไม่ถึง 1.5 สามารถเขียนอธิบายได้ไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  10 หลายเดือนก่อน +1

      จากประสบการณ์ของอาจารย์ ถ้าค่า Durbin-Watson ไม่อยู่ระหว่าง 1.5 - 2.50 อาจารย์แนะนำให้หนูเปลี่ยนสถิติถดถอยพหุคูณเป็น ความสัมพันธ์แบบ Pearson's แทนครับ แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นกับอาจารย์ทีปรึกษาของหนูด้วยนะครับ ว่าท่านจะให้เปลี่ยนสถิติหรือไม่ครับ
      หากอาจารย์หนูไม่ยอมให้เปลี่่ยนสถิติ ก็ให้หนูติดต่ออาจารย์ผ่านทางเฟสบุค sumeth tuvadara อาจารย์จะแนะนำวิธีการปรับแก้ไขให้ครับ
      สุดท้ายนี้ ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ขอบคุณครับ

  • @pha-ploensociety4602
    @pha-ploensociety4602 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณอาจารย์มากนะคะกำกลังหาวิธีการเขียนรายงานพอดีเลยคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ รบกวนช่วยกดติดตาม กดไลท์ และแชร์ช่องอาจารย์ให้กับ เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ที่กำลังเรียนด้วยนะครับ

  • @kanjanapornnakrat
    @kanjanapornnakrat 9 หลายเดือนก่อน

    ค่าคงที่ ติดลบ เป็นไรไหมคะ เอามาเขียน สมการตามปกติใช่ไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  9 หลายเดือนก่อน

      ไม่เป็นไรครับ ถ้าค่า P-value ของค่าคงที่เท่ากับหรือมากกว่า 0.05 ก็สามารถนำค่า B ของค่าคงที่มาเขียนในสมการทำนายได้ครับ
      ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @WoraponKaewprathumrussamee
    @WoraponKaewprathumrussamee 9 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์ครับ มีแบบเป็น file pdfให่loadมั๊ยครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน

      ให้เรา IB มาหาอาจารย์ที่ sumeth tuvadara เฟสบุคอาจารย์ครับ อาจารย์จะส่ง PDF ให้ครับ อย่าลืมแจ้งใน IB ว่า ตามมาจาช่องยูทูปของอาจารย์ด้วยนะครับ อาจารย์ถึงจะตอบกลับครับ
      เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ รบกวนกดติดตามช่องยูทูปของอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @จุฑามาศขาวทอง
    @จุฑามาศขาวทอง 2 ปีที่แล้ว

    ช่อง B เอาค่าOut Put อันไหนมาใส่ค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      ช่องแรกจาก Output ครับ Unstandardized B ครับผม

  • @83.2
    @83.2 2 ปีที่แล้ว

    ถ้าค่า B ติดลบต้องอธิบายยังไงค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +2

      ถ้าค่า B เป็นบวก สมมติว่า B =1.20 แสดงว่าตัวแปรทำนายมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับตัวแปรตาม เช่น ถ้า X เพิ่ม (หรือ ลด) 1 หน่วยจะทำให้ Y เพิ่ม (หรือ ลด) 1.20 หน่วย (ทิศทางเดียวกัน คือ เพิ่ม กับ เพิ่ม หรือ ลด กับ ลด) แต่ถ้า B เป็นลบ แสดงว่าตัวแปรทำนายมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับตัรแปรตาม เช่น สมมติว่า B= -1.20 ถ้า X เพิ่ม (หรือ ลด) 1 หน่วยจะทำให้ Y ลด (หรือ เพิ่ม) 1.20 หน่วย (ทิศทางตรงกันข้าม คือ เพิ่ม กับ ลด หรือ ลด กับ เพิ่ม) หวังว่าคำตอบของอาจารย์คงช่วยให้หนูเข้าใจไม่มากก็น้อยนะครับ หากยังไม่ข้อสงสัยก็ถามมาได้นะครับ ถ้าอาจารย์ตอบได้จะตอบทุกคำถามครับ
      สุดท้ายนี้ อาจารย์ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณมากครับ

    • @83.2
      @83.2 2 ปีที่แล้ว

      ถ้าใช้สถิติ multiple regression นี้เป็นสมมติฐานการวิจัย การอธิบายสามารถอธิบายเหมือนในตัวอย่างที่อาจารย์ยกมาได้ไหมค่ะ
      ขอบพระคุณค่ะอาจารย์ สำหรับคำตอบคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      @@83.2 ถ้าหนูเขียนสมมติฐานการวิจัยว่า ส่วนประสมทางการตลาดมีผลต่อการตัดสินใจในการใช้บริการโรงแรมห้าดาวในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เช่นนี้ หนูก็สามารถอธิบายตารางการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณตามตารางที่อาจารย์แนะนำในคลิปนี้ได้เลยครับ เพราะอาจารย์ให้ลูกศิษย์ปโทของอาจารย์อธิบายแบบนี้ในการเขียนบทความวิจัยไปตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติฐาน 1 (TCI 1) และ 2 (TCI 2) และได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์จากวารสารดังกล่าวครับ
      อย่างไรก็ตาม ให้หนูยึดตามคำแนะนำอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยของหนูเป็นหลักนะครับ ส่วนของอาจารย์ให้นำไปประกอบการตัดสินใจในการเขียนเพื่อนำเสนอให้กับอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของหนูดูครับ
      หวังว่าอาจารย์คงตอบคำถามของหนูนะครับ

    • @83.2
      @83.2 2 ปีที่แล้ว

      ขอบพระคุณท่านอาจารย์มากๆนะค่ะที่ช่วยชี้แนะ แนะนำ และสำหรับทุกๆคำตอบนะค่ะ

  • @St.Alto0104
    @St.Alto0104 ปีที่แล้ว

    ถ้าค่าต่ำกว่า 1.5 ต้องแปลผลอย่างไรคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ถ้าเราหมายถึง ค่า P-value ในตารางการถดถอยพหุคูณตามตัวอย่าง ในการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ ให้เราใช้เกณฑ์ (หรือ cut-off point) ที่ 0.05 เป็นหลักครับ
      การแปลความ: ถ้าค่า P-value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 จะแปลว่าตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทำนายตัวนั้นมีผลต่อตัวแปรตาม แต่ถ้าค่า P-value มากกว่า 0.05 เช่น 0.051 หรือ 1.50 เป็นต้น แสดงว่าตัวแปรอิสระตัวไม่มีผลต่อตัวแปรตาม หรือไม่สามารถทำนายและหรือไม่สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามได้
      ไม่ทราบอาจารย์ตอบคำถามเราหรือไม่ ถ้าไม่ ก็แจ้งอาจารย์มานะครับ ว่าคำถามเราจะหมายถึงค่าอะไรในตารางการถดถอยพหุคูณ อาจารย์จะได้ตอบคำถามให้เราได้ตรงประเด็นครับ
      สุดท้ายนี้ ฝากเรากดติดตาม กดไลท์ กดแชร์ให้อาจารย์ด้วยนะครับ เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ด้วยนะครับขอบคุณครับ