การวิจัยสำหรับมือใหม่ EP17: การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 29 ก.ย. 2024

ความคิดเห็น • 125

  • @OFFICIAL-qk4mh
    @OFFICIAL-qk4mh 11 วันที่ผ่านมา +1

    ขออนุญาตถามนะคะอาจารย์ ค่าที่ใส่ใน Dependent ได้มาจากไหนหรอคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  9 วันที่ผ่านมา

      รบกวนหนูดู EP13:ตัวแปรหุ่นครับผม หากดูแล้วยังไม่เข้าใจ ให้แจ้งอาจารย์มาครับ จะได้หาทางให้หนูเข้าใจครับ

  • @dowjida
    @dowjida 7 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์คะ ค่า Unstandardized B เป็น -0.00006982 เป็นอะไรมั้ยคะ แต่ค่า P-value 0.000 สามารถนำเข้าสมการได้หรือไม่หรอคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  7 หลายเดือนก่อน

      ไม่เป็นไรครับ สามารถนำเข้าสมการทำนายได้ครับ เพราะ p value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05

    • @dowjida
      @dowjida 7 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบคูณมาก ๆ นะคะอาจารย์
      @@sumethedutechstudio

  • @rinlaneewatcharaattayapol7891
    @rinlaneewatcharaattayapol7891 2 ปีที่แล้ว +1

    อาจารย์คะขออนุญาตสอบถามค่ะ หนูศึกษาเรื่องส่วนประสมทางการตลาดและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจผู้โดยสารสายการบินกรุงเทพ ต้องใช้สถิติอะไรในการหาส่วนประสมทางการตลาดและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจผู้โดยสารสายการบินกรุงเทพ คะ ขอบคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +2

      หนูควรใช้ Multiple Regression ตามคลิปนี้ได้เลยครับ และให้นำตัวแปรส่วนประสมกับตัวแปรคุณภาพเข้าพร้อมกันที่เดียวเลยครับ ใช้วิธี Enter ครับ หนูก็จะได้ทราบว่าส่วนประสมตัวใดและคุณภาพตัวใดมีผลต่อความพึงพอใจฯ ครับผม แนะนำให้ดู EP 13 วิธีการสร้างตัวแปรหุ่น กับ EP 36 การเขียนอธิบายการถดถอยพหุคูณบทที่ 4 ประกอบครับ

  • @titapornb.877
    @titapornb.877 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณอาจารย์ที่ให้ความรู้ด้วยค่ะ กำลังเขียนวิเคราะห์งานวิจัยอยู่พอดีเลยค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  5 หลายเดือนก่อน

      เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @ครูชะ-ป5ข
    @ครูชะ-ป5ข 24 วันที่ผ่านมา +1

    ขอบคุณค่ะ เข้าใจง่ายค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  23 วันที่ผ่านมา

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @risaf.4159
    @risaf.4159 8 หลายเดือนก่อน +1

    กดติดตามเเล้วนะคะ ขอบคุณมากค่ะ อธิบายช้า เน้นย้ำ ทำให้เข้าใจง่ายค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบคุณมากครับ

  • @LibraryatHome
    @LibraryatHome 9 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณอาจารย์มากค่ะ อธิบายช้า ๆเข้าใจง่าย นำไปใช้ได้จริง เป็นประโยชน์มากค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  9 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับสำหรับคำชม เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ รบกวันกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @noppornwatcharaprapaipun1997
    @noppornwatcharaprapaipun1997 10 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณมากครับอาจารย์ ชัดเจนตรงประเด็น ไม่เย่อนเย้อ ชอบมากครับ เป็นประโยชน์มาก
    ขอให้อาจารย์สุขภาพแข็งแรงครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  10 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณมากครับสำหรับกำลังใจที่มีให้กับอาจารย์ ฝากกดติดตาม และแชร์หรือบอกต่อให้เพื่อน ๆ พี ๆ น้อง ๆ ที่กำลังเรียนหรือทำวิจัยแทนอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @kontharotmansakul866
    @kontharotmansakul866 8 หลายเดือนก่อน +1

    อ.ค่ะ ในกรณีที่ค่า Durbin-Watson น้อยกว่า1.5 ต้องแก้ไขอย่างไรบ้างค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน

      อาจารย์เคยเจอกรณีนี้ครับ กรรมการสอบปกป้องแนะนำว่าให้เปลี่ยนสถิติไปใช้เป็น Pearson Correlation แทนการถดถอยพหุคูณครับ หนูลองปรึกษาอาจารย์ที่ปรีกษาหนูดูนะครับ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน

      ไม่ทราบว่าหนูแก้ปัญหาได้หรือยังครับ หากยัง ให้ IB มาหาอาจารย์ที่เฟสบุค sumeth tuvadara แล้วแจ้งว่าตามมาจากช่องยูทูปครับ อาจารย์จะแนะนำทางออกอื่นๆ เพิ่มเติมให้ครับ

  • @atichapkr
    @atichapkr 5 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์คะถ้าค่า durbin watson ตํ่ากว่าช่วง 1.5-2-5 ควรทำยังไงต่อหรอคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  5 หลายเดือนก่อน +1

      อาจารย์แนะนำให้หนูเปลี่ยนสถิติการถดถอยพหุคูณ เป็นความสัมพันธ์แบบเพียรสันครับ ดู EP 15 ครับ

    • @atichapkr
      @atichapkr 5 หลายเดือนก่อน +1

      @@sumethedutechstudio ขอบคุณมากๆค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  5 หลายเดือนก่อน +1

      @@atichapkr เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ฝากกดติดตามช่องยูทูปอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @baitoeypsvv9402
    @baitoeypsvv9402 3 ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากเลยค่ะ ละเอียดมาก ขอบคุณอาจารย์นะคะ🙏🏻🙏🏻

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ ฝากแชร์และติดตามผลงานของอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @worananchopngam8116
    @worananchopngam8116 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณค่าาา หลังจากนั่งงงมานาน จะร้องไห้😍😍😍

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +2

      ขอบคุณเช่นกันครับ ที่เข้ามาดู ฝากแชร์ต่อให้เพื่อนๆด้วยนะ และดูคลิปอื่นๆด้วยนะครับ

  • @puiifaiis2839
    @puiifaiis2839 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณค่ะอาจารย์🥰

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  5 หลายเดือนก่อน

      เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @ictdwf2879
    @ictdwf2879 4 หลายเดือนก่อน

    ตัวแปรอิสระต้องเอาภาพรวมมาใส่ด้วยไหมครับ อาจารย์ขอบคุณครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  4 หลายเดือนก่อน

      อาจารย์ไม่นำภาพรวมมาใส่ครับ อาจารย์จะพิสูจน์ว่ากลุ่มตัวแปรอิสระตัวไหนบ้างที่มีผลต่อตัวแปรตามครับ แล้วนำไปเขียนสมการทำนายตัวแปรตามครับ
      ฝากกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @ภัทรภรทิพเสนา
    @ภัทรภรทิพเสนา 8 หลายเดือนก่อน

    อาจารย์คะ ถ้า ค่า Durbin-watson ไม่ถึง 1 จะแก้ปัญหาอย่างไรคะ ขอบคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  8 หลายเดือนก่อน +1

      ทำได้หลายอย่างครับ ได้แก่ 1) เปลี่ยนสถิติไปใช้ Pearson หรือ 2) หาว่ากลุ่มตัวแปรทำนายหรือตัวแปรอิสระ ตัวไหนบางที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกันสูง ให้เอาออกหนึ่งตัว หรือ 3) ให้นำตัวแปรอิสระที่มีความสัมพันธัระหว่างกันสูง สร้างเป็นตัวแปรตัวใหม่ เป็นต้น
      หากยังมีคำถาม อาจารย์แนะนำให้ IB หาอาจารย์ทางเฟสบุค ที่ Sumeth tuvadara แล้วแจ้งอาจารย์ว่าตามมาจากช่องยูทูปของอาจารย์ครับ
      สุดท้ายนี้ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @taratipkaewsanga2152
    @taratipkaewsanga2152 4 หลายเดือนก่อน +1

    รอดตายเพราะอาจารย์ครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  4 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตามช่องอาจารย์เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ด้วยนะครับ

  • @ชนาธิปเจ๊ะสะตํา

    อาจารย์คะ หนูอยากได้คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวกับ MRA ค่ะ จะติดต่ออาจาย์ได้ช่องทางไหนบ้างคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ถ้าอยากพูดคุยผ่าน VDO แนะนำให้ติดต่อผ่านเฟสบุคอาจารย์ครับ เฟสอาจารย์ Sumeth Tuvadara ครับ หรือจะพิมพ์มาถามทางอีเมลก็ได้ อีเมลอาจารย์ sumeth.tuvadaratragool@stamford.edu ครับ เอาที่หนูสะดวกครับ อาจารย์ได้ทั้งสองช่องทางครับ

  • @supanantermmathurapoj8268
    @supanantermmathurapoj8268 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ค่ะตัวแปรต้นมี 4 ด้าน แต่ละด้านมีข้อย่อยๆ เราต้องคำนวณในโปรแกรมยังไงให้เป็นตัวแปรตัวเดียวค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      แนะนำให้หนูดู การวิจัยสำหรับมือใหม่ EP13: ตัวแปรหุ่น (Dummy Variable) คืออะไร และสร้างอย่างไร หากหนูดูคลิปดังกล่าวแล้วไม่เข้าใจ ให้แจ้งมาอาจารย์อีกทีครับ ขอบคุณที่เข้ามาดูคลิปของอาจารย์ครับ ขอบคุณครับ

  • @จิรัฐพลชูดหอม
    @จิรัฐพลชูดหอม ปีที่แล้ว

    รบกวนสอบถามนะครับ ในกรณีที่ run ตามคลิปของอาจารย์แล้วมีค่า t และ sig เป็นเครื่องหมาย - สามารถพออธิบายได้ไหมครับว่าเกิดจากสาเหตุจากส่วนไหนขอบคุณครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ปกติอาจารย์ไม่ได้แปลความหรือให้ความสนใจค่าทีครับ แต่อาจารย์จะให้ความสนใจค่า Sig หรือ ค่า p-value มากกว่าครับ (ในการตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการ อาจารย์ก็ไม่ได้แปลค่าที่ เช่นกันครับ อธิบายเฉพาะค่า sig p-value) เพราะค่า sig หรือ p-value จะบอกว่าเรากลุ่มตัวแปรอิสระตัวใดบ้างที่มีผล มีอิทธิพล หรือสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตามได้ในทางสถิติครับ โดยใช้เงื่อนไขตามที่อาจารย์ได้แนะนำในคลิปเป็นเกณฑ์ในเขียนสมการทำนายครับผม เพื่อทราบครับ

  • @somjaiwattanajaurueng2384
    @somjaiwattanajaurueng2384 ปีที่แล้ว

    มีตัวแปรกำกับคือการกำกับ มีความสัมพันธ์ระหว่างภากับรา มีตัวแปรควบคุม เขียนสมการ และกดเมนูอย่างไร

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      อาจารย์ต้องขอคุยในรายละเอียดก่อนให้คำแนะนำครับ

  • @Aomsin-jn9iv
    @Aomsin-jn9iv ปีที่แล้ว

    ขออนุญาตค่ะอาจารย์หนูรันออกมาแล้วค่า sig ไม่ออกทำยังไงดีคะ😢

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ให้แอดเฟสอาจารย์ sumeth tuvadara แล้วแจ้งว่าตามมาจากช่องยูทูปของอาจารย์ ครับ จากนั้นหนูสามารถ VDO call กับอาจารย์เพื่อหาทางออกให้กับปัญหาของหนูต่อไปครับ
      สุดท้ายนี้ เพือเป็นกำลังใจให้อาจารย์ ฝากหนูกดติดตาม กดไลท์ และแชร์ช่องของอาจารย์ให้เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ของหนูที่กำลังเรียนอยู่ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @rewatkongchatri2457
    @rewatkongchatri2457 ปีที่แล้ว

    ตัวแปรตาม ต้องเป็น dummy เท่านั้นใช่ไหมครับอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      อาจารย์ไม่มั่นใจว่าเข้าใจคำถามของเราถูกต้องหรือไม่ แต่คุณสมบัติหรือมาตรวัดของตัวแปรตามในการถดถอยควรเป็นช่วง (Interval Scale) ตามตัวอย่างในคลิป และหรือ อัตราส่วน (Ratio Scale) เช่น เงินเดือน (หน่ายบาท) กรณีนี้ใช้ข้อมูลดิบไปคำนวณได้เลยครับ ไม่ทราบว่าอาจารย์ตอบคำถามเราหรือไม่ครับ

  • @papasarakhunnarasai6592
    @papasarakhunnarasai6592 2 ปีที่แล้ว

    ค่าSig ที่ได้ตรงตารางมีเครื่องหมาย >0.001 ไม่ได้0.000 หมายความว่าอะไรคะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      โดยปกติ อาจารย์จะใช้เกณฑ์การแปลความค่า Sig ของ P value จากตารางการถดถอยพหุคูณ ดังนี้ครับ
      1) ถ้าค่า Sig ของ P value มากกว่า 0.05 เช่น 0.10 เป็นต้น แสดงว่าตัวแปรอิสระตัวนั้นไม่มีความสัมพันธ์เชิงเหตุผลกับตัวแปรตาม
      2) ถ้าค่า Sig ของ P value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.05 เช่น 0.05 หรือ 0.01 เป็นต้น แสดงว่าตัวแปรอิสระตัวนั้นมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อาจารย์ใช้สองเกณฑ์นี้ในการแปลผลจากตารางการถดถอยพหุคูณ
      แต่อาจารย์บางท่าน แนะนำอาจารย์ว่า 3) ถ้าค่า Sig ของ P value น้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.01 ให้แปลความว่าตัวแปรอิสระนั้นมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับตัวแปรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ครับ
      ไม่ทราบว่าอาจารย์ตอบคำถามหนูหรือไม่ครับ ถ้าไม่หนูก็ถามมาได้นะครับ อาจารย์รู้อาจารย์จะตอบทุกคำถามครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามช่องอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @saruitavattanapasan-ut5wr
    @saruitavattanapasan-ut5wr 6 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบคุณคะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  6 หลายเดือนก่อน +1

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตามช่องของอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @อัคราชัยพงษ์
    @อัคราชัยพงษ์ 2 ปีที่แล้ว

    รบกวนสอบถาม อาจารย์คะ ค่า F และ Sig. ของตาราง Anova และค่า t และ Sig. ของตาราง Coefficients คำนวณออกมาแล้วเป็นค่าว่าง แปลความหมายได้ยังไงคะ ต้องแก้ไขยังไงบ้างคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      แน่นอนครับว่าแปลความหมายไม่ได้ น่าจะมีขั้นตอนอะไรผิดพลาดครับผม ถ้าทำถูกต้องทุกค่าที่หนูระบุมาข้างต้นไม่ควรเป็นค่าว่างครับ อาจารย์ขอแนะนำหนูให้กลับไปดูว่า 1) มาตรวัดของข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์ต้องเป็นช่วงขึ้นไปนะครับ และ 2) ต้องนำคำถามย่อยไปสร้างตัวแปรดัมมี่ก่อนทุกตัว ทั้งกลุ่มตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม เท่าที่อาจารย์พอนึกออกตอนนี้นะครับ เพราะอาจารย์ไม่เห็นขั้นตอนที่หนูทำจึงขอแนะนำเท่านี้้ก่อนครับ เพื่อทราบครับ

  • @saokumsaikaew2581
    @saokumsaikaew2581 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ครับมีเล่มตัวอย่างเวลาเขียนลงบทที่ 4 ให้ดูบ้างใหมครับ อยากได้มาศึกษาเพิ่มเติมมากเลยครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ได้ครับ อาจารย์จะจัดคลิปรูปแบบการเขียนใต้ตารางการถดถอยพหุคูณให้ดูเป็นแนวทางให้ครับ แต่ทั้งนี้เราต้องดูรูปแบบการเขียนจากมอของเราเป็นหลักนะครับ

  • @somjaiwattanajaurueng2384
    @somjaiwattanajaurueng2384 ปีที่แล้ว

    อาจารย์ขอเบอร์โทรนะคะ กำลังทำเรื่องนี้ค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      sumeth tuvadara ชื่อเฟสบุคของอาจารย์ครับ ให้หนู IB มาแล้วแจ้งอาจารย์ว่าตามมาจากช่องยูทูปของอาจารย์ครับ

  • @sasitornwachirapanyapong9627
    @sasitornwachirapanyapong9627 5 หลายเดือนก่อน +1

    ขอบพระคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  5 หลายเดือนก่อน

      ขอบคุณครับ เพื่อเป็นกำลังให้กับผม ฝากอาจารย์กดติดตามช่องของผมด้วยนะครับ

  • @yukiusagi155
    @yukiusagi155 9 หลายเดือนก่อน

    ขออนุญาตถามอาจารย์นะคะ ในคลิปนี้อาจารย์ทำ factor analysis ยังไงเหรอคะ ใช้ตัว compute variable ใช่ไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  9 หลายเดือนก่อน

      ใช่ครับผม แนะนำให้ดู EP13 ตัวแปรหุ่น ครับ
      เพื่อเป็นกำลังใจให้อาจารย์ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

    • @yukiusagi155
      @yukiusagi155 9 หลายเดือนก่อน +1

      @@sumethedutechstudio ขอบคุณอาจารย์มาก ๆ ค่ะ

  • @byzom99
    @byzom99 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คะขออนุญาตสอบถามหน่อยค่ะว่า ตัวแปรต้นของเราsig1ตัว เราจะใช้สมมการไหมคะ หรือเราจะแปลผลยังไงคะ เรามันจะมีผลต่อการทำหนายไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว +1

      จากประสบการณ์การอ่านบทความวิจัย และดูตัวอย่างงานวิจัยมา 10 ปี แนะนำว่าหนูควรเขียนสมการทำนายในงานหนูด้วยครับ ถึงแม้จะมีตัวแปรอิสระหรือตัวแปรทำนาย Sig แค่ตัวเดียว ให้ดูว่าค่าคงที่ Sig หรือไม่ ถ้า Sig ก็นำมาใส่ในสมการด้วยนะครับ แต้ถ้าไม่ Sig ก็ไม่ต้องนำมาใส่ในสมการครับ
      ส่วนการแปลผลหรือการเขียนใต้ตาราง แนะนำให้หนูดู คลิป การวิจัยสำหรับมือใหม่ EP36: ตัวอย่างการเขียนอธิบายตารางการถดถอยพหุคูณในบทที่ 4 เพิ่มเติมครับ

    • @byzom99
      @byzom99 ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ขอบพระคุณมากๆอาจารย์🙏🙏🙏

  • @ลลิตวดีศรีเศรษฐมาตย์

    อาจารย์คะ เราเอาแต่ละด้านรวมกันก่อนยังไงคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      อาจารย์แนะนำให้หนูย้อนกลับไปดู EP 13: ตัวแปรหุ่น สร้างอย่างไร ตามลิงค์นี้ได้เลยครับ th-cam.com/video/Dq57ZIJh7YU/w-d-xo.html
      ถ้าหนูดูแล้วไม่เข้าใจ ให้สอบถามอาจารย์มาได้นะครับ อาจารย์ยินดีครับ

  • @KruchaiFC
    @KruchaiFC ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ เข้าใจมากขึ้นเลย อาจารย์อธิบายละเอียดดีมากครับ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @anchmang
    @anchmang ปีที่แล้ว

    ขออนุญาตสอบถามค่ะอาจารย์ หนูสงสัยค่ะว่า
    1.ค่า Constant สามารถติดลบได้ไหมคะ จะมีผลอะไรหรือป่าวคะ
    2.ถ้าค่า Constant ไม่ Sig จะเป็นอะไรไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว +2

      1) ค่า Constant ติดลบได้ครับ ไม่ต้องตกใจครับ งานวิจัยของอาจารย์ก็ติดลบหลายงานครับ ขึ้นกับชุดข้อมูลที่หนูนำมาวิเคราะห์ในสมการถดถอยครับ (แนะนำให้ดูบทความวิจัยในวารสารวิชาการระดับชาติประกอบ)
      2) ปกติถ้าค่า Constant ไม่ Sig. หรือ P-value มากกว่า 0.05 อาจารย์จะไม่ใส่ค่า Constant ในสมการทำนายท้ายตารางครับ
      คิดว่าอาจารย์คงตอบข้อสงสัยของหนูได้ไม่มากก็น้อยนะครับ ฝากกดไลท์ กดแชร และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

    • @anchmang
      @anchmang ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio อาจารย์ตอบเร็วมากๆเลยค่ะ ขอบคุณอาจารย์มากๆเลยนะคะ 🥰💕🙏🏻

  • @viviyiyi1721
    @viviyiyi1721 3 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะมีประโยชน์มากๆเลยค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ อยากให้อาจารย์ทำคลิปเกี่ยวกับอะไรเพิ่มเติมก็แนะนำได้นะครับ อาจารย์จะพยายามทำให้เต็มที่ครับ

  • @ibonotknow2753
    @ibonotknow2753 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์​ค่ะหากหาค่าR​ square ได้เพียง20% เมื่อหาทุกปัจจัย​ (sigทุกตัวจากตารางcorrelations​)​ ค่า D.W.​ได้1.7 เเต่เมื่อหาค่า​ b ปัจจัยไม่sig1ตัวค่ะ​ ควรที่จะหาค่า​ ​R​square​ใหม่โดยตัดปัจจัยที่ไม่sig​ (จากค่าb)​ เเต่ค่าได้น้อยกว่า20%​ หรือไม่ควรรีพอดส่วน​ค่า R​ square​ คะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      ขี้นกับวัตถุประสงค์งานวิจัยของหนูครับว่าหนูต้องการศึกษาอะไร เช่น 1) ต้องการศึกษาว่าตัวแปรอิสระกลุ่มนี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามหรือไม่ กรณีนี้หนูค่า Sig ของ t หรือ p value ที่ได้จากตารางว่า Sig กี่ตัวจากทั้งหมด หรือ 2) ต้องการศึกษาระดับการอธิบายหรือการพยากรณ์ ดูที่ค่า R square เป็นหลัก ไม่สนใจว่ากลุ่มตัวแปรทำนายหรือตัวแปรอิสระจะ Sig กี่ตัวครับ
      ถ้างานวิจัยของหนูเป็นแบบที่สอง อาจารย์แนะนำให้หนูรันรีเกรสชั่นแบบ Stepwise ครับ รีเกรสชั่นจะรันให้จนกว่าจะได้สมการที่ดีที่สุดให้กับหนูครับ หนูจะได้ทราบว่า R square สูงสุดจากข้อมูลที่หนูได้มาเป็นเท่าไหร่ และสมการทำนายประกอบด้วยตัวแปรอิสระอะไรบ้าง
      ไม่ทราบว่าอาจารย์ตอบคำถามของหนูหรือเปล่าครับ ถ้าไม่ก็เขียนมาถามได้ครับ อาจารย์ตอบได้จะตอบทุกคำถามครับ ขอบคุณที่แวะเข้ามาดูคลิปของอาจารยครับ

    • @ibonotknow2753
      @ibonotknow2753 2 ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ขอบคุณอาจารย์มากๆค่ะ ขอบคุณสำหรับคลิปและตอบทำถามให้เข้าใจค่ะ

  • @ปัทมาจอมเมือง057
    @ปัทมาจอมเมือง057 ปีที่แล้ว

    กรณีที่มีตัวแปรต้นหลายตัว จะใส่ในช่อง Depenber ยังไงหรอคะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว +1

      หนูใส่ได้แค่ครั้งละตัวครับ เช่น ต้องการวิเคราะห์ส่วนประสมทางการตลาด 7 Ps มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการโรงแรมห้าดาวในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์หรือไม่ อาจารย์จะใส่ตัวแปร 7 Ps ทั้งหมดในช่อง Independent และใส่ภาพรวมการตัดสิน (ตัวแปร Dummy) ตัวเดียวเข้าไปในช่อง Dependent ครับ
      วิธีการสร้างตัวแปร Dummy อาจารย์ทำคลิป EP13 ตัวแปรหุ่น ให้แล้วครับ เพื่อทราบครับ

    • @ปัทมาจอมเมือง057
      @ปัทมาจอมเมือง057 ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio เดี่ยวลองทำดูนะคะอาจารย์ ขอบคุณค่ะ

  • @nantichasongprawat3388
    @nantichasongprawat3388 2 ปีที่แล้ว

    อ.คะ
    ถ้าค่า B constant มีผลต่อการแปลค่าสมการมั้ยคะ แล้วเราจะแปรค่าแปรค่าเป็นตัวหนังสือยังไงดีคะ ขอบคุณค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      อาจารย์ไม่มั่นใจว่าอาจารย์ตอบตรงคำถามหนูหรือไม่นะคับ ถ้าไม่ตรงก็ถามมาใหม่นะครับ ไม่ต้องเกรงใจอาจารย์ครับ อาจารย์ขอเดาว่าหนูจะถามว่าค่าคงที่ (Constant) ที่ได้จากตารางการถดถอยพหุคูณต้องแปลผลหรือเขียนอธิบายในบทที่ 4 หรือไม่ อาจารย์เสนอแนะอย่างนี้ครับ เนื่องจากค่าคงที่ไม่ใช่ตัวแปรอิสระที่ระบุในกรอบแนวคิดของงานวิจัย มันถูกสร้างขึ้นมาจากสถิติการถดถอย อาจารย์จึงไม่แปลค่าคงที่ใต้ตารางครับผม (หากอาจารย์ที่ปรึกษาหนูให้แปลผล ก็บอกมานะครับ อาจารย์จะช่วยหนูงานวิจัยอ้างอิงให้ครับ) หวังว่าคำตอบของอาจารย์คงมีประโยชน์กับหนูไม่มากก็น้อยนะครับ

    • @nantichasongprawat3388
      @nantichasongprawat3388 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากๆนะคะอาจารย์

  • @kanjanapornnakrat
    @kanjanapornnakrat 6 หลายเดือนก่อน

    ถ้าช่อง บี มีเลขที่ติดลบ และ ตัวที่ sig มีแค่ 2 ตัวแปร จะทำยังไงดีคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  6 หลายเดือนก่อน

      ตัวเลขติดลบเป็นไปได้ครับ แสดงถึงความสัมพันธ์มีทิศทางตรงกันข้ามครับ ไม่ต้องตกใจ ส่วนค่า Sig มีแค่สองตัวแปร ก็นำเสนอไปตามนั้นครับ เพราะมันขึ้นกับข้อมูลที่เราเก็บมาได้ครับ อาจารย์เคยเห็นบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งในประเทศและต่างประเทศ ก็เคยมีว่า Sig แค่ตัวสองตัว แต่การอภิปรายผลสนับสนุนสมเหตุผลก็ยังได้รับการตีพิมพ์ครับ
      สุดท้ายนี้ เพื่อเป็นกำลังใจให้กับอาจารย์ ฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

    • @kanjanapornnakrat
      @kanjanapornnakrat 6 หลายเดือนก่อน

      ถ้าช่อง บี มีตัวเลขติดลบ ก็เอามาเขียนสมการตามปกติใช่ไหมคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  6 หลายเดือนก่อน

      @@kanjanapornnakrat ใช่ครับผม ปกติอาจารย์จะดูค่า Durbin-Watson เป็นหลักว่าจะเขียนสมการได้หรือไม่ โดยใช้เกณฑ์ 1.50- 2.50 เป็นตัววัดครับ

  • @83.2
    @83.2 ปีที่แล้ว

    ถ้าใช้แบบ stepwise สามารถอธิบายแบบ ep.36 ได้ไหมค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      อาจารย์ว่าได้ครับ โดยระบุชื่อตารางเพิ่มเติมว่าใช้วิธี Stepwise Model ที่ 10 (สมมตินะครับ) จากนั้นก็ใช้วิธีการเขียนใต้ตารางแบบ Enter ได้เลยครับ ลองดูว่าอาจารย์ที่ปรึกษาเราโอเครหรือไม่ ถ้าไม่ ลองถามอาจารย์ท่านว่าจะให้รายงานตารางและเขียนใต้ตารางอย่างไร แล้วแจ้งกลับอาจารย์มา อาจารย์จะได้ช่วยสืบค้นให้อีกทางครับ ขอบคุณที่เข้ามาดูคลิปของอาจารย์ครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

    • @83.2
      @83.2 ปีที่แล้ว

      ขอบพระคุณค่ะอาจารย์

  • @puchroj100
    @puchroj100 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คะ กรณีตัวแปรต้นหลายตัว ตัวแปรตามหลายตัวล่ะคะ
    ของพัตร ตัวแปรต้น 5 ตัวแปร ตัวแปรตาม 6 ตัว

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      สามารถวิเคราะห์ได้หลากหลายขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์งานวิจัยของพัตรครับ เช่น 1) หากวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามรายตัว พัตรต้องวิเคราะห์ 6 ครั้งหรือมี 6 สมการ 2) หากตัวแปรตามทั้ง 6 ตัว เป็นองค์ประกอบของหนึ่งแนวคิดหรือทฤษฎี (แนะนำให้ดู EP 13: ตัวแปรหุ่น หรือ Dummy Variable) พัตรสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามภาพรวมก็ได้ กรณีนี้พัตรจะวิเคราะห์แค่่ครั้งเดียวหรือมี 1 สมการเท่านั้น หรือ 3) พัตรสามารถวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามแบบรายตัว (1) และภาพรวม (2) ก็ได้ กรณีนี้หนูต้องวิเคราะห์ 7 ครั้งหรือมี 7 สมการในบทที่ 4 ครับ
      อาจารย์ถึงบอกว่าขึ้นกับวัตถุประสงค์การวิจัยของหนูครับ หวังว่าคำตอบของอาจารย์คงช่วยพัตรได้ไม่มากก็น้อยนะครับ ลองนำไปปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาของพัตรดูครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

    • @puchroj100
      @puchroj100 2 ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ขอบพระคุณค่ะอาจารย์ ข้อ 2 ค่ะ เดี๋ยวพัตรกลับไปดู EP 13 นะคะ 🙏🙏🙏

  • @shxbi1315
    @shxbi1315 2 ปีที่แล้ว

    อาจารย์คะ แล้วถ้ามี ตัวแปรx2ตัว x1และx2 ไปหาy ตอนรันรีเกสชั่นต้องรัน x1-y และx2-y หรือว่าให้รัน x1และx2 ไปหาyพร้อมกันเลยคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +2

      ทำได้ทั้งสองแบบครับ ขึ้นกับวัตถุประสงค์การวิจัยของหนูครับ อาจารย์ขออธิบายเพิ่มเติมดังนี้ครับ 1) กรณีที่หนูรันรีเกสชั่นตัวแปร X หนึ่งตัวกับตัวแปร Y หนึ่งตัว หมายความหนูต้องการศึกษาผลกระทบของตัวแปร X ตัวนั้นตัวเดียว (ไม่สนใจตัวแปร X ตัวอื่น) ว่ามีผลกับตัว Y อย่างไร เช่น ราคามีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์หรือไม่ เป็นต้น 2) กรณีที่หนูรันรีเกสชั่นตัวแปร X มากกว่าหนึ่งตัวกับตัวแปร Y หนึ่งตัว หมายความว่าหนูกำลังจะหากลุ่มตัวแปรทำนายตัวแปร Y (อาจทำให้ค่าทำนายหรือ R2 เพิ่มขึ้นจากตัวแปรทำนายตัวเดียวก็ได้) เช่น สินค้า ราคา และการส่งเสริมการขาย มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์หรือไม่ เป็นต้น หวังว่าหนูคงได้ไอเดียในการรันรีเกสชั่นไม่มากก็น้อยนะครับ

    • @shxbi1315
      @shxbi1315 2 ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ขอบคุณสำหรับคำแนะนำมากๆค่ะ🙏🏻😭 หนูก็งงไม่รู้จะถามใครดี อาจารย์อธิบายให้หนูเห็นภาพพร้อมตัวอย่างได้เข้าใจง่ายมากๆ ขอบคุณอีกครั้งนะคะ🙏🏻

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      @@shxbi1315 ยินดีครับ ฝากกดไลค กดแชรให้เพื่อนๆหนูด้วยนะครับ อย่าลืมกดติดตตามด้วยนะครับ หนูอยากให้อาจารย์ทำคลิปอะไรเพิ่มเติมก็บอกนะครับ ตอาจารย์จะทะยอยทำให้ครับ

  • @khwanjitrujeepisit3331
    @khwanjitrujeepisit3331 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากค่ะ ได้ความรู้เพิ่มขึ้นค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับที่เข้ามาชมคลิปของอาจารย์ ฝากกดไลท์ กดแชร์ให้เพื่อนๆ และกดติดตามด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @padiwaradakirdsook3110
    @padiwaradakirdsook3110 2 ปีที่แล้ว

    เป็นคลิปที่เป็นประโยชน์มากๆค่ะ ขอบคุณที่นำมาแชร์นะคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ให้กับเพื่อนๆด้วยนะครับ จะได้เข้าถึงแหล่งความรู้กันทั่วหน้า และฝากกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @68.วนิดากิติอาสา
    @68.วนิดากิติอาสา ปีที่แล้ว

    ขออนุญาตสอบถามค่ะ ขอหนูทำในเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ค่าSD ของหนูอยู่ในระดับน้อย ผลแบบนี้ผิดปกติมั้ยคะอาจารย์ 😂

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ค่า SD ในตารางไหนครับ จะได้เข้าใจตรงกันครับ

    • @68.วนิดากิติอาสา
      @68.วนิดากิติอาสา ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ในตาราง Descriptive Statistics ค่ะอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      @@68.วนิดากิติอาสาไม่ผิดปกติครับ ชี้ว่าข้อมูลที่เก็บมาวิเคราะห์มีความผันผวนจากค่ากลางหรือค่าเฉลี่ยน้อยเท่านั้นเองครับ

    • @68.วนิดากิติอาสา
      @68.วนิดากิติอาสา ปีที่แล้ว

      @@sumethedutechstudio ขอบพระคุณค่ะ 🙏🏻🙏🏻🙏🏻

  • @laylak.359
    @laylak.359 2 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณมากๆเลยค่ะอาจารย์ สอนได้ละเอียดและเข้าใจมากๆเลยค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับ ฝากแชร์และกดติดตามผลงานของอาจารย์ด้วยนะครับ

  • @sirins929
    @sirins929 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณอาจารย์นะคะ สอนดีมากเข้าใจอธิบายให้เข้าใจค่ะ

  • @กฤติกาเพชรโชติ-ฮ7ฐ

    อาจารย์คะ ภาพรวมของแต่ละด้านหายังไงคะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว +1

      ให้หนูกลับไปดู EP 13: ตัวแปรหุ่น คืออะไร และสร้างอย่างไร ครับ หากดูแล้วไม่เข้าใจก็แจ้งอาจารย์มาใต้คลิป ได้ครับ

    • @กฤติกาเพชรโชติ-ฮ7ฐ
      @กฤติกาเพชรโชติ-ฮ7ฐ 2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากค่ะ🙏🙏

  • @เธอเห็นท้องฟ้านั่นไหม-ย8ฬ

    ขอบคุณอาจารย์นะคะ เข้าใจมากๆเลยค่ะ

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ ฝากกดแชร์และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะ

  • @chaninartsuriyalungga8125
    @chaninartsuriyalungga8125 ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณมากค่าา🙏

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว +1

      ขอบคุณครับ ฝากกดติดตาม กดไลท์ และกดแชร์ให้อาจารย์ด้วนะครับ

  • @TeekhatatTHONGKUL
    @TeekhatatTHONGKUL ปีที่แล้ว

    ขอบพระคุณครับอาจารย์

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  ปีที่แล้ว

      ขอบคุณที่เข้ามาชมคลิปของอาจารย์ครับ ฝากกดไลท์ กดแชร์ และกดติดตามอาจารย์ด้วยนะครับ ขอบคุณครับ

  • @มินเนี่ยนผู้รักชาติศาสน์กษัตริ

    ขอบคุณค่ะ ชอบอ.ที่สอนแบบนี้😅

  • @Sugal2y
    @Sugal2y 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่าอาจารย์ 🙏

    • @sumethedutechstudio
      @sumethedutechstudio  2 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณมากครับที่แวะเข้ามาศึกษาดูคลิปที่อาจารย์ทำครับ