ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ในบางคนก็สันนิฐานว่าเป็นศาลหลวง เพราะอยู่ในเขตพระราชฐาน ซึ่งเหตุอาจไม่มากพอแต่ ก็อ้างว่ามีการขุดพบตรา อะไรสักอย่างแถวนี้ที่มันคล้ายกับตราของศาลหลวงรัตนโกสินทร์ ก็คงเป็นเพียงแค่ข้อสันนิษฐาน อาจจะเป็นแบบที่อาจารย์นำเสนอก็ได้ สำหรับตัวอาคารนี้
ขอบคุณครับคุณคมสัน
สาระดีมากๆ
ขอบคุณครับคุณ Sumsung มีความเห็นเกี่ยวกับศาลฯอย่างไร แลกเปลี่ยนกันครับ
ภาพสวยมากครับอาจารย์
ขอบคุณมากครับ
ไล่ตามดูคลิ๊ปเก่าๆ อยู่ครับ เห็นอันนี้แล้วคิดถึงความเชื่อเรื่องผีที่ทุกวันนี้ศาลเล็กศาลน้อยให้ผีเร่ร่อนอยู่ตามแยก ถ้าไม่มีต้องหาเสือหรือกระจกปะไว้ การสร้างศาลใหญ่ครั้งแรกผมว่าแยกนี้ต้องพิเศษ ศาลใหญ่ผีใหญ่หรือเทพคุม น่าจะเป็นขุมขนใหญ่ หรือตลาด และอดคิดต่อแบบขำๆไม่ได้ว่า เป็นเส้นทางที่น่าจะมี ม้าหรือเกวียนผ่านประจำ และ มีอุบัติเหตุบ่อยครั้ง ครับ
ใช่ครับคุณ pongthorn
ขอบพระคุณค่ะอาจารย์
ขอบคุณนะครับ
อาจารย์ครับ สิ่งที่น่าสงสัยมากๆ นอกจากแผนที่สมัยรัตนโกสินทร์ก็คือ ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง ตอนที่ทรงให้รื้อหอเทวดาและขยายเขตกำแพง มีคำกล่าวไว้ในพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ "ศักราช ๙๙๘ ปีชวดศก (พ.ศ. ๒๑๗๙ ) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้รื้อเทวสถานพระอิศวร พระนารายน์ นั้นขึ้นมาตั้งยังชีกุน ในปีนั้นให้ยกกำแพงพระราชวังออกไป ให้สร้างพระมหาปราสาทพระวิหารสมเด็จ" ตรงนี้น่าสนใจมากเลยครับ ว่าหอเทวดาหรือเทวสถานนั้น เป็นเทวสถานใด อยู่ตรงไหน เพราะพระองค์ทรงขยายแนววังออกมาทางทิศนี้จริงๆ ใช่สิ่งก่อสร้างนี้หรือไม่เป็นไปได้หรือไม่ว่า ในสมัย ร.3 ถึง ร.5 ที่มีการบันทึกว่า "ศาลเจ้าลักเมือง" ในที่นั้น อาจเป็นเจ้าหลักเมืองอื่นๆ ที่เป็นเทพยดารักษาเมือง ซึ่งในสมัยหลังก็มีทั้ง พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง พระกาฬชัยศรี เจ้าพ่อหอกลอง เป็นต้น เพราะการจะย้ายศาลหลักเมือง ดูออกจะน่าตกใจ น่ามีพิธีพิเศษใดๆ อย่างมาก ไม่น่าจะย้ายไปเฉยๆ ได้ และยิ่งเป็นพระเจ้าปราสาททองแล้ว ก็ยิ่งน่าจะมีการบันทึกไว้พอควร เพราะตอนที่พระองค์ให้ทรงสร้างสิ่งต่างๆ ด้านศาสนสถาน จะมีพิธีละเอียดทีเดียวนอกจากนี้ หากเอาความเชื่อเรื่อง สะดือเมือง ที่ค่อนข้างเป็นศูนย์กลางของเมือง ศาลหลักเมืองน่าจะอยู่ไม่ไกลจากศูนย์อำนาจนัก หากตั้งมาแต่แรก เช่น ถ้าสร้างตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ก็น่าจะอยู่ไม่เกินละแวกวัดพระศรีสรรเพชญ์อันเป็นขอบเขตวังเดิมทั้งหมดนี่ หาข้อมูลมาร่วมสนทนากับอาจารย์ครับ และขอบคุณที่กรุณาค้นคว้าและแสดงแผนที่ให้ดูด้วย ยิ่งเพิ่มความสงสัยครับ เรื่องนี้น่าสนุกที่ท่านอาจารย์จะได้ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ของศาลหลักเมืองต่อไป เพราะฐานสิ่งก่อสร้างนี้ ก็มีความน่าสนใจในตัวเอง
ขอบคุณนะครับ ไว้มีโอกาสมาร่วมกันค้นหาครับ
เสียงสะท้อนจากอดีต เป็นเกียรติอย่างยิ่งครับ ขออนุญาตให้ข้อมูลเพิ่มเติมท่านอาจารย์ไว้เรื่องศาลเทวดา ในจดหมายเหตุแคมเฟอร์ แคมเฟอร์เคยวาดภาพการจัดวางเทพารักษ์ไว้น่าสนใจมาก คือมีเทวดาถือพระขรรถ์ และมีการจัดเรียงคล้ายๆ เทวดาในศาลหลักเมือง เขาไม่ได้บอกชัดว่ามาจากตรงไหน แต่ในยุคนั้นอาจมีเทวดาไม่ครบห้าองค์เหมือนตอนรัตนโกสินทร์ [รูปในหนังสือจดหมายเหตุ เป็นรูปพิมพ์แกะไม้ รูปนั้นไม่ตรงกับสเก็ตช์จริงที่แคมเฟอร์วาดไป] แคมเฟอร์เคยเดินเลาะๆ รั้ววังมุมต่างๆ และภาพของเขาไม่ใช่ ผัง หรือ floor plan หรือ layout แต่เขาวาดใส่มิติ isometric drawing ไว้ครับ และมีสัดส่วน ขนาดถูกต้องกว่า เช่น วัดพระยาคลัง ฝีมือวาดภาพแกใช้ได้เลย ในฐานะแพทย์ คงได้เคยศึกษากายวิภาคแบบเดิมมา
@@deburgh65 กลับมาอ่านใหม่ กำลังนึกภาพตามอีกรอบครับ
สวัสดีคะชอบเสียงอาจารย์ฟังสบายๆ
หลับสบายครับ 555
ขอถามครับศาลพระรามในสมัยอยุธยามีอยู่จริงไหมครับอยู่ที่ไหนลักษณะอย่างไรจากที่ได้ดูสารคดีเกี่ยวกับคนไทยลูกหลานชาวโยเดียในพม่ากร่าวถึงว่า,ู่ย่าเคยเล่าให้ฟัง
เข้าใจว่าคือโบราณสถานศาลที่อยู่ตรงสี่แยก มีต้นโพธิ์อยู่ กรมศิลปากรกำลังขุดแต่งอยู่ครับ
FC อาจารย์ครับ
อาจารย์ค่ะ เทวดาอารักษ์สมัยอยุธยามีพระสยามเทวธิราช มั้ยคะ และน่าจะอยู่ส่วนใดของอยุธยาคะ @ฉันทัส
ตั้งคำถามน่าสนใจครับไม่ทราบเลยครับ
ขออนุญาตคะ ทราบมาว่า พระสยามเทวาธิราช เป็นความเชื่อที่เพิ่งเริ่มมีในยุครัตนโกสินทร์นะคะ
สวัสดีครับอาจารย์
สวัสดีครับ
อิฐแปดรู แม้จะเป็นภูมิปัญญาง่ายๆ แต่ก็น่าทึ่งครับ
ครับ
มีมาแต่โบราณกาล
สมมุติว่าถ้าอยุธยาไม่โดนเผายังสมบูรณ์จะสวยงามขนาดใหน
หรือจะเป็นศาลาของพวกกรมล้อมวังทำนองทิมดาบพวกกรมล้อมวังหรือเปล่าครับ ที่มาสร้างอยู่ตรงสามแพร่งหน้าวังเวลาเกิดเหตุใครยกกองกำลังบุกดิ่งตรงมาตามถนนจะได้เห็นถนัด
น่าสนใจครับ
ในบางคนก็สันนิฐานว่าเป็นศาลหลวง เพราะอยู่ในเขตพระราชฐาน ซึ่งเหตุอาจไม่มากพอแต่ ก็อ้างว่ามีการขุดพบตรา อะไรสักอย่างแถวนี้ที่มันคล้ายกับตราของศาลหลวงรัตนโกสินทร์ ก็คงเป็นเพียงแค่ข้อสันนิษฐาน อาจจะเป็นแบบที่อาจารย์นำเสนอก็ได้ สำหรับตัวอาคารนี้
ขอบคุณครับคุณคมสัน
สาระดีมากๆ
ขอบคุณครับคุณ Sumsung มีความเห็นเกี่ยวกับศาลฯอย่างไร แลกเปลี่ยนกันครับ
ภาพสวยมากครับอาจารย์
ขอบคุณมากครับ
ไล่ตามดูคลิ๊ปเก่าๆ อยู่ครับ เห็นอันนี้แล้วคิดถึงความเชื่อเรื่องผีที่ทุกวันนี้ศาลเล็กศาลน้อยให้ผีเร่ร่อนอยู่ตามแยก ถ้าไม่มีต้องหาเสือหรือกระจกปะไว้ การสร้างศาลใหญ่ครั้งแรกผมว่าแยกนี้ต้องพิเศษ ศาลใหญ่ผีใหญ่หรือเทพคุม น่าจะเป็นขุมขนใหญ่ หรือตลาด และอดคิดต่อแบบขำๆไม่ได้ว่า เป็นเส้นทางที่น่าจะมี ม้าหรือเกวียนผ่านประจำ และ มีอุบัติเหตุบ่อยครั้ง ครับ
ใช่ครับคุณ pongthorn
ขอบพระคุณค่ะอาจารย์
ขอบคุณนะครับ
อาจารย์ครับ สิ่งที่น่าสงสัยมากๆ นอกจากแผนที่สมัยรัตนโกสินทร์ก็คือ ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง ตอนที่ทรงให้รื้อหอเทวดาและขยายเขตกำแพง มีคำกล่าวไว้ในพระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ "ศักราช ๙๙๘ ปีชวดศก (พ.ศ. ๒๑๗๙ ) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้รื้อเทวสถานพระอิศวร พระนารายน์ นั้นขึ้นมาตั้งยังชีกุน ในปีนั้นให้ยกกำแพงพระราชวังออกไป ให้สร้างพระมหาปราสาทพระวิหารสมเด็จ" ตรงนี้น่าสนใจมากเลยครับ ว่าหอเทวดาหรือเทวสถานนั้น เป็นเทวสถานใด อยู่ตรงไหน เพราะพระองค์ทรงขยายแนววังออกมาทางทิศนี้จริงๆ ใช่สิ่งก่อสร้างนี้หรือไม่
เป็นไปได้หรือไม่ว่า ในสมัย ร.3 ถึง ร.5 ที่มีการบันทึกว่า "ศาลเจ้าลักเมือง" ในที่นั้น อาจเป็นเจ้าหลักเมืองอื่นๆ ที่เป็นเทพยดารักษาเมือง ซึ่งในสมัยหลังก็มีทั้ง พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง พระกาฬชัยศรี เจ้าพ่อหอกลอง เป็นต้น
เพราะการจะย้ายศาลหลักเมือง ดูออกจะน่าตกใจ น่ามีพิธีพิเศษใดๆ อย่างมาก ไม่น่าจะย้ายไปเฉยๆ ได้ และยิ่งเป็นพระเจ้าปราสาททองแล้ว ก็ยิ่งน่าจะมีการบันทึกไว้พอควร เพราะตอนที่พระองค์ให้ทรงสร้างสิ่งต่างๆ ด้านศาสนสถาน จะมีพิธีละเอียดทีเดียว
นอกจากนี้ หากเอาความเชื่อเรื่อง สะดือเมือง ที่ค่อนข้างเป็นศูนย์กลางของเมือง ศาลหลักเมืองน่าจะอยู่ไม่ไกลจากศูนย์อำนาจนัก หากตั้งมาแต่แรก เช่น ถ้าสร้างตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ทอง ก็น่าจะอยู่ไม่เกินละแวกวัดพระศรีสรรเพชญ์อันเป็นขอบเขตวังเดิม
ทั้งหมดนี่ หาข้อมูลมาร่วมสนทนากับอาจารย์ครับ และขอบคุณที่กรุณาค้นคว้าและแสดงแผนที่ให้ดูด้วย ยิ่งเพิ่มความสงสัยครับ เรื่องนี้น่าสนุกที่ท่านอาจารย์จะได้ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลป์ของศาลหลักเมืองต่อไป เพราะฐานสิ่งก่อสร้างนี้ ก็มีความน่าสนใจในตัวเอง
ขอบคุณนะครับ ไว้มีโอกาสมาร่วมกันค้นหาครับ
เสียงสะท้อนจากอดีต เป็นเกียรติอย่างยิ่งครับ ขออนุญาตให้ข้อมูลเพิ่มเติมท่านอาจารย์ไว้เรื่องศาลเทวดา ในจดหมายเหตุแคมเฟอร์ แคมเฟอร์เคยวาดภาพการจัดวางเทพารักษ์ไว้น่าสนใจมาก คือมีเทวดาถือพระขรรถ์ และมีการจัดเรียงคล้ายๆ เทวดาในศาลหลักเมือง เขาไม่ได้บอกชัดว่ามาจากตรงไหน แต่ในยุคนั้นอาจมีเทวดาไม่ครบห้าองค์เหมือนตอนรัตนโกสินทร์ [รูปในหนังสือจดหมายเหตุ เป็นรูปพิมพ์แกะไม้ รูปนั้นไม่ตรงกับสเก็ตช์จริงที่แคมเฟอร์วาดไป] แคมเฟอร์เคยเดินเลาะๆ รั้ววังมุมต่างๆ และภาพของเขาไม่ใช่ ผัง หรือ floor plan หรือ layout แต่เขาวาดใส่มิติ isometric drawing ไว้ครับ และมีสัดส่วน ขนาดถูกต้องกว่า เช่น วัดพระยาคลัง ฝีมือวาดภาพแกใช้ได้เลย ในฐานะแพทย์ คงได้เคยศึกษากายวิภาคแบบเดิมมา
@@deburgh65 กลับมาอ่านใหม่ กำลังนึกภาพตามอีกรอบครับ
สวัสดีคะ
ชอบเสียงอาจารย์ฟังสบายๆ
หลับสบายครับ 555
ขอถามครับศาลพระรามในสมัยอยุธยามีอยู่จริงไหมครับ
อยู่ที่ไหนลักษณะอย่างไร
จากที่ได้ดูสารคดีเกี่ยวกับคนไทยลูกหลานชาวโยเดียในพม่ากร่าวถึงว่า,ู่ย่าเคยเล่าให้ฟัง
เข้าใจว่าคือโบราณสถานศาลที่อยู่ตรงสี่แยก มีต้นโพธิ์อยู่ กรมศิลปากรกำลังขุดแต่งอยู่ครับ
FC อาจารย์ครับ
ขอบคุณมากครับ
อาจารย์ค่ะ เทวดาอารักษ์สมัยอยุธยามีพระสยามเทวธิราช มั้ยคะ และน่าจะอยู่ส่วนใดของอยุธยาคะ @ฉันทัส
ตั้งคำถามน่าสนใจครับ
ไม่ทราบเลยครับ
ขออนุญาตคะ ทราบมาว่า พระสยามเทวาธิราช เป็นความเชื่อที่เพิ่งเริ่มมีในยุครัตนโกสินทร์นะคะ
สวัสดีครับอาจารย์
สวัสดีครับ
อิฐแปดรู แม้จะเป็นภูมิปัญญาง่ายๆ แต่ก็น่าทึ่งครับ
ครับ
มีมาแต่โบราณกาล
ครับ
สมมุติว่าถ้าอยุธยาไม่โดนเผายังสมบูรณ์จะสวยงามขนาดใหน
ครับ
หรือจะเป็นศาลาของพวกกรมล้อมวังทำนองทิมดาบพวกกรมล้อมวังหรือเปล่าครับ ที่มาสร้างอยู่ตรงสามแพร่งหน้าวังเวลาเกิดเหตุใครยกกองกำลังบุกดิ่งตรงมาตามถนนจะได้เห็นถนัด
น่าสนใจครับ