สัมพัทธภาพ EP05 : ทำไมเร็วกว่าแสงถึงทำลายความเป็นเหตุเป็นผล ?

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 26 พ.ย. 2021
  • สั่งซื้อแว่น Ophtus ได้ที่ / ophtus
    อย่าลืมใช้โค้ด SONGSAI เพื่อรับส่วนลด 100 บาทด้วยนะครับ
    ติดตามเราที่ facebook : / becuriousth
    สำรองไว้ เผื่อช่องบิน จะได้หากันเจอ
    -------------------------------------------------------------------
    ในคลิปก่อนหน้า เรื่อง Quantum Entanglement ที่เราได้คุยกันว่า การส่งข้อมูลเร็วกว่าแสง หรือการส่งข้อมูลแบบทันทีทันใด จะขัดแย้งกับ causality หรือความเป็นเหตุเป็นผล ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของไอนสไตน์
    ถึงแม้ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษจะยอมรับว่า อวกาศและเวลา หรือกาลอวกาศ สามารถยืดหดได้ คนที่อยู่คนละกรอบอ้างอิงจะเห็นเหตุการณ์ต่างๆ ไม่ตรงกัน แต่มีสิ่งนึงที่ทุกคนที่ต้องเห็นเหมือนกันคือ causality ผลจะเกิดก่อนเหตุไม่ได้ เหตุต้องเกิดก่อนผลเท่านั้น
    ในวันนี้ เราจะมาดูเรื่องนี้กันเพิ่มเติมอีกสักหน่อย โดยใช้กราฟ Space Time เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้น ว่ามันขัดแย้งกับ causality หรือหลักเหตุและผลยังไง
    -------------------------------------------------------------------
    Reference
    What Is a Gravitational Wave? : spaceplace.nasa.gov/gravitati...
    Experiment: How Fast Your Brain Reacts To Stimuli : backyardbrains.com/experiment...
    How Faster than Light Speed Breaks CAUSALITY and creates Paradoxes : • How Faster than Light ...
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ความคิดเห็น • 444

  • @armythai1
    @armythai1 2 ปีที่แล้ว

    อธิบายได้ดีมากครับ เข้าใจง่าย ขอบคุณครับ

  • @pattarawadeelerttanarak1014
    @pattarawadeelerttanarak1014 15 วันที่ผ่านมา

    รักท่านเสรีพิสุทธิ์ ตรงทุกประเด็น ฟันทุกเม็ด ถูก ผิด ว่ากันไปตามข้อกฏหมาย ไม่เลือกปฏิบัติ ยุติธรรม

  • @user-xg8ke9se8t
    @user-xg8ke9se8t 2 ปีที่แล้ว +3

    ผมเข้ามาฟัง ฟังเกือบทุกคลิปเลยครับ แต่ผมไม่มีความสามารถพอในการย่อยสิ่งที่ฟังได้เลย บางคลิปนี่ผมฟังหลายรอบด้วยนะ ขอคาราวะครับ

  • @christ7893
    @christ7893 2 ปีที่แล้ว +1

    ชอบฟังมากเลยค่ะ😊

  • @pskjh8511
    @pskjh8511 2 ปีที่แล้ว +12

    ชอบการโฆษณาเเว่นของช่องนี้มากครับ ฟังแล้วอยากซื้อมาใส่เลย😆

  • @user-sk5df3vb7y
    @user-sk5df3vb7y 2 ปีที่แล้ว +4

    พี่คือมนุษย์ต่างดาวทึ่มาแอบแฝงอยู่บนโลกนี้ใช่หรือไม่ เพราะการแต่งตัวและหน้าต่างสีหน้าอารมณ์นั้น กระผมคาดไม่ผิดอย่างแน่นอน ทรงผม แว่นตา ใบหน้า รูปร่าง พี่ไม่ธรรมดาอย่างแน่แท้ครับ เพราะพี่สะกดจิตให้คนทำใบหน้าตามพี่ตอนดูใบหน้าที่เคร่งจัดอย่างมากของพี่นั้น กระผมต้องขอน้อมรับจริงๆเลยครับ

  • @chaiyoth6711
    @chaiyoth6711 2 ปีที่แล้ว +7

    ความเป็นเหตุเป็นผลตามความเข้าใจของมนุษย์ครับ แต่ในจักรวาลจริง ๆ มันอาจจะไม่ได้มีความเป็นเหตุเป็นผลอยู่จริงก็ได้ เช่น ภายในหลุมดำ เราก็ไม่รู้คืออะไร มันไม่มีเหตุไม่มีผล และก็ไม่สามารถใช้ทฤษฏีหรือคณิตศาสตร์อธิบายภายในของหลุมดำได้ และมันอยู่นอกเหนือความเข้าใจและความรับรู้ของมนุษย์อีกด้วย

  • @Ryan_srsk
    @Ryan_srsk 2 ปีที่แล้ว

    สวัสดีครับแอด ขอบคุณข้อมูลดีๆครับ😊

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  2 ปีที่แล้ว +1

      สวัสดีครับคุณไรอั้น

  • @helloworld8652
    @helloworld8652 2 ปีที่แล้ว

    เป็นกำลังใจให้ครับ

  • @boonsongsuthisut9362
    @boonsongsuthisut9362 2 ปีที่แล้ว

    คลิปดีมากครับได้ความรู้ดีทำบ่อยๆนะครับ
    ขอเป็นกำลังใจให้ครับ

  • @bewmonobie
    @bewmonobie 2 ปีที่แล้ว

    ผู้ติดตามใกล้หลักแสนแล้ว สู้ๆ นะคะ

  • @user-fc7oz9xt7q
    @user-fc7oz9xt7q 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุนครับบบ

  • @angkhanintanin5471
    @angkhanintanin5471 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากครับ

  • @Zeek8021
    @Zeek8021 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @zealnop
    @zealnop 2 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ การเดินทางไปสำรวจอวกาศเหมือนในหนัง interstellar มีโอกาสเป็นไปได้ไหมครับ ในอนาคต

  • @ylamoon
    @ylamoon ปีที่แล้ว +12

    อีกตัวอย่างที่ผมจะอธิบายก็คือ การส่งข้อมูลเพื่อเปลี่ยนแปลงเหตุการณ์ในอดีตจะทำไม่ได้ เพราะเมื่อไหร่ที่เราเห็นอดีต แปลว่าเราอยู่ห่างจากสิ่งนั้นมาก ยิ่งอยู่ห่างมาก โอกาสที่จะส่งข้อมูลหรือเข้ามาจัดการกับอดีตก็จะยิ่งทำได้ยาก ผมจะยกตัวอย่างให้เข้าใจง่ายๆ แบบนี้
    สมมติเราอยุ่นิวยอร์ก เพื่อนอยู่กรุงเทพ แสงจะใช้เวลาเดินทางไปกลับนิวยอร์กและกรุงเทพราวๆ 15 เที่ยวต่อวินาที ถ้าเราส่องกล้องมาเจอเพื่อนของเราที่กรุงเทพ เราจะเห็นเพื่อนเมื่อ 1/15 หรือ 0.07 วินาทีที่แล้ว สมมติเราเห็นเพื่อนกำลังจะโดนรถชน เรามีประตูโดเรมอน เราเปิดไปหาเพื่อนได้ทันที เราก็จะสามารถฉุดเพื่อนหลบรถที่วิ่งมาชนได้ แม้ว่าสิ่งที่เราเห็นจะเป็นเหตุการณ์ในอดีตเมื่อ 0.07 วินาทีที่แล้ว แต่มันก็เพียงเสี้ยววินาที เรายังพอจัดการได้ หรือถ้าเราไม่มีประตูโดเรม่อน แต่เรามีไลน์เพื่อนอีกคนที่ยืนข้างๆ เรารีบส่งไลน์ไปบอกเพื่อนอีกคนให้ฉุดเพื่อนหลบรถ สมมติว่าเพื่อนคนนั้นกำลังเล่นไลน์อยู่พอดี เราส่งข้อความไปบอก เขาก็เห็นเกือบจะทันที ก็ยังพออยู่ในวิสัยที่จะฉุดเพื่อนหลบรถแทนเราได้
    แต่ถ้าเราอยู่ห่างจากเพื่อน 1 นาทีแสง (18 ล้านกิโลเมตร) เราส่องกล้องมาเห็นเพื่อนกำลังจะโดนรถชน แน่นอนว่ามันเป็นเหตุการณ์เมื่อ 1 นาทีที่แล้ว ต่อให้เรามีประตูโดเรม่อนที่เปิดมายังจุดที่เพื่อนอยู่ได้ทันที เราก็จะช่วยเพื่อนไม่ทัน เพราะเมื่อ 1 นาทีผ่านไป เพื่อนก็อาจจะโดนรถชนไปแล้ว ในกรณีนี้เราจะไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขเหตุการณ์ในอดีตเมื่อ 1 นาทีที่แล้วได้ แต่ถ้าเปลี่ยนจากถูกรถชนเป็นเห็นเพื่อนกำลังจะผูกคอตาย แม้ว่าเราจะเห็นเหตุการณ์ช้าและมาช้าไป 1 นาที เราก็อาจจะพอช่วยเพื่อนได้ทัน เช่น ช่วยแก้เชือก เพราะใน 1 นาทีนั้นเพื่อนอาจจะยังไม่ทันขาดอากาศหายใจ อย่างไรก็ตาม ถ้าเราอยู่ห่างจากเพื่อน 1 ชั่วโมงแสง (1,080 ล้านกิโลเมตร) ต่อให้มีประตูโดเรม่อนเราก็จะช่วยเพื่อนที่กำลังจะผูกคอตายไม่ทัน เพราะภาพของเพื่อนที่กำลังจะผูกคอตายต้องใช้เวลา 1 ชั่วโมงจึงจะมาถึงเรา ต่อให้เราเห็นและมาได้ทันที เวลาบนโลกก็ผ่านไป 1 ชั่วโมงแล้ว เพื่อนเราขาดอากาศหายใจและตายไปแล้ว เรามาช่วยหรือแก้ไขไม่ทันแน่นอน ในกรณีนี้เราแก้ไขหรือจัดการกับอดีตไม่ได้
    อีกตัวอย่าง สมมติว่ามีมนุษย์ต่างอยูห่างจากโลกเรา 60 ล้านปีแสง เมื่อส่องกล้องมาที่โลกของเราก็จะเห็นไดโนเสาร์ สมมติตอนนั้นส่องกล้องมาเจออุกกาบาตกำลังจะพุ่งชนโลกพอดี มนุษย์ต่างดาวคนนั้นก็เลยใช้ประตูโดเรม่อนเดินทางมาที่โลกของเราเพื่อจะยิงจรวจนิวเคลียร์สกัดอุกกาบาตก่อนที่มันจะชนโลก แต่เมื่อมาถึงโลกมันก็กลายเป็นเวลาปัจจุบันซึ่งผ่านมาแล้ว 60 ล้านปี ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปแล้ว เขาจะเจอมนุษย์อย่างพวกเรานี่แหละ เขาไม่สามารถแก้ไขเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลกได้เลย หรือถ้ามนุษย์ต่างดาวคนนั้นจะใช้วิธีส่งข้อมูลมาเตือนคนบนโลกด้วยความเร็วมากกว่าแสงเป็นล้านล้านเท่า แต่มันก็ช่วยอะไรไม่ได้อยู่ดี เพราะสิ่งที่เขาเห็นคือเหตุการณ์เมื่อ 60 ล้านปีที่แล้ว ข้อมูลจะเดินทางมาเร็วขนาดไหนก็ไม่มีประโยชน์ ไม่สามารถแก้ไขอดีตได้
    ดังนั้น มันไม่มีอะไรขัดต่อหลัก causality เพราะการส่งข้อมูลหรือการเข้ามาจัดการอะไรในอดีตมันทำไม่ได้ถ้าอยู่ห่างมากๆ เพราะสิ่งที่เราเห็นคือแสงของเหตุการณ์ในอดีตที่เพิ่งเดินทางมาถึงตาของเรา กว่าข้อมูลจะไปถึงหรือกว่าเราจะเดินทางไปจัดการมันได้ ทุกอย่างก็ล่วงเลยไปหมดแล้ว จะว่าไปทุกอย่างที่เราเห็นเป็นอดีตทั้งนั้น แม้ว่าสิ่งนั้นจะอยู่ห่างจากเราเพียง 1 เมตรก็เป็นอดีต เพราะแสงต้องใช้เวลา 1/300,000,000 วินาที มาถึงตาของเรา แต่มันใกล้มากก็เลยโต้ตอบได้ทันที แต่ถ้ามันอยู่ไกลมากๆ เราจะโต้ตอบทันทีไม่ได้ และไม่สามารถจัดการได้ทันท่วงที

    • @nthaoto
      @nthaoto ปีที่แล้ว

      แต่ข้อมูลที่เราส่งไปมันก็ยังอยู่ในหลักเหตุและผลอยู่ไม่ใช่หรอครับ ถึงแม้สิ่งที่เราเห็นจะเป็นภาพจากอดีต แต่ข้อมูลมันเรียลไทม์ เราอาจจะเห็นภาพช้า และแก้ไขสิ่งที่เราเห็นไม่ได้ก็ตาม แต่เราก็ยังสามารถส่งข้อมูลแบบเรียลไทม์ให้กับเหตุการปัจจุบันของสถานที่นั้นได้โดยไม่ขัดหลักเหตุและผลอยู่ดีไม่ใช่หรอครับ เหมือนกับเราไลฟ์สดอยู่ แล้วภาพมันมีดีเลย์ 1 นาที แต่เสียงยังคงปกติอยู่ ถ้าคนไลฟ์เล่นมุขไปแล้วตอนนี้ คนที่ดูก้จะได้ยินมุขที่คนไลฟ์พูดไป และยังขำได้อยู่ ก่อนที่จะเห็นภาพตามมาในอีก 1 นาที แต่ในขณะที่ภาพยังไม่มา เราก็สามารถพิมขำส่งไปก่อนได้แล้ว แล้วค่อยรอดูว่าคนที่ไลฟ์ทำหน้ายังไงได้อยู่ แบบนี้มันก็ยังอยู่ในหลักเหตุและผลอยู่ไม่ใช่หรอครับ ผมไม่ค่อยเข้าใจแฮะ -.,-

    • @ylamoon
      @ylamoon ปีที่แล้ว +1

      @@nthaoto การเข้าใจทฤษฏีพวกนี้ใช้บริบทสังคมโลกไม่ได้ครับ ระยะทางมันสั้นมาก แสงใช้เวลาไม่ถึงวินาทีก็มาถึง มันต้องใช้สเกลระดับระบบสุริยะหรือกาแลกซี่ถึงจะเข้าใจ เพราะในระดับนี้ แสงหรือข้อมูลที่ส่งผ่านคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดีเลย์แน่นอน ลองอ่านอีกทีนะครับผื่อจะเข้าใจ

    • @nthaoto
      @nthaoto ปีที่แล้ว

      @@ylamoon ที่คุณอธิบายผมก็พอเข้าใจอยู่ แต่ไม่ค่อยเข้าใจเรื่องที่ไอน์ไตน์บอกว่ามันขัดต่อหลักเหตุและผล อย่างที่อธิบายใน 8.12 นาย B สามารถรับข้อมูลจาก A ที่มีเวลาเดินเร็วกว่าได้ก็จริง แต่ถ้า B จะหยุดแล้วทำอะไรซักอย่างที่ A บอก หรือไม่หยุดก็ตาม เวลา ณ ตอนนั้นที่ B ทำมันก็จะเป็นเวลาเดียวกันกับ A อยู่ดีไม่ใช่หรอครับถ้ามองจากภายนอกที่ไม่ใช่ B แค่ B จะมีเวลาชีวิตที่ยืดออกไป เพราะฉนั้นมันก็ไม่เชิงว่ารับข้อมูลจากอนาคต แต่แค่เวลาของ B มันยืดและพาตัวเองไปอนาคตเฉยๆรึป่าว นี่ปวดหัวละนะ 555555 ดูตูนดีกว่า ฉะบัยจัย

    • @ylamoon
      @ylamoon ปีที่แล้ว +2

      @@nthaoto เรื่อง causality ไม่น่าจะเป็นทฤษฏีของไอน์สไตน์นะครับ
      เอาเป็นว่าเหตการณ์ของ A และ B มันจะเกิดขึ้นได้เมื่อเราเดินทางด้วยความเร็วมากๆ จนสามารถแซงแสงในอดีตได้ ทั้ง A และ B ใช้ความเร็วไม่เท่ากัน เพราะฉะนั้น ระยะห่างจากโลกจะไม่เท่ากัน จึงจะเห็นเหตุการณ์บนโลกในช่วงเวลาที่ต่างกันได้ คนอยู่ใกล้กว่าจะเห็นเหตุการณ์ที่เป็นอดีตน้อยกว่าคนอยู่ไกล สมมติว่า A เห็นเหตการณ์ของโลกเมื่อ 5 ปีที่แล้ว ส่วน B เห็นเหตการณ์ของโลกเมื่อ 3 ปีที่แล้ว แปลว่า 2 คนนี้อยู่ห่างกัน 2 ปีแสง ถ้า A กับ B เห็นเหตุการณ์บางอย่างที่อยากแก้ไข เช่น ไม่ต้องการให้บ้านหลังนี้ไฟไหม้ การส่งข้อมูลหากันจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 ปี มันไม่เรียลไทม์และไม่ทันการ ต่อให้มีเทคโนโลยีที่ทำให้ทำอย่างนั้นได้ มันก็แก้ไขอะไรไม่ได้ เพราะสิ่งที่เราเห็นคืออดีต เป็นแค่แสงที่มาเข้าตาเรา แต่เรามีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งนั้นไม่ได้เพราะมันอยู่ไกลมาก แถมยังเป็นอดีตด้วย
      สมมติ A ไปอยู่ดาวดวงหนึ่งซึ่งห่างจากโลก 400 ปีแสง ส่องกล้องมาที่โลกก็จะเห็นประเทศไทยสมัยอยุธยา สมมติว่าเห็นพม่ากำลังจะเผาเมือง A อยากมาช่วย จึงชวนทหารที่มีเทคโนโลยีทันสมัยบนดาวดวงนั้นมาช่วย สมมติว่าบนดาวนั้นมีเทคโนโลยีที่ทำให้เดินทางไปไหนก็ได้ในทันที เมื่อ A มาโผล่ที่โลกเรา มันก็จะเป็นเวลาปัจจุบันในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ปี 2565 เมืองอยุธยาโดนเผาไปเมื่อ 400 ปีที่แล้ว (ผมจำเวลาแน่นอนไม่ได้นะครับ แต่สมมติเอาละกัน) ไม่สามารถไปทำอะไรกับมันได้อีก วันนี้เมืองหลวงก็เป็นกรุงเทพ
      คุณอย่าไปสนในเรื่องเวลายืดหดอะไรเลย สิ่งนั้นจะเกิดขึ้นตอนที่เราเคลื่อนที่เร็วมากๆ เท่านั้น ทำให้งงด้วย หลังจากหยุดเคลื่อนที่แล้วเราก็จะอยู่ห่างกันที่จุดใดจุดหนึ่ง ถ้าห่างกันมาก แสงใช้เวลาในการเดินทางมาก มันไม่มีทางสื่อสารกันได้แบบเรียบไทม์ได้ การส่งข้อมูลเพื่อจะเตือนหรือแก้ไขอดีตไม่มีทางทำได้

    • @Monovania
      @Monovania ปีที่แล้ว

      ถ้าเราอยู่ห่างโลก 60 ล้านปีแสง สมมุติถ้าเรามองไปยังที่ที่โลกเคยอยู่เมื่อ 60 ล้านปีที่แล้วเราจะเห็นโลกเมื่อ 60 ล้านปีที่แล้ว ถูกไหมครับ แบบนี้ถ้าเรามีระบบสุริยะ 2 อัน แต่ห่างกันไป 60 ล้านปีแสง โดยที่ระบบสุริยะทั้ง 2 ไม่ขยับ หมายความว่าระบบสุริยะทั้ง 2 อยู่กันคนล่ะเส้นเวลาใช่ไหมครับหรือแค่ห่างกัน 60 ล้านปีแสงแต่อยู่ในเส้นเวลาเดียวกัน และถ้าเรารับส่งข้อมูลนั้นมันจะเป็นข้อมูลเมื่อ 60 ล้านปีที่แล้วในกรณีที่เราสามารถส่งข้อมูลได้ไว้เท่าแสงใช่ไหมครับ และถ้าเราสามารถมารถรับส่งข้อมูลได้ในทันที เราก็จะทำได้แค่เห็นหรือรับข้อมูลแบบเรียลไทม์ สรุปเราจะรับส่งข้อมูลข้ามเวลาได้ ผู้ส่งต้องเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเข้าใกล้ความเร็วแสง ถ้าไม่อย่างนั้น แม้จะมีระยะห่าง แต่ทั้งสองระบบสุริยะ พูดได้ว่าอยู่ในเส้นเวลาเดียวกัน เพราะว่า คุณอธิบายว่า เมื่อสิ่งหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงหรือใกล้เคียง จะเห็นเส้นเวลาที่ต่างออกไป หมายความว่าการส่งข้อมูลอย่างนั้นก็ไวกว่าแสงอย่างน้อยก็ 2 เท่า เพื่อที่จะได้รับข้อมูลในอนาคตของอีกฝ่ายและตอบกลับ สรุปง่ายๆความเร็วในการเคลื่อนที่มีความสัมพันธ์กับเวลาและพื้นที่(ระยะห่าง) คำถาม ความเร็วขั้นต่ำสุดที่ส่งผลต่อเส้นเวลาคืออะไร ถ้าหาค่าได้ ค่าความเร็วนั้นจะสงผลต่อวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตได้หรือไม่ และเราจะสามรถคำนวนอายุของแร่ธาตุบนดาวอังคารได้อย่างแม่นยำหรือไม่

  • @thanayutvanapitakkun2033
    @thanayutvanapitakkun2033 ปีที่แล้ว

    ขอขอบคุณ

  • @SB-pk6ul
    @SB-pk6ul 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอเรื่องบิ้กแบง ภาวะ singularity หลุมดำ ขอบฟ้าเหตุการณ์ ครับ

  • @dumtruss
    @dumtruss 2 ปีที่แล้ว

    ไขข้อสงสัย​ของผมที่คิดไม่เข้าใจมานานแล้ว ขอบคุณ​มาก​ครับ​

  • @yk-ji2qf
    @yk-ji2qf 2 ปีที่แล้ว

    ผมดูคลิปนี้ผมรู้ช่องทางรวยแล้ว ขอบคุณครับ

  • @qrstv4365
    @qrstv4365 2 ปีที่แล้ว

    ฮอโมน คืออะไรครับ อยากให้ทำคลิปเกี่ยวก้บฮอโมน ครับ

  • @user-gf7uz2jz7d
    @user-gf7uz2jz7d 2 ปีที่แล้ว

    Thanks.

  • @ningpawisa4430
    @ningpawisa4430 2 ปีที่แล้ว

    สมองไหล ก่อนนอนอ่ะบอกเลย ทำไร่ทำสวนแท้ๆ ดันชอบแนวนี้ ช่องทำปุ๋ย ทำเกษตรไม่เคยดูเลย55+

  • @user-cx9xd4fc7q
    @user-cx9xd4fc7q 2 ปีที่แล้ว +1

    ช่องนี้มีความรู้อย่างมาก.....ติดตามเสมอครับ

  • @user-ul1yb6rh4r
    @user-ul1yb6rh4r 2 ปีที่แล้ว

    ถ้า การสรุป ใช่ ก็ ใช่ ถ้า การสรุป ใช่ ก็ ใช่ จึงมีกติกาสากลระบุไว้ ว่า นิยาม ใดๆ - ทฤษฏีการใดๆ หาก มี ข้อยกกล่าวอ้างมาหักล้างได้ ให้ ถือว่า นิยาม นั้น - ทฤษฏีนั้น เป็น เท็จ ครับ แต่ ที่ดีและใช่ คือ การนำเสนอ ดีๆ แบบนี้ ครับ ขอบคุณครับ

  • @uncledenh4029
    @uncledenh4029 2 ปีที่แล้ว

    ต้องอุดหนุน แน่นนอน แว่นสายฟ้า

  • @aprilrutti
    @aprilrutti 2 ปีที่แล้ว

    thanks ka

  • @touchakornyodnil8031
    @touchakornyodnil8031 2 ปีที่แล้ว

    สอบถาม ครับ จะทำอย่างไร ให้ เรา เดินทาง ได้เร็ว 90% ของ ความเร็ว แสง ครับ

  • @chawalic
    @chawalic 2 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับที่ชี้ช่องทางรวยให้ผม ลอตเตอรี่ งวดหน้า จะออกเลขอะไร ผมจะมาบอกนะครับ ขอเดินทางเร็วกว่าแสงแปป55
    .
    .
    ทุกคนได้รับ เลขลอตเตอรี่ งวดหน้า แล้วใช่มัย คอมเมนต์มาบอกด้วยจร้า >>

  • @interface4683
    @interface4683 2 ปีที่แล้ว

    คิดตามไม่ทัน😭😭😭

  • @captainusa2076
    @captainusa2076 2 ปีที่แล้ว

    แย้งครับ ผมเคยใช้มือตบแมงวันได้

  • @user-cw4zm4dj4m
    @user-cw4zm4dj4m 2 ปีที่แล้ว

    หลักเหตุผลและทฤษฏีในจักรวาลยังมีอีกมากที่เรายังไม่ค้นพบหรือไม่เข้าใจ ถึงวันนี้มันเป็นไปไม่ได้ตามทฤษฏีเท่าที่เรารู้ แต่อนาคตอาจการค้นพบทฤษฏีใหม่ๆ ที่ทำให้เข้าใจสิ่งต่างๆ ได้มากขึ้น

  • @ff-tw6wv
    @ff-tw6wv 2 ปีที่แล้ว

    ถ้าเข้าใจไม่ผิดนะ คือ ถ้าเราซื้อหวยวันที่2ซื้อตามงวดก่อนแล้ววันที่3มันจะถูกรางวัล. หรือ เราเข้าห้องน้ำไปขี้เสร็จแล้วสักพักเราก็ปวดท้องไรงี้หรอ

  • @Kuzanakub
    @Kuzanakub 2 ปีที่แล้ว

    นึกถึง The Flash เลย 😁😁😁

  • @piyaratchhongtaweekul
    @piyaratchhongtaweekul 2 ปีที่แล้ว +9

    สวัสดีครับ
    ตอนที่แล้วแทบจะยอมแพ้เมื่อเห็นตารางธาตุ 555+
    มาคลิปนี้ ทั้งๆที่เห็นกราฟตัวนี้มาหลายคลิปแล้ว ก็ยังคิดตามไม่ค่อยทัน
    ที่สงสัยคือ เหตุการที่นายB เริ่มเห็น ข. เกิดก้อน ก. เกิดขึ้นเมื่อทำความเร็วเท่าไหร่ของแสง ต้องเป็น90%ใช่มั้ย ถึงจะเกิดขึ้น

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  2 ปีที่แล้ว +5

      ใช่ครับ ต้องเคลื่อนที่เร็วเข้าใกล้ความเร็วแสงก่อน space time ถึงจะบิดได้ขนาดนั้นครับ

  • @googij7927
    @googij7927 2 ปีที่แล้ว +8

    ใช่ครับ เพราะการส่งข้อมูลแบบนั้นไม่มีทางทำได้ ถึงส่งได้เร็วขนาดนั้นจริง เวลาการเดินทางของข้อมูดก็จะถูกยืดออกอยู่ดี

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o 3 หลายเดือนก่อน

      อาจทำได้ครับ คือ พูดความจริงนะ ผมรู้จักคนที่เห็นอดีตเห็นอนาคตได้ คือเขาเห็นแน่ๆและผมรู้จักมากกว่าหนึ่งคน พอผมมาดูคลิปนี้ เรื่องการส่งข้อมูล กันแบบท้ายคลิป ทำให้ผมเริ่มเห็นภาพ ว่าเขาเห็นภาพอดีอนาคตได้ยังไง นอกนั้นเขายังอ่านใจคนได้ด้วย

    • @user-ru6nc5rz6o
      @user-ru6nc5rz6o 3 หลายเดือนก่อน

      ย้ำว่าไม่ได้โม้ครับ ของแทร่

  • @PopAraks
    @PopAraks 2 ปีที่แล้ว +8

    ที่นาย B มอง A ช้ามันเป็นการมองเห็นกันและกันโดยแสงผ่านกรอบเวลาของตนเองที่ต่างกันหรือป่าวครับ แต่ความเป็นจริง เวลา A นั้นเร็วกว่า เมื่อส่ง mail หา B ในนาทีที่ 4 นาย B ได้รับในนาทีที่ 2 แต่ถ้าเป็นการมองเห็นกันแบบในคลิป เมื่อ B ได้รับ mail แล้ว กว่าจะเห็น A ส่งก็ปาเข้าไปนาทีที่ 8 ตามการมองเห็นฝั่งตัวเอง แล้วสมมติ B เปิดอ่านในนาทีที่ 3 (ยังไม่เห็นAส่ง) แล้วตอบกลับทันที แต่นาย A ก็มองดูอยู่ตลอดก็ต้องเห็น B เปิดอ่านในนาทีที่ 6 ของตัวเองแล้วเห็น B ส่งกลับทันที ก็จะได้รับข้อมูลทันทีในเวลาของตัวเองที่ 6 นาทีเช่นกัน ในขณะที่ B กว่าจะเห็นนาย A ได้รับก็จนเวลาของตัวเองผ่านไปแล้ว 12 นาที ซึ่งการส่งข้อมูลมันก็ทันทีทันใดทั้งคู่ แน่นอนว่าเร็วกว่าแสงแน่ๆ เพราะระยะทางในความเป็นจริง นาย B อยู่ห่างออกไปหลายนาทีแสง แต่การเข้าถึงข้อมูลมันก็่น่าจะยังอยู่ตามกรอบเวลาจริงแต่ละคนอยู่ดี ซึ่งถ้าเรามองในบุคคลที่ 3 ก็น่าจะเห็นข้อมูลมันกระโดดข้าม spacetime ไปมาทันที ไม่ได้ส่งกลับไปในอดีต ก็จะไม่ขัดแย้งกับหลักเหตุผลด้วย อันนี้ผมเข้าใจผิดไปเองหรือป่าวครับ เพราะมันก็ขัดๆ กับที่ดู (เพราะในคลิปเป็นการมองเห็นเวลาของอีกฝั่งยืดหดตามการมองเห็นไม่ใช่เวลาจริงๆ : เวลาจริงของ B ต้องช้ากว่า A ) ยังไงก็ช่วยอธิบายเพิ่มเติมด้วยครับ เป็นประโยชน์มาก ตามดูมาตลอดเลย :)

    • @hothead158
      @hothead158 2 ปีที่แล้ว +1

      คือมันส่งทันทีไงครับ นี้แหละคำว่าทันที
      ไป8ไม่ได้ยังไงก็ไปลงที่2
      ถ้าไป 8 มันก็ไม่ทันทีไงครับ
      ในกรอบเวลาของ a ทันทีคือนาทีที่ 2 ของนาย b นาย b ต้องได้รับตอน 2 เพราะได้รับทันที เท่ากับมันย้อนเวลามาในกรอบเวลาของนาย b คือมันย้อนเวลามาครับ แล้วถ้านาย b ตอบกลับทันทีในกรอบเวลาของนาย b นาย a จะได้รับนาทีที่ 1 ตามคลิป
      คือมันส่งทันทีครับ แบบทันทีเลยถ้ามันถึงนาทีที่ 8 เท่ากับว่าตอนที่ส่งมันถูกยืดออกระหว่างทางให้เท่ากับนาทีที่ 8
      ในกรอบเวลาของนาย a ก็จะเท่ากับว่าข้อความที่ส่งมันไม่ทันทีนั้นเอง เพราะทันทีต้องลงที่ 2

    • @Hippo_hippy
      @Hippo_hippy ปีที่แล้ว

      รมมาใัมย

  • @yingyospimthong1661
    @yingyospimthong1661 2 ปีที่แล้ว

    พี่ทำอาชีพอะไรครับ เก่งมากๆ เป็นอ่จารย์รึเปล่าครับ

  • @user-ew9xl6dv1c
    @user-ew9xl6dv1c ปีที่แล้ว +2

    การที่บอกว่า การส่งข้อมูลที่เร็วกว่าแสงนั้นทำให้เกิดการมองย้อนเวลานั้น ไม่ได้ขัดกับหลักความเป็นเหตุเป็นผล
    โดยเวลานั้นไม่ได้ยืดหดกับความเร็วแต่อย่างใด แต่เป็นเพียงเพราะความเร็วของแสงที่เปลี่ยนไปในเวลาที่เราเคลื่อนที่ไปเท่านั้น เมื่อเราเคลื่อนที่ไปใกล้ความเร็วแสง เราจะเห็นเวลาทางด้านหลังนั้นช้าลงและความยาวคลื่นแสงจะยาวขึ้น แต่เราจะเห็นเวลาทางด้านหน้าเร็วขึ้นและความยาวคลื่นแสงสั้นลง
    โดยการส่งข้อมูลแบบทันที จะทำให้ได้รับข้อมูลของปัจจุบัน แต่การมองเห็นแสง จะทำให้ได้รับข้อมูลจากอดีต
    ถ้านาย B รับข้อมูลจากนาย A แล้ว 1 วินาทีถัดไปนาย B ได้ส่งข้อมูลให้นาย A นาย A จะได้รับข้อมูลหลังจากส่งให้นาย B เป็นเวลา 1 วินาทีเท่ากัน แต่นาย A จะเห็นนาย B ได้รับข้อมูลทีหลังจากที่นาย A ส่งข้อมูลให้นาย B ซึ่งเป็นผลจากขีดจำกัดความเร็วของแสง โดยข้อมูลที่ส่งไม่ได้ส่งย้อนเวลากลับไปแต่อย่างใด
    (หากมีความคิดเห็นอย่างไร สามารถแสดงความคิดเห็นมาได้)

  • @Deep_Dark_Dimension
    @Deep_Dark_Dimension 2 ปีที่แล้ว +1

    เมื่อวัตถุใดเร็วกว่าแสง วัตถุนั้นจะหลุดออกจากความเป็นเหตุและผล เอาจริงๆถ้าในอนาคตมนุษย์หาวิธีกำจัด สนามพลังฮิก หรืออนุภาคฮิกโบซอนได้ หรือหาทางใช้งานอนุภาคที่มวลเป็นลบได้ ก็น่าลุ้น ตอนนี้ก็มีแต่ทฤษฎีของอนุภาค Tachyon นั่นแหละที่อยู่นอกกรวยแสงได้

  • @halo-xw8wf
    @halo-xw8wf 2 ปีที่แล้ว +3

    จริงมั้ยครับแอดมิน เคยได้ยินมาว่าโลกเมื่อก่อนไม่มีน้ำ แต่น้ำบนโลกมาจากอุกกาบาต

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  2 ปีที่แล้ว +2

      Hydrogen กับ Oxygen เป็นธาตุที่มีทั่วไปในจักรวาลอยู่ละครับ ไม่ได้พิเศษอะไร
      แค่มีอุณหภูมิที่เหมาะสมก็เกิดน้ำได้ครับ

  • @curious-person
    @curious-person 2 ปีที่แล้ว +1

    จะเป็นไปได้มั้ยครับ ถ้าแสงไม่ใช่ความเร็วคงที่

  • @TheO-ol7ip
    @TheO-ol7ip ปีที่แล้ว

    เคยดูสารคดี การระเบิดของ ซุปเปอร์โนว่า รังสีที่พุ่งออกมานั้นมีความเร็วมากกว่าความเร็วแสง
    คำถามครับ
    1. เหตุการณ์ในรังสีนั้นจะเป็นอย่างไร?
    2. ความเร็วของรังสีที่พุ่งออกมากจะลดลงมั้ย ถ้าลดลง จะใช่เวลาหรึอระยะทางเท่าไหร่?
    3. รังสีที่พุ่งออกมามีความเร็วเหนือแสง รังสีนั้นมีพลังงานมากพอที่จะทำลายสิ่งที่มีมวล เช่น ดาวเคาะ และ ดาวฤกษ์หรือไม่?

  • @ylamoon
    @ylamoon ปีที่แล้ว +2

    ผมไม่เห็นด้วยกับทฤษฎีที่ว่าถ้าเราเดินทางเร็วกว่าแสง จะทำให้หลัก causality เสียหาย อย่าลืมว่าแสงเดินทางเป็นอนุกรม แสงเมื่อ 10.00 น. ของวันนี้จะอยู่ห่างจากโลกมากกว่าแสงเมื่อ 11.00 น. ของวันนี้ และแสงเมื่อ 9.00 น. ก็จะอยู่ห่างจากโลกมากกว่าแสง ณ เวลา 10.00 น. ของวันนี้ เราไม่สามารถสลับตำแหน่งของเหตุการณ์ที่เดินทางไปกับแสงได้ มันคือการบันทึกเหตุการณ์ที่ตายตัว ตัดต่อไม่ได้ ย้ายหรือสลับตำแหน่งไม่ได้ แต่สามารถเลื่อนสไลด์ดูเหตุการณ์ต่างๆ ได้ เหมือนเราดูวิดีโอยูทูบ ถ้าเราเลื่อนไปแล้วเห็นแก้วแตก ไม่ได้แปลว่าแก้วมันแตกก่อนจะตก เพราะเมื่อเราเลื่อนย้อนหลังมาหน่อย เราก็จะเห็นแล้วว่าใครเป็นคนทำแก้วตกแตก
    เราสามารถเลื่อนดูเหตุการณ์บนโลกจากอดีตถึงปัจจุบันได้ (ยกเว้นอนาคต) เหมือนเราเลื่อนดูวิดีโอบนยูทูบนี่แหละ ถ้าเราสามารถไปอยู่ตรงจุดไหนในอวกาศได้ทันทีเหมือนเปิดประตูโดเรม่อนไปแล้วถึงเลย และมีกล้องส่องทางไกลที่ชัดขนาดที่ว่าอยู่ห่างไป 10,000 ล้านปีแสง ส่องมาที่โลกก็ยังมองเห็นมดได้ เช่น เราไปอยู่ในจุดที่ห่างจากโลก 10 นาทีแสง เราก็จะเห็นแต่อดีตของโลกเมื่อ 10 นาทีที่แล้ว ไม่สามารถเห็นปัจจุบันของมันได้ สมมติเราส่องกล้องกลับมาแล้วเห็นแก้วแตกบนพื้น ก็ไม่ได้แปลว่าแก้วมันแตกก่อนแล้วค่อยตก เพราะแสงของเหตุการณ์เดินทางเป็นอนุกรม สลับกันไม่ได้ เพราะว่าแสงก่อนเหตุการณ์แก้วแตกอยู่ห่างจากโลกมากกว่าจุดที่เราอยู่ เพราะมันเดินทางออกไปก่อนเรา เราแค่ส่องมาเจอเหตุการณ์ตอนแก้วแตกพอดี ถ้าอยากรู้ว่าเหตุการณ์ก่อนหน้านี้เป็นยังไง เราก็แค่ไปอยู่ในจุดที่ห่างจากโลกออกไปอีก สมมติว่าเราพาตัวเองไปอยู่ในจุดที่ห่างจากโลก 11 นาทีแสง เราก็จะเห็นแล้วว่าใครทำแก้วตกแตก นั่นแปลว่าถ้าเราสามารถเลื่อนตำแหน่งส่องกล้องมองดูโลกได้อย่างอิสระ เราก็สามารถเลื่อนหรือกระโดดไปดูเหตุการณ์ตรงไหนในอดีตก็ได้ ยิ่งอยู่ไกลมากก็ยิ่งเป็นอดีตมาก ไม่ขัดต่อหลัก causality เพราะเราเห็นแค่แสงของอดีตที่เดินทางออกไปจากโลกในห้วงเวลาต่างๆ แต่เราไม่สามารถสลับตำแหน่งของเหตุการณ์ได้ เราทำได้แค่มองดู เราไม่สามารถย้อนไปทำให้แก้วไม่ตกแตกได้ ทำได้เพียงมองดูมันตกแตก หรือถ้าไม่อยากเห็นตอนมันแตก เราก็เลื่อนจุดส่องกล้องให้ห่างจากโลกไปอีก เราส่องมาก็จะเห็นว่าแก้วยังไม่แตก แต่สุดท้ายมันก็จะตกแตกอยู่ดี ที่สำคัญ เราจะไม่ได้ยินเสียงแก้วตกแตก เพราะเสียงเดินทางได้ช้ากว่าแสงมากๆ ในระยะที่ไกลขนาดนั้นวอลลุ่มเสียงก็แทบจะเป็น 0 แล้ว ต่อให้ฟังได้ยิน เราก็อาจจะได้ยินเสียงไดโนเสาร์แทน เพราะเสียงในยุคนั้นเพิ่งเดินทางมาถึงเรา (แต่ในความเป็นจริงมันเป็นไปไม่ได้)
    เมื่อเรามองขึ้นไปบนฟ้า เราก็เห็นอดีตแล้ว เพราะดวงดาวต่างๆ อยู่ห่างจากเราหลายปีแสง แม้กระทั่งดวงจันทร์ เราจะเห็นอดีตของดวงจันทร์เมื่อ 1 วินาทีที่แล้วเสมอ เพราะแสงใช้เวลา 1 วินาทีเดินทางจากดวงจันทร์มาถึงโลก ก็ไม่เห็นจะมีผลต่อ causality เลยครับ เราก็ไม่เห็นแก้วแตกก่อนที่มันจะตก
    ทำไมเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสงเวลาจึงหยุด นึกภาพตามง่ายๆ แบบนี้ครับ สมมติว่าเราเดินทางออกจากโลกด้วยความเร็วเท่ากับแสง ณ เวลา 10.00 น. ภาพที่เราเห็นตอนเดินทางออกไปคือเห็นนายกอไก่กำลังตักข้าวเข้าปาก เมื่อเราเดินทางออกจากโลกในเวลานั้นด้วยความเร็วเท่าแสง นั่นแปลว่าแสง ณ เวลา 10.00 น. จะเดินทางไปพร้อมกับเราด้วยความเร็วเท่ากัน เมื่อเราส่องกล้องกลับมาที่โลก เราก็จะเห็นนายกอทำท่าตักข้าวเข้าปากอยู่แบบนั้น ไม่ขยับเขยื้อนไปไหน ส่องไปตรงไหนของโลกทุกอย่างก็หยุดนิ่ง ไม่เคลื่อนที่ เพราะแสงของโลก ณ เวลา 10.00 น. เดินทางมาพร้อมกับเรา แสงของเหตุการณ์อื่นๆ ที่เกิดหลังจากนั้นจะไม่มีวันเดินทางมาถึงสายตาของเรา เมื่อบนโลกไม่มีการเคลื่อนไหว ก็เท่ากับเวลาหยุด นั่นแปลว่าต่อให้เราเดินทางออกไปจากโลกนานเป็นสิบๆ ปี หรือจะกี่ปีก็แล้วแต่ แต่ส่องมาที่โลกทีไรก็ยังเห็นนายกอไก่ทำท่าตักข้าวเข้าปากเหมือนเดิม เพราะแสง ณ เวลานั้นเดินทางไปพร้อมกับเราด้วยความเร็วเท่ากัน และเราก็จะไม่เห็นแสงของเหตุการณ์ก่อน 10.00 น. ด้วย เพราะมันเดินทางออกไปก่อนเรา ถ้าอยากเห็นก็ต้องเดินทางด้วยความเร็วมากกว่าแสง เพื่อจะแซงแสงของเหตุการณ์ในอดีตที่เดินทางออกไปก่อนหน้าเรา

    • @ylamoon
      @ylamoon ปีที่แล้ว

      โดยหลักการก็คือ ถ้าเราอยู่ใกล้แหล่งกำเนิดแสง เราจะเห็นเหตุการณ์ที่เป็นอดีตน้อยที่สุด จะเรียกว่าปัจจุบันก็ได้ เพราะแสงใช้เวลาเพียงเสี้ยววินาทีเดินทางมาถึงตาของเรา แต่ถ้าเราอยู่ห่างจากจุดกำเนิดแสงมาก เราก็จะเห็นอดีตของสิ่งนั้นมากขึ้น ยิ่งไกลมากก็ยิ่งเป็นอดีตมาก
      อีกเรื่องหนึ่งที่ผมอยากยกตัวอย่างให้เห็นภาพเพื่อความเข้าใจ แต่อาจจะไม่เกี่ยวกับเนื้อหาข้างบนนะครับ แต่อยากให้เข้าใจว่าทำไมเราถึงไม่รู้สึกถึงความเป็นอดีตเมื่ออยู่บนโลก นั่นเป็นเพราะว่าแสงใช้เวลาน้อยมากเดินทางมาถึงเราจนเรารู้สึกว่าเราเห็นทันที โต้ตอบได้ทันที เช่น เพื่อนอยู่ห่างจากเรา 100 เมตร เราสามารถตะโกนพูดคุยโต้ตอบกับเพื่อนได้ทันที ถ้าเพื่อนเอียงตัวไปทางซ้ายเราก็เห็นทันที ทำตามได้ทันที แต่ถ้าเราอยู่ห่างกันมากๆ เอาแค่ 1 นาทีแสง (18 ล้านกิโลเมตร) เราก็ไม่สามารถพูดคุยโต้ตอบกับเพื่อนผ่านการส่งสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ได้ทันทีแล้ว เช่น เราทำท่าเอียงตัวไปทางซ้าย กว่าเพื่อนจะเห็นว่าเราเอียงตัวไปทางซ้ายก็ต้องรอ 1 นาที (จริงๆ จะมากกว่านั้นเล็กน้อย) เมื่อเพื่อนเห็นเราเอียงตัวไปทางซ้ายก็เลยทำตามบ้าง เราก็ต้องรออีก 1 นาทีถึงจะเห็นเพื่อนทำท่าตามเรา นั่นแปลว่าเราจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 นาทีในการสื่อสารกันให้เข้าใจ ลองคิดดูว่าถ้าเราอยู่ห่างจากเพื่อน 50 ปีแสง กว่าเพื่อนจะเห็นว่าเราเอียงตัวไปทางซ้ายก็ต้องรอ 50 ปี กว่าเราจะเห็นเพื่อนเอียงซ้ายตามเราก็ต้องรออีก 50 ปี รวมกันเป็น 100 ปี คงตายและเกิดใหม่ไปแล้ว

    • @ylamoon
      @ylamoon ปีที่แล้ว

      เราจะไม่สามารถเห็นแสงในอนาคตหรือสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้นได้ เพราะเมื่อเหตุการณ์ยังไม่เกิด จะไม่มีแสงของเหตุการณ์นั้นเดินทางมาสู่สายตาเรา ไม่ว่าเราจะไปอยู่ตรงจุดไหนของจักรวาลก็จะไม่เห็นแสงของเหตุการณ์ในอนาคต การเดินทางไปในอนาคตจึงเป็นไปไม่ได้ แต่ถ้าอนาคตหมายถึงสิ่งที่ยังมาไม่ถึง เราสามารถเดินทางไปดูอนาคตของสิ่งที่เห็นในอดีตได้
      สมมติว่าเรามองไปที่ดาวอัลฟ่า เซ็นจูรี่ซึ่งอยู่ห่างจากโลกเรา 4 ปีแสง เมื่อเราส่องกล้องไป เราจะเห็นเหตุการณ์เมื่อ 4 ปีที่แล้ว นั่นแปลว่าแสงของของเหตุการณ์เมื่อ 3 ปีที่แล้วของดาวอัลฟ่าเซ็นจูรี่ยังเดินทางมาไม่ถึงเรา มันจึงถือเป็นเหตุการณ์ในอนาคตของสิ่งที่เราเห็นบนโลก แต่อีก 1 ปีข้างหน้า แสงของเหตุการณ์นั้นก็จะเดินทางมาถึงเรา สรุปง่ายๆ คือ แสงของเหตุการณ์ที่ยังเดินทางมาไม่ถึงเราถือเป็นเหตุการณ์ในอนาคตของสิ่งที่เราเห็นในปัจจุบัน
      สมมติว่าอีก 3 ปีข้างหน้าตามเวลาปัจจุบันของดาวอัลฟ่าเซ็นจูรี ดาวดวงนี้จะระเบิด เราจะไม่มีทางเห็นสิ่งนั้นไม่ว่าจะด้วยวิธีใด ด้วยหลักการง่ายๆ ก็คือ ถ้าเหตุการณ์นั้นยังไม่เกิด ก็จะไม่มีแสงของเหตุการณ์นั้นเดินทางมากระทบตาของเรา การเห็นอนาคตจึงเป็นไปไม่ได้ อนาคตที่สามารถไปสัมผัสได้คือแสงของเหตุการณ์ที่ยังเดินทางมาไม่ถึงเราเท่านั้น หมายถึงว่าเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นแล้ว แต่มันอยู่ไกลมากจนเราไม่สามารถเห็นได้ทันที เพราะแสงของเหตุการณ์ยังมาไม่ถึง มันจึงถือเป็นเหตุการณ์ในอนาคตของสิ่งที่เราเห็น ถ้าเราอยากเห็นเหตุการณ์นั้น เราก็ต้องเดินทางไปอยู่ตรงนั้นทันที เช่น อยากเห็นเหตุการณ์ปัจจุบันของดาวอัลฟ่าเซ็นจูรี่ เราก็ต้องหายตัวไปอยู่ที่ดาวดวงนั้นทันที เราก็จะเห็นเหตุการณ์ปัจจุบันของมัน แต่เมื่อมองกลับมาที่โลก เราก็จะเห็นเหตุการณ์ในอดีตของโลกเมื่อ 4 ปีที่แล้วแทน

    • @nandhedavinz3526
      @nandhedavinz3526 ปีที่แล้ว

      @@ylamoon เห็นด้วยทุกตัวอักษร เรานั่งอ่านจนหมด เราก็คิดเเบบนี้เปะๆเลย นั่งเลื่อนทุกคอมเมนท์ คอมเมนท์ที่สุดเเล้ว👏👏

  • @UtenFm
    @UtenFm 2 ปีที่แล้ว

    ใช่เลย รู้สึกนอนไม่อิ่ม ตั้งแต่ติดซีรี่

    • @UtenFm
      @UtenFm ปีที่แล้ว

      เฮ้ยย

  • @user-gf6hs3hk5w
    @user-gf6hs3hk5w 2 ปีที่แล้ว

    พี่อธิบายได้แจ่มแจ้งมากครับ

  • @terdphanpongcharoenchai1166
    @terdphanpongcharoenchai1166 6 หลายเดือนก่อน

    จักรวาลจะให้กว้างใหญ่ขนาดไหน
    เอกภพจะให้มีกี่มิติก็ตาม
    เวลาที่ไม่เคยหยุดเดิน
    เพียงแค่ปลิ้นเชื่อไหมดับหมด
    พ้นวิสัยของโลก
    เป็นอมตะ😇

  • @dangstyle4187
    @dangstyle4187 2 ปีที่แล้ว +2

    ผมนึกถึงเรื่องลางสังหรณ์และก็เรื่องอะตอมสื่อสารกันได้ เป็นไปได้นะที่เราจะสามารถรู้อนาคต

  • @user-sq4gu7zz2j
    @user-sq4gu7zz2j ปีที่แล้ว +2

    แม้แต่แสง..หรือควอนตัม..มนุษย์ก็ยังไม่เข้าใจหรืออธิบายได้ทั้งหมดอย่างแน่นอน..นั้นหมายความว่า..แค่อนุมานด้วยทฤษฎีบ้างแง่มุมเท่านั้น

  • @rungroj88
    @rungroj88 2 ปีที่แล้ว +1

    สีที่จะเร็วเท่ากันคือตัวมันเองแต่ก็ช้ากว่าเกาะรอบคลืนรังสีของตัวเอง/ถ้ามีอะไรทีเร็วกว่ารังสีตัวเองทุกอย่างจะกายเป็นสิ่งใหม่

  • @user-dt1hx6kc6p
    @user-dt1hx6kc6p 2 ปีที่แล้ว

    แว่นชังเจ้าก็มา

  • @user-pp6zj5uy7n
    @user-pp6zj5uy7n 2 ปีที่แล้ว +1

    ทฤษฎีที่กล่าวมานี้น่าสนใจมากครับ ที่พยายามให้เข้าใจถึงการรู้ผลก่อนเหตุ และมีความเป็นไปได้ แต่อันที่จริงเหตุจะต้องเกิดก่อนผลเสมอ..เพียงแต่ เมื่อเราข้ามผ่านความเร็วแสง. การวิเคราะปัญหาจะใช้มุมมองที่มากกว่า4มิติทั่วไป. ที่กล่าวถึงtimelineของเหตุที่เกิดขึ้นแล้ว. สรุปคือเมื่อเชื่อแบบนี้ก็แสดงให้รู้ว่าอนาคตถูกกำหนดไว้แล้ว. เหตุทั่งหมดได้เกิดขึ้นแล้วในอนาคตเพียงแต่เราได้รู้ผลก่อนเท่านั่น. ถ้ามองอย่างตรงไปตรงมาก็คือรู้ผลก่อนเหตุได้จริงเปํนไปได้ตามทฤษฎีที่กล่าว..แต่ไม่ใช่ผลเกิดก่อนเหตุครับ

    • @Arme.555
      @Arme.555 2 ปีที่แล้ว

      ผมคิดแบบนี้เหมือนกันเลย

    • @mrgoo1290
      @mrgoo1290 ปีที่แล้ว

      พอคิดไปคิดมา เหตุต้องเกิดก่อนผล
      มันทำให้ไหล ไปคิดต่อว่า หากทุกสิ่งเป็นเหตุ เป็นผลสมบูรณ์ 100 %
      นั่นเราย่อมไม่มี ความอิสระ ในการคิดอย่างแท้จริง
      อนาคตย่อมถูกกำหนดไว้แล้ว ????????????????????????????

  • @extremex7945
    @extremex7945 ปีที่แล้ว

    ส่งเรียงเบอร์งวดถัดไปมาให้หน่อย

  • @owindhayateo
    @owindhayateo 2 ปีที่แล้ว +8

    ในความคิดผมแสดงว่า ถ้าเราคิดค้นอุปกรณ์/กระบวนการ ที่ทำให้ มวลหาย? หรือ ส่งผลให้ความเฉื่อยหาย? หรือ ลดมวล โดยที่เข้าใกล้ 0 โดยสสารยังคงคุณสมบัติครบถ้วน โอกาสที่เราเดินทาง ความเร็วแสงก็มีนะสิ หรือมีกฎอื่นๆ ที่ทำให้มวลไม่สามารถหายไปได้ อันนี้ไม่รุแฮะ คลิปสนุกมาก ฟังตั้ง 3 รอบ

    • @nzorgkm2034
      @nzorgkm2034 2 ปีที่แล้ว +4

      สสารไม่สามารถหายได้ครับได้แค่เปลี่ยนรูปร่าง อย่างเช่นพลังงาน
      ถ้ามวลยังคงมีอยู่ ก็จะติดทฤษฎีมวลสัมพัทธ์ (มวลใดที่มีค่าที่ไม่ใช่0เมื่อเข้าใกล้ความไวแสง พลังงาน และ โมเมนตัม จะเพิ่มขึ้นแบบเป็นอนันต์)

    • @Deep_Dark_Dimension
      @Deep_Dark_Dimension 2 ปีที่แล้ว +4

      มีความเป็นไปได้ครับ เพราะวัตถุมีมวลเพราะ อนุภาคฮิกส์โบซอน สนามพลังฮิกส์ ถ้าเราสามารถสร้างยานที่กำจัดสนามพลังฮิกส์ได้ เราก็จะไม่มีมวล สามารถทำความเร็วแสงได้ครับ

    • @hi_tul7473
      @hi_tul7473 2 ปีที่แล้ว +2

      ส่วนตัวมองว่าเราสามารถเร็วกว่าแสดงได้แน่นอน ในอนาคต เรามีมวรสะสาร ที่ไม่ค้นพบอีกมากมาย

    • @Dioxin-qi6jz
      @Dioxin-qi6jz 2 ปีที่แล้ว +3

      อาจทำได้ครับ วิทยาศาสตร์มีจุดสิ้นสุดที่ความเร็วแสง

    • @googij7927
      @googij7927 2 ปีที่แล้ว +1

      ค่าความโน้มถ่วงของหลุมดำมีค่าเท่าไหร่ถึงสามารถดึงดูดแสงไม่ให้หนีออกไปได้ ต้องมากกว่าความเร็วของแสงใช่ไหม? ถ้าใช่ วัตถุที่ตกลงไปในหลุมก็ต้องเร็วกว่าแสง

  • @pingchannel8634
    @pingchannel8634 2 ปีที่แล้ว +17

    นี่คือแนวคิด Locality หรือ Local realism ซึ่งเป็นแนวคิดของไอสไตน์ แต่อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีควอนตัมก็ได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และถูกต้องครับ ซึ่งยังมีสิ่งที่เร็วกว่าแสงคือคู่ปฏิสัมพันธ์ของอนุภาคโฟตอน

    • @spiderpocky
      @spiderpocky 2 ปีที่แล้ว +6

      การส่งข้อมูลอาจจะเร็วกว่าแสง แต่ในตอนที่เราวัดค่า เพื่อรับข้อมูล เราก็ยังเร็วสูงสุดได้เท่าแสงอยู่ดี
      กฏลุงไอน์สไตน์อาจจะยังรอดไปได้

    • @gidthiphongphlubprasit9564
      @gidthiphongphlubprasit9564 ปีที่แล้ว +3

      แต่สุดท้ายเราก็รับรู้ได้แค่ความเร็วแสงอยู่ดี รึเปล่า?? เพราะมันเป็นรูปธรรมที่เราสามารถรับรู้ได้

    • @korninsao
      @korninsao ปีที่แล้ว +1

      ุถ้าคุณยังอาศัยแสงในการรับรู้สัมผัสอยู่นะ

    • @user-pn1wi3hg7m
      @user-pn1wi3hg7m ปีที่แล้ว +1

      โฟตรอนก็แสงไม่ใช่หรา

  • @user-qh3dr7yp5e
    @user-qh3dr7yp5e 2 ปีที่แล้ว

    บางทีความ สมเหตุ สมผล อาจจะเป็นแค่ ความเชื่อ ก็ได้นะ

  • @minishizhu1949
    @minishizhu1949 2 ปีที่แล้ว

    นึกถึงข้อสอบปีหนึ่ง หั่นมีดไปตรงๆ 2 เล่มระยะห่างกัน 9 ซม. เพื่อหั่นหนอนยาว 10 ซม. ถามว่า หนอนต้องเคลื่อนเร็วเท่าไหร่ให้มีดไม่โดนตัวหนอนและ อยู่ที่หัวและหางพอดี

    • @minishizhu1949
      @minishizhu1949 2 ปีที่แล้ว

      แสดงวิธีทำให้ดูหน่อย

  • @kinkaden01
    @kinkaden01 2 ปีที่แล้ว

    ตอนนี้เราว่า@นำเสนอได้ดี แบบว่าไม่ให้โฆษณามากวนใจ

  • @Kefp_mimi
    @Kefp_mimi ปีที่แล้ว +1

    พูดว่าไม่มีอะไรที่เร็วกว่าแสง แต่สัมการที่ใช้ดูเหมือนจะทำลายความเป็นเหตุเป็นผลของตัวมันเองตั้งแต่ต้น ขัดแย้งกันเอง เพราะในสัมการเขียนไว้ว่าการส่งข้อมูลแบบทันทีซึ่งเร็วกว่าแสง สิ่งนี้ทำลายเหตุผลของกราฟสมการเดียวกัน

  • @warodomaukkanij668
    @warodomaukkanij668 2 ปีที่แล้ว +1

    ทุกอย่างเกิดด้วยเหตุและปัจจัย
    สามารถคาดการได้แต่ไม่แน่นอน
    เราอาศัยอยู่ในโลกพลังงานความน่าจะเป็น ที่พร้อมจะเป็นอะไรก็ได้อยู่ตลอดเวลา

  • @franksabuy8761
    @franksabuy8761 2 ปีที่แล้ว

    จากแผนภาพตรงเวลาที่ 8.30 ถ้านาย B กลับมาที่กรอบอ้างอิงของนาย A ที่ความเร็ว 0.87c ผมงงว่าทำไมนาฬิกาอะตอมถึงไม่เท่ากัน (ดูจากคลิปก่อนๆ) นาฬิกาอะตอมของนาย B ก็จะเป็น 16 นาที เท่ากับ นาย A หรือเปล่า

  • @yeschannel8634
    @yeschannel8634 2 ปีที่แล้ว +1

    เหตุและผล อยู่ภายในขอบเขตของมิติเวลา เมื่อเวลาขยายขอบเขตหรือขอบเขตที่ใดๆเร็วกว่าแสงเวลาจะขยายขอบเขตทำให้ทำลายเหตุและผลที่อยู่ภายใต้กฏของเวลา

  • @zotysupatsiri2929
    @zotysupatsiri2929 2 ปีที่แล้ว

    ฟังแล้วเวียนหัว 55

  • @Pee.ja.ya.jub.pommmm
    @Pee.ja.ya.jub.pommmm 3 หลายเดือนก่อน

    ถ้าเราเดินทางด้วยความเร็วแสง รอบโลก แสงที่มองข้างหน้าจะไวขึ้น แต่ข้างหลังจะหยุดนิ่งและเป็นสีดำเพราะเราเดินทางได้ไวเท่าแสง(แสงจะมาไม่ถึงตาเรา ต้องลดความเร็วลงสักนิดให้แสงวิ่งแซงเรา เราถึงจะรับรู้) ส่วนคนยื่นเฉยๆมันก็เกินความรับรู้ไปแล้ว เพราะถ้าเราจะเห็นคนที่วิ่งความเร็วแสง จะต้องมีแสงมากระทบตาเราก่อน แต่คนมันเร็วเท่าแสง จะรับรู้ได้ยังไงกัน แต่ผมสันนิษฐาน ด้วยความรู้อันน้อยนิดชั้นป.6ของผม แสงมันก็คือโฟตอนเป็นพลังชนิดหนึ่งมันอาจจะเร็วกว่าเดิมด้วยความเร็วเพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวของมันจากเดิมก็ได้ ถ้าเราป้อนพลังงานให้มันเหมือนเรายิงปืนจากเครื่องบิน ความเร็วกระสุนเพิ่มขึ้นเยอะมาก อนุภาคโฟตอนที่ออกมาจากคนที่วิ่งเร็วเท่าแสงก็อาจจะเร็วกว่าอนุภาคโฟตอนที่อยู่ในสภาวะปกติ อันนี้ผมเดาล้วนๆ ไม่มีความรู้อะไรเลย หรือมันอาจจะถูกกำหนดมาแบบนี้ กำหนดเท่าที่ให้รู้ ถ้าเราไม่รู้มันอาจจะเป็นอีกอย่าง ถ้าเรารู้มันจะเป็นอีกอย่างก็ได้ ถ้าผิดอธิบายผมที 😢😢😢

  • @ggkt8546
    @ggkt8546 2 ปีที่แล้ว +2

    ผมรู้ว่าพี่ต้องกดหัวใจให้ผม555

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  2 ปีที่แล้ว +2

      แน่นอนอยู่แล้ว

  • @tanutchajenpanitcheep8989
    @tanutchajenpanitcheep8989 2 ปีที่แล้ว +2

    เทส เทส เทส จน สายเกินไป
    ยิ่งความรู้สึกแล้วก็ หยุดทันที เพราะ เราคิดยังไงทุกอย่างก็จะเป็นอย่างที่เราคิด จงเชื่อ แล้วจะดี ...
    ,:)

  • @darknessultimate8177
    @darknessultimate8177 ปีที่แล้ว +1

    ผมยังไม่เชื่อทฤษฎีนี้ ผมเชื่อว่ายังมีสิ่งที่เร็วกว่าแสงแน่นอน เช่น การระเบิดของบิ๊กแบงก์ ที่เกิดเอกภพขึ้นหรือการขยายตัวของเอกภพ เหตุการณ์พวกนี้ก็เร็วกว่าแสงหลายเท่าแล้ว .. ลองเทียบง่ายๆ แสงเดินทางจากดวงอาทิตย์มาโลกเราก็ใช้เวลาตั้ง 8 นาทีแล้ว ซึ่งถือว่านานมาก

  • @wtycodeshare1549
    @wtycodeshare1549 2 ปีที่แล้ว +2

    คือจะเร็วกว่าแสงก็เร็วไป
    แต่ สิ่งใดเกิดขึ้นแล้วก็คือเกิดขึ้นแล้ว
    เห็นว่าขอบจักรวาลขยายตัวเร็วกว่าแสง

  • @user-wg5rz8gi6c
    @user-wg5rz8gi6c 2 ปีที่แล้ว +1

    ผมสงสัยเรื่องรูปโปรไฟล์ครับ

    • @user-ts9cr2bl1d
      @user-ts9cr2bl1d 2 ปีที่แล้ว +1

      แอดชอบส่องพระเลยชอบพาเเว่นขยาย

    • @user-wg5rz8gi6c
      @user-wg5rz8gi6c 2 ปีที่แล้ว

      @@user-ts9cr2bl1d รูปโปรไฟล์ คือ สิ่งที่ซับซ้อบ

  • @patipanhemuthai4402
    @patipanhemuthai4402 2 ปีที่แล้ว

    ซัพสเปซ คืออะไรอ่ะ เห็นแต่ในหนัง

  • @NN-lo6ot
    @NN-lo6ot 2 ปีที่แล้ว +1

    นาย A แตกใส่ นาง B ออกลูกเป็นน้อง C ครับ

  • @mrx2471
    @mrx2471 2 ปีที่แล้ว +2

    ยกเว้นพ่อผมนะตบแมลงวันมือเปล่ากลางอากาสตายทุกตัว55

  • @bzbstudio683
    @bzbstudio683 2 หลายเดือนก่อน

    คล้ายstien gateเลย

  • @ggkt8546
    @ggkt8546 2 ปีที่แล้ว +1

    Hi​

  • @dajcharut
    @dajcharut 9 หลายเดือนก่อน

    15:10 ถ้าจะบอกว่าเวลาไม่มีอยู่จริง ตัวเราไม่ใช่ของเรา ทุกสิ่งที่เป็นรูปธรรมจะดำเนินไปตามกฏธรรมชาติ นอกจากจิตของเรา(เวลาในความรู้สึกเราถึงไม่เท่ากัน) จิตเป็นสิ่งสัมบูรณ์ ส่วนร่างกายกับเวลาเป็นสิ่งสัมพัทธ์ ล่ะครับ อาจารย์

  • @weerapongsaeling6901
    @weerapongsaeling6901 2 ปีที่แล้ว +2

    อยากสร้างชุดทดลองการสร้างรุ้งด้วยแท่งแก้วปริซึม โดยใช้หลอดไฟแทนแสงอาทิตย์ อยากทราบว่าควรใช้หลอดไฟอะไรเป็นแหล่งกำเนิดแสง โดยไม่ต้องรอวันที่แสงอาทิตย์จ้า

  • @user-gp3lk4ox1v
    @user-gp3lk4ox1v 2 ปีที่แล้ว +11

    การเดินทางเร็วกว่าแสงตามอธิบายสมมุติมีจุดอ่อน. โอเคโดยเหตุผลตามทฤษฎีทำให้ความเป็นเหตุเป็นผลวิบัติทางการรับรู้ว่ามันเกิดก่อนเหตุการณ์จะเกิด ซึ่งเป็นไปไม่ได้ แต่ในที่นี้ไม่ได้นำการโค้งงอของกาลอวกาศมาพิจารณาด้วย
    ...สมมุติว่า ตามทฤษฏีรูหนอนซึ่งสามารถพับกาลอวกาศมาทับยังจุดเดียว แต่หากพับมากเกินกว่านั้นจะเกิดอะไรขึ้น นี่เป็นประเด็นที่ผมไม่รู้นะขอออกตัว แต่ทิศทางของแสงหรือสิ่งที่เดินทางด้วยความเร็วและถูกแรงโน้มถ่วงนั้นจะอยู่ในตำแหน่งย้อนกลับ ซึ่งความเป็นเหตุเป็นผลย่อมย้อนกลับด้วย
    ...ผมตั้งข้อสังเกตด้วยปัญญาอันน้อยอย่างนี้

    • @coinman1283
      @coinman1283 2 ปีที่แล้ว +7

      - สมมุติเรามีกระดาษแผ่นนึง เป็นตัวแทนโลกสองมิติ
      - แล้วเราวาดเสือ ไว้ทางซ้าย ของกระดาษ
      - วาดกวางไว้ทางขวา ของกระดาษ
      - แล้วพับกระดาษเข้าหากัน
      - ภาพเสือ และกวาง ก็ดูเหมือนจะมาประกบกัน ในตอนนั้น
      - แต่พอคลี่ออก เสือ ก็ยังคงอยู่ทางซ้าย กวางก็ยังอยู่ทางขวา
      *** นั่นหมายความว่าในโลกสองมิติ เสือ และกวาง ยังคงอยู่ตำแหน่งเดิม ไม่สามารถกระโดดข้าม ฟากของกระดาษได้ และทั่งเสือ และกวาง ได้แต่มองไปทางข้างหน้าของตัวเองเท่านั้น ไม่สามารถมองขึ้นไปด้านบนหัวตัวเองว่า จริงๆแล้ว ต่างฝ่ายต่างถูกพับเอาหัวมาชนกันแล้ว
      แต่เราที่อยู่ในโลกสามมิติ สามารถมองเห็นได้ว่า ทั้งเสือและกวาง ถูกพับมาประกบกันแล้ว
      *** คนเองก็เช่นกัน ถึงแม้จักรวาฬมันบิดงอจนมาทับกัน แต่เราก็ยังติดอยู่ในตำแหน่งเดิม ในโลกสามมิติ เรายังมองเห็นดาวบนฟ้าอยู่ห่างไกล แม้ว่าอวกาศอาจถูกบิดตัวมาใกล้เรา แต่เราก็ยังคงมองตรงไป เห็นดาวดวงนั้นอยู่ตำแหน่งเดิมเสมอ

    • @ORY_O
      @ORY_O 2 ปีที่แล้ว +2

      @@coinman1283 อันนี้สูตรสำเร็จหนังอวกาศเลยจริงๆ🤣🤣

  • @dark5606
    @dark5606 2 ปีที่แล้ว

    โอเคผมคิดได้แล้วคือมีการทดลอง1ที่เอาลูกอะไรสักอย่างมาวางบนแทมโปเลนแล้วยุบเหมือนดวงอาทิตย์ละดาวที่มีมวลต่างๆลงไปผมเลยสงสัยว่าจัดรวาลที่มีสรง3มิติมันเป็นแบบนั้นไ้ด้วยหรอ

  • @user-fh2gh9pv3e
    @user-fh2gh9pv3e 2 ปีที่แล้ว

    แล้วเปนสัมพัทธภาพทั่วไปละครับ

  • @user-pk6sl1bm9q
    @user-pk6sl1bm9q 2 ปีที่แล้ว

    โฆษณาแว่นออปตัสแบบมีเหตุมีผล ถถถถถ

  • @rungroj88
    @rungroj88 2 ปีที่แล้ว +1

    ดูที่ไหรก็ขำผูกกันเข้าได้แสงสีฟ้า5555555

  • @manapatwin164
    @manapatwin164 ปีที่แล้ว +1

    เเล้วความเร็วของอนุภาคนิวทริโนมีมากกว่าเเสงรึป่าวครับ

  • @isunsunsun
    @isunsunsun ปีที่แล้ว

    ผมตบแมลงวันได้ แต่อาศัยเทคนิค

  • @bunchawongjun2402
    @bunchawongjun2402 2 ปีที่แล้ว +1

    แต่ก่อนมนุษย์ส่วนหนึ่งคิดว่าโลกแบน คนที่นำเสนอความคิดว่าโลกกลมก็ถูกคัดค้าน วันข้างหน้า คำว่าไวกว่าแสงอาจจะเป็นคำพูดที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน

  • @modelchiamsamai
    @modelchiamsamai 2 ปีที่แล้ว

    นี่คือมิติที่ 5 ใช่ไหมครับ

    • @user-el7ys6tx1h
      @user-el7ys6tx1h 2 ปีที่แล้ว

      มิติที่5 ไม่ขึ้นกับแสงนะ

    • @modelchiamsamai
      @modelchiamsamai 2 ปีที่แล้ว

      @@user-el7ys6tx1h คือผมฟังโดยรวมเรื่องการมองของเหตุการณ์สองคนสมมุติแล้วมันคล้ายๆในหนังเรื่องอินเทอร์สเตลล่า ที่อยู่ในกล่องเหตุการณ์ มองได้หมดทั้งอดีตและปัจจุบันรวมถึงอนาคต อะไรประมาณนี้ก็เลยสงสัยหน่ะครับว่า มิติที่ 5 นี่เป็นยังไง 😃

  • @golf051239
    @golf051239 2 ปีที่แล้ว

    เวลาคือสิ่งที่เร็วกว่าแสง

  • @thapanat9163
    @thapanat9163 ปีที่แล้ว

    เรื่องนี้ยากเกินความเข้าใจจริงๆ 😅😅

  • @user-sk5df3vb7y
    @user-sk5df3vb7y 2 ปีที่แล้ว

    ถูกต้องครับ เร็วกว่าแสงก็คือ ผี ซึ่งมันทำลายเหตุและผลออกไปทั้งหมด ไม่มีทางทราบได้ว่ามันทำได้อย่างไร เพราะมันได้ทำลายความเป็นเหตุและผลออกไปเรียบร้อย สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น สองตาเห็นไม่เท่ากับเมิงเจอด้วยตนเอง วาปไปวาปมาได้แบบอิสระภาพหน้า

    • @user-sl2xc4fz2r
      @user-sl2xc4fz2r ปีที่แล้ว

      น่าจะเป็นผีที่จบหลักสูตรควอนตัมฟิสิกก์ชั้นสูง

    • @testermu7476
      @testermu7476 ปีที่แล้ว

      อันนี้น่าคิดครับ ผีก็เป็นวิญญานที่ไม่ได้มีมวลมากมายที่เป็นร่างกาย ซึ่งวิญญานก็อาจเป็นสสารชนิดหนึ่งเหมือนโฟตอนที่มีความสัมพันหรือพลังงานบางอย่างที่สามารถรวมเป็นรูปร่างให้เห็นได้ เมื่อไม่มีมวลร่างกายจึงเคลื่อนที่ได้เร็ว วิญญานอาจเคลื่อนที่ไปได้ทุกที่โดยที่เร็วกว่าแสง อาจเห็นอนาคตได้แต่ไม่สามารถติดต่อมนุษย์ได้ ......

    • @lifestyle7373
      @lifestyle7373 ปีที่แล้ว

      @@user-sl2xc4fz2r 555

  • @Modiyoshi
    @Modiyoshi ปีที่แล้ว

    หลักที่จะอธิบายให้เข้าใจแบบจริงคือ เราลอง วีดีโอคอลหาเพื่อนที่อยู่ต่างประเทศแล้วร้องเพลงเดียวกันให้พร้อมๆกัน ผมว่านั้นเป็นไปไม่ได้แน่ๆ

  • @paephx2507
    @paephx2507 ปีที่แล้ว +1

    แอดครับ ผมอยากทราบว่าแสงเดินทางได้ไกลแค่ไหน อนุภาคแสงเคลื่อนที่ได้อย่างไร และเอาพลังงานมาจากไหนถึงได้เดินทางเป็นล้านๆปีได้โดยไม่สลายหายไป
    ขอบคุณครับ

  • @chaibaba9152
    @chaibaba9152 ปีที่แล้ว

    ทำไมเอาความเป็นเหตุเป็นผลไปผู้ไว้กับเวลา แล้วทำไมเอาเวลาไปผู้ไว้กับแสงล่ะครับ มองแคบไปนะผมว่า

  • @panyayuennan251
    @panyayuennan251 2 ปีที่แล้ว +3

    ใน สังคมวิทยาศาสตร์
    เรามัก หาตัวแปร ที่ไม่รู้ ด้วยการตั้งอะไรสักอย่าง มาเป็นตัวแปร
    เช่นเดียวกัน เวลา ก็เป็น ค่าสมมติ ที่ใช้เพื่อวัด ค่า กับ หลักฐานที่เราต้องการรู้
    ทั้งๆ ที่มันไม่มีอยู่จริง
    เวลา ไม่เคยมีผล ต่อ สิ่งไร้ชีวิต
    สิ่งที่มีชีวิต หลายอย่าง ก้ไม่อิงกับเวลา
    เวลาคือ สิ่ง ที่ ผู้สังเกตุการณ์ใช้เทียบกับ ข้อมูลที่ต้องการวัดแค่นั้น
    ถ้าเวลา มีตัวตน นั่นหมายความว่า เวลาต้องเป็น คลื่น หรือ อนุภาค
    แต่จนป่านนี้ ยังไม่มีใคร พิสูจน์ได้ว่า เวลา เป็น แบบที่กล่าวมา
    สมมุติอะตอมไฮโดรเจน 1 อะตอม ที่ลอย อยู่ในอวกาศ มันจะอยู่แบบนั้นไปจนกว่า มีปัจจัยมากระตุ้นไห้มันเปลี่ยนแปลง

    • @squidprogrammer
      @squidprogrammer 2 ปีที่แล้ว +1

      ผิดแล้วครับ เวลาบนดาวเทียมกับเวลาบนโลกไม่เท่ากันนั้นจึงเป็นเหตุผลให้มีการปรับค่าแอตทริบิวต์ตัวแปรของเวลาตลอดเพื่อให้มันยังคงนับค่าได้ปกติ เนื่องจากผลของtimedilition เวลาเป็นส่วนของspaceมันไม่ใช่วัตถุสสารหรือพลังงาน(อย่างน้อยๆก็ในจักรวาล3มิติ)

    • @right_here_waiting
      @right_here_waiting 2 ปีที่แล้ว +1

      ไปเรียนมาจากไหน หรือว่าคิดค้นทฤษฎีของตัวเองเนี่ย? เวลามันคือมิติๆหนึ่งมันมีตรรกะของมันเองไม่สามารถเอาตรรกของสามมิติมาใช้วัดได้ มิติเวลาไม่ใช่สสารจึงไม่มีสภาวะของวัตถุที่จะเป็นจริงตามตรรกะของสามมิติ วิทยาศาสตร์ปัจจุบันมันคือการทำความเข้าใจและอธิบายสิ่งที่เป็นธรรมชาติภายใต้กรอบของสามมิติ หมายความว่าสิ่งใดที่ไม่มีมวลสารและไม่สามารถวัดค่าได้ด้วยความตื้นลึกหนาบาง วิทยาศาสตร์ปัจจุบันไม่มีทางหาคำอธิบายและพิสูจน์ได้เลย
      อย่าว่าแต่การพิสูจน์การมีอยู่ของมิติเวลาอย่างเป็นรูปธรรม เอาแค่มิติสามมิติรอบตัวเรา แกน X Y Z ควรใช้อะไรพิสูจน์ตัวตนของมันให้รู้แน่ชัดว่าแกนX แกนY แกนZ มันมีอยู่จริงและจับต้องได้ เราจะรู้ได้ไงว่าความสูงต้องอ้างอิงตามแนวแกนYเท่านั้น ถ้าผมจับวัตถุที่กำลังวัดความกว้างยาวสูงล้มลงในแนวราบ แกนX แกนY มันเปลี่ยนด้วยหรือไม่
      สมมุตว่าผมต้องการวัดส่วนสูงโดยตัวผมกำลังนอนราบกับพื้น ผมวัดได้ว่าสูง 175cm(วัดหัวถึงเท้า) หรือสูง 15cm(วัดจากพื้นถึงหน้าผาก) อะไรคือสิ่งที่ถูกต้อง? ถ้าบอกว่าแกนYคือความสูง? แล้วถ้าวัดส่วนสูงตอนนอนราบตามแนวแกนXยังจะเรียกว่าส่วนสูงได้อยู่ไหม?
      เราพิสูจน์ตัวตนของสภาพสามมิติยังไม่ได้เลยครับ จะเอาอะไรกับมิติเวลาที่อยู่นอกกรอบสามมิติ คุณไม่สามารถสังเกตการณ์ได้เลยว่าเวลากำลังเคลื่อนที่ไปในทิศทางไหน แกนX แกนY แกนZ เพราะเวลาเคลื่อนไปในทิศทางเดียวโดยไม่แปรผันหรือแปรผกผันต่อทิศทางในสามมิติ

  • @XYZ-rx9lz
    @XYZ-rx9lz 2 ปีที่แล้ว

    ผมคิดว่า ซิมมูเลเตอรกรอบ ของแสงก็คือสิ่งที่เร็วกว่าแสง

  • @123karenkigg00
    @123karenkigg00 ปีที่แล้ว

    คือถ้าอยู่คนละกรอบอ้างอิงกัน
    มันเอามาเทียบกันเป็นกราฟแบบนั้นมันผิดครับ
    ในมุมมองของนาย b จะหันมองมาเห็นนาย a กำลังพิมข้อมูลก่อนนาทีที่ 2
    และข้อมูลถูกส่งมาหานาย b ตอนนามีที่ 2 ของนาย b
    ส่วนนาย a จะเห็นนาย b ได้รับข้อมูล ประมาณในนาทีที่ 6 ของนาย a
    การเดินทางเร็วว่าแสงจึงไม่ทำลายหลักการเหตุเกิดก่อนผลครับ เพราะเมื่ออยู่ในกรอบอ้างอิงที่ต่างไป จะเห็นความเร็วของเวลาจากกรอบอ้างอิงโดยรอบต่างกันไป ไม่ใช่การย้อนเวลา

  • @yasopp5458
    @yasopp5458 2 ปีที่แล้ว

    พี่ตอนนี้ผมงงกับกฎของโอมห์มากเลยช่วงอธิบายหน่อยได้ไหมครับ

  • @PlanetSoftx
    @PlanetSoftx 2 ปีที่แล้ว +1

    ในมุมมองของแมลงวัน จะเห็นมือเรากำลังพุ่งมาแบบสโลโมชั่น มันเลยบินหนีตั้งแต่มือเราพุ่งไปได้นิดเดียว ทั้งๆที่เราพยายามออกแรงให้เร็วที่สุด นึกภาพแผ่นเหล็กสนิมๆยักษ์เท่าภูเขาหนาๆกำลังล้มลงมา

    • @captainusa2076
      @captainusa2076 2 ปีที่แล้ว

      ผมเคยตบแมงวันได้นะ ไม้ตีแมงวันสมัยก่อนก็มีขาย น่าจะตบได้กันหลายคน

    • @PlanetSoftx
      @PlanetSoftx 2 ปีที่แล้ว

      @@captainusa2076 มือเปล่าตอนเด็กเคยตบได้ครับ ต้องทำแบบค่อยๆเอา ฝามือใกล้มันก่อน ค่อยฟุ่บ! ทีเดียว

  • @sanoa124
    @sanoa124 2 ปีที่แล้ว

    สมัยที่ยังเด็กผมปวดหัวมากกับวิชาฟิสิกส์ ผ่านมาสี่สิบปี ทุกวันนี้ก็ยังมึนๆอยู่ เอางี้ action=reaction ,anyway 😁😆🙄🙄😁not mention to friction..

  • @user-uu8by6ep5q
    @user-uu8by6ep5q 9 หลายเดือนก่อน

    ใดๆ ล้วนอนิจจัง

  • @OngSK1983
    @OngSK1983 2 ปีที่แล้ว +1

    เฉียบบบ 🙃

    • @curiosity-channel
      @curiosity-channel  2 ปีที่แล้ว +2

      เหนื่อยเอาเรื่องเลยครับคลิปนี้

    • @Ryan_srsk
      @Ryan_srsk 2 ปีที่แล้ว

      @@curiosity-channel ผมดูหลายรอบเลยครับ ข้อมูลดีๆแบบนี้ผมไม่ปล่อยผ่านแน่นอน👍

  • @Malaoun
    @Malaoun 2 ปีที่แล้ว

    ผมมีความสงสัยนึงมาตั้งแต่เด็กๆแล้วครับ ถ้าสมมติว่าเราเอาเชื้อโรคอะไรก็ได้มารวมกันเยอะๆ เอาแค่เชื้อโรค หน้าตามันจะเป็นยังไงครับ