ราชวงศ์โจฬะ รัฐทมิฬนาฑู 1 சோழர் குலம் Chola

แชร์
ฝัง

ความคิดเห็น • 17

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +4

    ทัพเรือ - ราชวงศ์โจฬะ ทมิฬนาดู - พ.ศ.1568 ยโสธรปุระ (นครวัด) -พิมาย พนมรุ้ง 200 ปี

  • @alskarsverige4639
    @alskarsverige4639 7 ปีที่แล้ว +2

    very nice, Thank you so much for video this

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +5

    พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 พ.ศ.1581 นับแต่ พ.ศ. 1666 ถึง พ.ศ. 1679 พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พ.ศ. 1724 สิ้นพระชนม์ในประมาณปี พ.ศ. 1762

  • @yuokijan1
    @yuokijan1 ปีที่แล้ว +2

    ชาวสยามขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่นำความจริงมาเปิดเผย

  • @กนกรัตน์ผูกพันธ์
    @กนกรัตน์ผูกพันธ์ 6 ปีที่แล้ว +3

    ทีมาเจนละบกเจนละนำ้มิน่าเขมรถึงไม่กล้าระบุว่าพระเจ้าชัยวรมันองค์ต่างต่างมีต้นกำเนิดอยู่ที่ไดเพราะต้นกำเเนิดอยู่บนแผ่นดินสูงและก็อยู่ในไทยเชื่อมต่อทวารวดีละโว้และก็เขมรตำ่่ละแวกและในศิลาจารึกที่ระบุเกี่ยวกับเสียมกุกอันไหนลบได้เขมรก็ลบออกและฝรั่งเศสเปลี่ยนประวัติศาสตร์ให้
    หมดเพื่อให้ตัดขาดชาวเสียมออกจากเขมรมิน่าละในศิลาจารึกนครวัดระบุว่าคนขอมผิวคลำ้รูปร่างสูงบึกบึนก็น่าจะเป็นแขกฮินดูหรือแขกมลายูอิสลามผสมฮินดูพราห์ณและพุทธคนเหล่านี่อยู่รวมกันเป็นอานาจักรเจนละบกและทวาราวดีตามมาแขกมลายูแขกผฮินดูแขกพรามห์ณ์แขกซิกและแขกพุทธรวมกันอยู่ในแถบนี่แรกใช้ภาษาปัลัวะพูดและเขียนต่อมาดัดแปลงเป็นภาษาขอมและเปนต้นแบบของภาษาในอาเชี่ยนคนในพม่าถึงเรียกคนแถบนี้ว่าขอมเนื่องจากมีแขกสองเผ่ารวมกันคือมลายู+อินเดีย

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +3

    ขะแมร์กัมพูชา ก่อสร้างปราสาทบนเขาพระวิหารติดต่อกันมายาวหลายรัชสมัย กว่า 300 ปี ในรัชกาลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ตามศักราชที่ปรากฏในจารึกกรอบประตูมหามนเทียนชั้นที่ 5 ตกราว พ.ศ.1581 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เขียนพระนามไว้ในศิลาจารึกว่า สูรยวรรมเทวะ อาจจะใกล้กับที่เขียนตามสำเนียงไทยว่า สุริยพรหมเทพ กษัตริย์พระองค์นี้มีตำนานอ้างว่าเป็นราชนัดดาของพระยาชีวกแห่งนครศ รีธรรมราช ซึ่งยกกองทัพมาตีได้กรุงละโว้(ลพบุรี) เมื่อ พ.ศ.1446 อาจจะได้สืบสันตติวงศ์ครองกรุงละโว้หรือเป็นรัชทายาท แล้วไปอภิเษกสมรสกับพระนางศรีวีรลักษมีมหาเทวี และได้ครองประเทศกัมพูชาเมื่อราว พ.ศ.1545 ตามจารึกกรอบประตูมหามนเทียนชั้นที่ 5 ว่าพระองค์สืบราชสกุลมาแต่พระเจ้าศรีนทรวรรมเทวะ (หรือศรีนทรพรหมเทพ พ.ศ.969-993) ส่วนพระนางศรีวีรลักษมีมหาเทวีนั้น นัยว่าสืบราชสกุลมาแ ต่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 (พ.ศ.1323-1397) เป็นเชื้อสายราชวงศ์ไศเลนทรแห่งราชอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งปกครองดินแดนทั้งที่แถบแหลมมลายูและประเทศชวา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 พระยาชีวกแห่งนครศรีธรรมราชก็เป็นเชื้อสายราชวงศ์นี้เหมือนกัน
    พระเจ้าสุรยวรมันกับพระอัครมเหสีทรงสร้างปูชนียสถาน เขาพระวิหารเพราะเหตุไร ข้อนี้มีเค้าอยู่ในศิลาจารึกอักษรและภาษาสันสกฤ ต ซึ่งประดิษฐานอยู่ในคูหาปรางค์ที่เขาพระวิหารและที่ปราสาทหินตาแก้วเมืองเสียมราบว่า มีแม่เมืองผู้หนึ่งชื่อนางพิณสวัณครามวดี ปกครองบ้านเมืองแถบเขาพระวิหารมีโอรส 3 องค์ ธิดา 4 องค์ โอรสองค์หนึ่งชื่อวิษณุพล หรือลักษมีนทร์ ธิดาองค์หนึ่งชื่อปราน
    พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้ธิดาชี่อปราณเป็นอัครมเหสี เฉลิมพระนามใหม่ว่าพระนางกัมโพชลักษมี ส่วนวิษณุพลหรือลักษมีนทร์ ได้เ คยทำยุทธสงครามกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 2
    ตั้งแต่กษัตริย์ “ยโสวรมันที่ 1” ถึง “สุริยวรมันที่ 1” เรื่อยมาจน “ชัยวรมันที่ 5-6”จนกระทั่งท้ายสุด “สุริยวรมันที่ 2”และ“ชัยวรมันที่ 7” จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 (หรือจากพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 หรือก่อนสมัยสุโขทัย 300 ปีนั่นเอง)

    • @tellstorybymyview3908
      @tellstorybymyview3908 7 ปีที่แล้ว +1

      wirat omsiri ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆครับ ผมอยากสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมอย่างอื่นอีกได้ไม่ครับ

  • @omsiri
    @omsiri  6 ปีที่แล้ว +1

    ขะแมร์กัมพูชา ก่อสร้างปราสาทบนเขาพระวิหารติดต่อกันมายาวหลายรัชสมัย กว่า 300 ปี ในรัชกาลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ตามศักราชที่ปรากฏในจารึกกรอบประตูมหามนเทียนชั้นที่ 5 ตกราว พ.ศ.1581 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เขียนพระนามไว้ในศิลาจารึกว่า สูรยวรรมเทวะ อาจจะใกล้กับที่เขียนตามสำเนียงไทยว่า สุริยพรหมเทพ กษัตริย์พระองค์นี้มีตำนานอ้างว่าเป็นราชนัดดาของพระยาชีวกแห่งนครศ รีธรรมราช ซึ่งยกกองทัพมาตีได้กรุงละโว้(ลพบุรี) เมื่อ พ.ศ.1446 อาจจะได้สืบสันตติวงศ์ครองกรุงละโว้หรือเป็นรัชทายาท แล้วไปอภิเษกสมรสกับพระนางศรีวีรลักษมีมหาเทวี และได้ครองประเทศกัมพูชาเมื่อราว พ.ศ.1545 ตามจารึกกรอบประตูมหามนเทียนชั้นที่ 5 ว่าพระองค์สืบราชสกุลมาแต่พระเจ้าศรีนทรวรรมเทวะ (หรือศรีนทรพรหมเทพ พ.ศ.969-993) ส่วนพระนางศรีวีรลักษมีมหาเทวีนั้น นัยว่าสืบราชสกุลมาแ ต่พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 (พ.ศ.1323-1397) เป็นเชื้อสายราชวงศ์ไศเลนทรแห่งราชอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งปกครองดินแดนทั้งที่แถบแหลมมลายูและประเทศชวา ตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12-18 พระยาชีวกแห่งนครศรีธรรมราชก็เป็นเชื้อสายราชวงศ์นี้เหมือนกัน
    พระเจ้าสุรยวรมันกับพระอัครมเหสีทรงสร้างปูชนียสถาน เขาพระวิหารเพราะเหตุไร ข้อนี้มีเค้าอยู่ในศิลาจารึกอักษรและภาษาสันสกฤ ต ซึ่งประดิษฐานอยู่ในคูหาปรางค์ที่เขาพระวิหารและที่ปราสาทหินตาแก้วเมืองเสียมราบว่า มีแม่เมืองผู้หนึ่งชื่อนางพิณสวัณครามวดี ปกครองบ้านเมืองแถบเขาพระวิหารมีโอรส 3 องค์ ธิดา 4 องค์ โอรสองค์หนึ่งชื่อวิษณุพล หรือลักษมีนทร์ ธิดาองค์หนึ่งชื่อปราน
    พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ได้ธิดาชี่อปราณเป็นอัครมเหสี เฉลิมพระนามใหม่ว่าพระนางกัมโพชลักษมี ส่วนวิษณุพลหรือลักษมีนทร์ ได้เ คยทำยุทธสงครามกับพระเจ้าชัยวรมันที่ 2
    ตั้งแต่กษัตริย์ “ยโสวรมันที่ 1” ถึง “สุริยวรมันที่ 1” เรื่อยมาจน “ชัยวรมันที่ 5-6”จนกระทั่งท้ายสุด “สุริยวรมันที่ 2”และ“ชัยวรมันที่ 7” จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 12 (หรือจากพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 หรือก่อนสมัยสุโขทัย 300 ปีนั่นเอง) พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 พ.ศ.1581 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในช่วง พ.ศ. 1656 - พ.ศ. 1693
    1 พระเจ้าอุทัยทิตยวรมัน พระเจ้าหรรษาวรมันที่ 3 พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2 พระเจ้ายโศวรมันที่ 2 และพระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน ก็ถูกกองทัพจามเข้ายึดเมือง...พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 พ.ศ.1581 นับแต่ พ.ศ. 1666 ถึง พ.ศ. 1679 พระเจ้าสูรยวรมันที่ 2 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พ.ศ. 1724 สิ้นพระชนม์ในประมาณปี พ.ศ. 1762อ่านเพิ่มเติมแสดงน้อยลงตอบกลับ1 ทีมาเจนละบกเจนละนำ้มิน่าเขมรถึงไม่กล้าระบุว่าพระเจ้าชัยวรมันองค์ต่างต่างมีต้นกำเนิดอยู่ที่ไดเพราะต้นกำเเนิดอยู่บนแผ่นดินสูงและก็อยู่ในไทยเชื่อมต่อทวารวดีละโว้และก็เขมรตำ่่ละแวกและในศิลาจารึกที่ระบุเกี่ยวกับเสียมกุกอันไหนลบได้เขมรก็ลบออกและฝรั่งเศสเปลี่ยนประวัติศาสตร์ให้
    หมดเพื่อให้ตัดขาดชาวเสียมออกจากเขมรมิน่าละในศิลาจารึกนครวัดระบุว่าคนขอมผิวคลำ้รูปร่างสูงบึกบึนก็น่าจะเป็นแขกฮินดูหรือแขกมลายูอิสลามผสมฮินดูพราห์ณและพุทธคนเหล่านี่อยู่รวมกันเป็นอานาจักรเจนละบกและทวาราวดีตามมาแขกมลายูแขกผฮินดูแขกพรามห์ณ์แขกซิกและแขกพุทธรวมกันอยู่ในแถบนี่แรกใช้ภาษาปัลัวะพูดและเขียนต่อมาดัดแปลงเป็นภาษาขอมและเปนต้นแบบของภาษาในอาเชี่ยนคนในพม่าถึงเรียกคนแถบนี้ว่าขอมเนื่องจากมีแขกสองเผ่ารวมกันคือมลายู+อินเดียตรึงตรึงความคิดเห็นไหม กำลังโหลด... หากคุณได้ตรึงความคิดเห็นอื่นแล้ว ระบบจะแทนที่ด้วยความคิดเห็นนี้ กำลังทำงาน... ยกเลิกตรึงแก้ไขลบ

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +2

    சோழர் குலம் Chola

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +1

    พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 พ.ศ.1581 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในช่วง พ.ศ. 1656 - พ.ศ. 1693
    1 พระเจ้าอุทัยทิตยวรมัน พระเจ้าหรรษาวรมันที่ 3 พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2 พระเจ้ายโศวรมันที่ 2 และพระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน ก็ถูกกองทัพจามเข้ายึดเมือง...

  • @nattysmile829
    @nattysmile829 5 ปีที่แล้ว +2

    ศิลปะเดียวกับ กับ ขอม ที่ สร้าง นครวัด นครทม เลย น่าจะมาจากอารยธรรมเดียวกัน

  • @omsiri
    @omsiri  10 ปีที่แล้ว +1

    Angkor Wat Built by Descendant of Raja Raja Cholan - சூர்யவர்ம

  • @thiruprabhume
    @thiruprabhume 5 ปีที่แล้ว

    what language is this

  • @แป้นไม้นามปากกา

    งานกู 👽👽👽👽👽👽👽👽👽👽👽🌽🌽🌽🌽🌽🌾🌾🌾🌾🌾🌾👾👾👾👾👾 จิตวิญญาน พืช และ สัตว์ 🌍👿

  • @แป้นไม้นามปากกา

    ไคร อย่า ทำลาย

  • @omsiri
    @omsiri  6 ปีที่แล้ว +5

    ทีมาเจนละบกเจนละนำ้มิน่าเขมรถึงไม่กล้าระบุว่าพระเจ้าชัยวรมันองค์ต่างต่างมีต้นกำเนิดอยู่ที่ไดเพราะต้นกำเเนิดอยู่บนแผ่นดินสูงและก็อยู่ในไทยเชื่อมต่อทวารวดีละโว้และก็เขมรตำ่่ละแวกและในศิลาจารึกที่ระบุเกี่ยวกับเสียมกุกอันไหนลบได้เขมรก็ลบออกและฝรั่งเศสเปลี่ยนประวัติศาสตร์ให้
    หมดเพื่อให้ตัดขาดชาวเสียมออกจากเขมรมิน่าละในศิลาจารึกนครวัดระบุว่าคนขอมผิวคลำ้รูปร่างสูงบึกบึนก็น่าจะเป็นแขกฮินดูหรือแขกมลายูอิสลามผสมฮินดูพราห์ณและพุทธคนเหล่านี่อยู่รวมกันเป็นอานาจักรเจนละบกและทวาราวดีตามมาแขกมลายูแขกผฮินดูแขกพรามห์ณ์แขกซิกและแขกพุทธรวมกันอยู่ในแถบนี่แรกใช้ภาษาปัลัวะพูดและเขียนต่อมาดัดแปลงเป็นภาษาขอมและเปนต้นแบบของภาษาในอาเชี่ยนคนในพม่าถึงเรียกคนแถบนี้ว่าขอมเนื่องจากมีแขกสองเผ่ารวมกันคือมลายู+อินเดีย