องค์ประกอบของสารละลาย (วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 1 หน่วยที่ 2 บทที่ 1)

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 13 ก.ค. 2020
  • วีดิทัศน์การจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของสารละลาย รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1 หน่วยที่ 2 สารละลาย บทที่ 1 องค์ประกอบของสารละลายและปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้ วีดิทัศน์นี้จัดทำขึ้นภายใต้โครงการ Project 14 ของสสวท. ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ proj14.ipst.ac.th/

ความคิดเห็น • 32

  • @manotjong4375
    @manotjong4375 3 ปีที่แล้ว +25

    ดีมากกครับครู ช่วยเตรียมการสอนออนไลนได้มากครับ

  • @surapap4071
    @surapap4071 3 ปีที่แล้ว +15

    สุดยอดไปเลยครับครู

    • @chopper3149
      @chopper3149 3 ปีที่แล้ว +3

      ใจเกเร

  • @MRWood-ed5td
    @MRWood-ed5td 3 ปีที่แล้ว +6

    ขอบคุณสำหรับความรู้ด้วยนะครับ♥️

  • @user-os7es5nn1b
    @user-os7es5nn1b 2 ปีที่แล้ว

    ดีมากค่ะครูจะสอบพอดีเลยค่ะ จะได้ติวก่อนสอบด้วยค่ะ

  • @11-36
    @11-36 3 ปีที่แล้ว +5

    สอนดีมากเลยครับ

  • @wrayust.4977
    @wrayust.4977 2 ปีที่แล้ว +6

    ผมงงมากเลยครับครู กรณีน้ำโซดา น้ำเป็น โมเลกุลมีขั้ว ส่วน ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว แต่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ก็ยังสามารถ ละลายในน้ำได้ 0.5% ผมจะสามารถ ใช้ ทฤษฎี เรื่อง แรง ยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีขั้ว กับ โมเลกุลไม่มีขั้ว มา อธิบาย นักเรียน ได้หรือเปล่าครับ ผมไม่ได้จบเอก เคมี มาเลยไม่กล้าคอนเฟิร์มนักเรียน

  • @arunlaekhaphat5023
    @arunlaekhaphat5023 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณค่ะ 🤩

  • @chanaakarn_
    @chanaakarn_ 3 ปีที่แล้ว +3

    เข้าใจขึ้นเยอะเลยครับ

  • @user-nb2kr6cp4p
    @user-nb2kr6cp4p 3 ปีที่แล้ว +3

    สอนดีมากเลยค้าบ

  • @user-ue8bq9kb2j
    @user-ue8bq9kb2j 3 ปีที่แล้ว +3

    ดีมากคะช่วยครูในยุคที่โควิดในการสอนออนไลน์

  • @oatsezon957
    @oatsezon957 2 ปีที่แล้ว +2

    ดูแล้วเข้าใจเลยครับ🫡

  • @user-nr1ie8bu1x
    @user-nr1ie8bu1x ปีที่แล้ว

    ครูครับถ้าปริมาณเท่ากันเเละสถานะเดียวกันอะไรคือตัวทำละลายครับ

  • @MikotoST
    @MikotoST ปีที่แล้ว

    ผมขออนุญาตแชร์ลงกลุ่มกุ้งจิ้มเกลือใส่จรวดได้ไหมครับ

  • @user-hw7rp9ib5g
    @user-hw7rp9ib5g 2 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความรู้ผมเข้าใจมากขึ้นเลยครับ

  • @wrayust.4977
    @wrayust.4977 2 ปีที่แล้ว +3

    ใน กรณีของ แอลกอฮอล์ล้างแผล แอลกอฮอล์มีตั้ง70% แต่เป็นตัวถูกละลาย น้ำมีแค่ 30% แต่เป็นตัวทำละลาย ใน กรณีนี้ผมจะ อธิบายนักเรียนว่ายังไงดีครับว่า ตกลงแล้วเราใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินว่า ใครเป็นตัว ถูกละลาย หรือใครเป็นตัวทำละลาย ในกรณีทองเหลือง ก็เช่นกัน

    • @babyloonytoon8phoopha978
      @babyloonytoon8phoopha978 ปีที่แล้ว +2

      แอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายครับ

  • @user-fo4rx7jf9i
    @user-fo4rx7jf9i 3 ปีที่แล้ว +1

    โชค

  • @user-xj7um5ch5h
    @user-xj7um5ch5h 2 ปีที่แล้ว +1

    สรุปให้ฟังหน่อยครับง่ายๆ

  • @meo._.0710
    @meo._.0710 3 ปีที่แล้ว +2

    เข้าเรียนทุกคาบ ไม่ทราบอะไรเลย

    • @ilham2304
      @ilham2304 3 ปีที่แล้ว +1

      จ บิ ง มาก5555

  • @user-sj5vb1fh1e
    @user-sj5vb1fh1e 3 ปีที่แล้ว +3

    เม้น2

  • @a.petrichor8161
    @a.petrichor8161 ปีที่แล้ว +1

    จะหลับแล้วครับ

  • @user-fd5me8xt5y
    @user-fd5me8xt5y 3 ปีที่แล้ว +9

    คนชื่อภูไม่หล่อ

  • @user-ru7ww2bt6x
    @user-ru7ww2bt6x 2 ปีที่แล้ว

    บ่ม่วนส้ำ5555

  • @ilham2304
    @ilham2304 3 ปีที่แล้ว +2

    พวกโม้แต่ไม่เข้าใจเนอะ5555

  • @witthawatuthapan7317
    @witthawatuthapan7317 3 ปีที่แล้ว +5

    ครูครับแล้วถ้าตัวละลายและตัวทำละลายมีสถานะเหมือนกันและปริมาตรเท่ากันล่ะครับเราจะระบุอย่างไรครับ

    • @someoneyoudontknow2645
      @someoneyoudontknow2645 3 ปีที่แล้ว +3

      มันจะละลายได้หรอครับ

    • @proj14.22
      @proj14.22  3 ปีที่แล้ว +10

      ในกรณีที่ตัวละลายและตัวทำละลายมีปริมาณเท่ากัน และต่างก็มีสถานะเดียวกันกับสารละละลาย ให้สารใดสารหนึ่งเป็นตัวละลาย อีกสารหนึ่งเป็นตัวทำละลาย โดยทั่วไปแล้ว สารที่นิยมใช้เป็นตัวทำละลาย เช่น น้ำ จะจัดเป็นตัวทำละลาย

    • @witthawatuthapan7317
      @witthawatuthapan7317 3 ปีที่แล้ว +2

      @@proj14.22 ขอบคุณครับ