ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
ขอบคุณครับ ได้รับความรู้ใหม่ๆมากเลย
ขอบคุณมากครับ
ชอบ เสียงอาจารย์ !
ขอบคุณครับ
วัดเก่าสวยคับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ สำหรับความรู้เสาหลักเมือง หนูทำงานจังหวัดไหน ก็จะพยายามไปไหว้เสาหลักเมืองนั้น เพื่อให้คุ้มครองป้องกัน
บ้านเกิดอยู่จังหวัดไหนครับ
เกิดจ.นครศรีธรรมราช(วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร) ม.ต้น เรียนที่จ.สุราษฎร์ธานี(วัดพระบรมธาตุไชยา) ตั้งแต่เรียนม.ปลาย -ป.ตรี อยู่กรุงเทพยาวเลย ทำงานยาวนาน ที่จ.ระยอง ชายแดนติด จ.จันทบุรี แล้วปลายปี2561ย้ายไป จ.พระนครศรีอยุธยา และปลายปี2562 เพิ่งย้ายมา จ.นครราชสีมา 😂😁 ศาลหลักเมืองที่ไปบ่อยสุดคือ จ.กรุงเทพมหานครค่ะ 😄😆
อาจารย์เล่าเรื่องราวพระเจดีย์ ในอาณาจักรศรีวิชัยให้ฟังบ้างนะคะ /ขอบคุณค่ะ
@@amornratrat ต้องปรึกษา อ.เชษฐ์ิ ก่อน มันเป็นศิลปะอินเดียเป็นหลัก
เมื่อก่อนผมเคยคิดเล่นๆว่า เสาหลักเมืองอาจจะได้คติที่ดัดแปลงมาจากพราหมณ์ฮินดู ในแง่ของการจำลองเขาพระสุเมรุไว้ใจกลางเมือง คือตัวอาคารที่ครอบเสา ส่วนตัวเสาก็คล้ายๆศิวลิงค์ในศาสนาพราหมณ์ฮินดู ที่ถูกเปลี่ยนดัดแปลงนำมาใช้ในทางพุทธ เป็นหลักที่บ่งบอกถึงใจกลางเมือง เปรียบได้กับเขาพระสุเมรุของพราหมณ์ฮินดูอะไรประมาณนี้แหละครับ
ผมก็รู้สึกคล้ายๆ แบบนั้นเหมือนกันครับ
น่าสนใจครับอาจารย์ เป็นกระบวนทัศน์ที่แตกแขนงออกไปค่อนข้างมาก สมมติฐานของอาจารย์น่าสนใจหลายเรื่อง อาทิ1. ทางสามแพร่ง (ต้องหาข้อพิสูจน์สมมติฐานต่อไปว่า เหตุใดต้องสามแพร่ง และเหตุใดต้องเป็นแพร่งจากคลองสระบัว ทำไมไม่แพร่งอื่นๆ เช่น บางกะจะ ความเชื่อเรื่องทางสามแพร่งมีมาอย่างไร)2. ความเชื่อท้องถิ่น ตรงนี้น่าสนใจมาก เพราะถ้าเราเอาความเชื่อว่าเป็นนานาชาติ เขมรเองตอนรุ่งเรือง มีการฝังเสา แต่เรียกว่า เสาประโคน (ตรงนี้น่าสนใจต่อไปว่า วัดพระประโทน อาจมีเสาทวาราวดี แบบนี้ด้วยหรือไม่) แต่เป็นเสาบอกอาณาเขตของเมืองไม่ใช่หลักเมือง สุนทรภู่ เคยสงสัยว่า ในเขตกรุงเทพเสานี้อยู่ตรงไหน วัดดุสิตดาราม ปากคลองบางกอกน้อย เดิมชื่อวัด เสาประโคน และประโคนในภาษาเขมร แปลว่าเสา ม.ร.ว. คึกฤทธิ เคยสันนิษฐานว่า เขตนี้น่าจะเป็นเสาเดิมจากสมัยอยุธยา ซึ่งเป็นพื้นที่ในกฎหมายจารีตของชาววังว่าห้ามออกนอกเขตเสา หากนับจากอยุธยา การออกนอกเขตเสาที่ว่าถือได้ว่ามีความผิด3. ความเชื่อพุทธศาสนา หากเอาความเชื่อเสาหินอโศก ซึ่งสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 3 แต่ความเชื่อและสถาปัตยกรรมแบบนั้น ก็ไม่ได้แพร่หลายมากนัก อาจเป็นด้วยทั้งเทคนิคการก่อสร้างเสาหิน และอื่นๆ แต่ถ้าหากทางพุทธเมืองเหนือเชื่อแบบนั้น ก็ไม่น่าจะยากที่จะสร้างเสาไม้หัวสัตว์ ทั้งหมดทั้งปวง ยังหาข้อสรุปและสนับสนุนทันทีไม่ได้ แต่เห็นด้วยว่าควรหาความเชื่อและที่มาหลากหลาย เมื่ออาจารย์แตะเรื่องท้องถิ่นเมืองเหนือ แม้เราจะไม่ได้มองว่าประวัติศาสตร์ต้องเป็นสายเดียวเชื่อมต่อ แต่มีความน่าสนใจว่า ทางวงศ์เมืองเหนือ มีความสนใจในเรื่องนี้ และมีนิยามคำว่า สะดือเมือง มาก่อนแล้ว และเสาอินทขีล ก็มักจะตั้งอยู่บริเวณสะดือเมือง และมีคำว่า อินทร์ หรือพระอินทร์ อยู่ด้วย โดยคำแปลว่าคำว่า อินทขีล แปลว่า หลักเมือง ประตูเมือง สำหรับในภาษาสันสกฤต คำว่า ขีล कील แปลว่า ตะปู หรือแท่ง ซึ่งน่าจะตรงความหมายเดิม ในแง่ เสา หลัก หรืออะไรที่ฝังลงไป ดังนั้น ถ้าจะแปลว่า เสาพระอินทร์ ก็แปลได้ จะเป็นเสาแห่งเทพคุ้มครองเมืองไปในทันที ตามแนวคิด ที่รับเอาคติพรามหณ์มาใช้ เพราะจริงๆ แล้ว พระอินทร์แต่เดิม เป็นเทพที่สูงกว่าเทพอื่น แม้ตอนหลังอยุธยาจะมีเทพแบบพรามณ์สมันใหม่ เช่น พระนารายณ์ก็ตาม
1. เห็นด้วยครับ ที่เล่ามาน่าสนใจมาก2. ข้อมูลแน่นมาก ขอบคุณนะครับ3. เรื่องเสาพระอินทร์นี่ผมสนใจที่สุด เดี๋ยวจะลองทำแยกอีกตอน ขอบคุณนะครับ
เสียงสะท้อนจากอดีต ขอบคุณครับอาจารย์ ติดตามดูตลอดนะครับ ทั้งที่นี่และ Faith Thai Story
ขอบคุณสำหรับความรู้เรื่องเสาหลักเมืองครับอาจารย์..ผมอยากให้อาจารย์ทำคลิปประวัติวัดจักรวรรดิ์ที่มีสระน้ำล้อมรอบและมีเจดีย์ประธานทรงระฆังคว่ำ..ใหญ่มากเลยครับอาจารย์..ผมอ่านเผินๆกรมศิลเค้าบอกว่าเป็นวัดของชุมชนชาวมอญใช่ไหมครับ..วัดติดกับวัดกฎีดาวและวัดประดู่ทรงธรรม..
ใช่ครับิเป็นเจดีย์มอญครับ มับัวคอเสื้อที่องค์ระฆังเหมือนมอญเลยครับ
@@taspien พอดีวันนี้ไปส่งพี่สาวที่ศูนย์ปฏิบัติทำวัดมเหยงมาครับ..ขับรถผ่านเลยแวะเดินดูนิดหน่อยครับ..เจดีย์ใหญ่มากครับ..สงสัยน่าจะประมาณยุคพระนเรศวรหรือป่าวครับชุมชนชาวมอญ
คติเสาหลักเมืองจากงานวิจัย ของ อ. ชลธิรา สัตยาวัฒนา พบว่า มาจากคติการบูขาหินตั้งในอายธรรมยุคหินใหม่ เชื่อมต่อมาสู่ยุคโลหะ และยุคประวัติศาสตร์ครับ จากหนังสือ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท ผู้วิจัย เรียบเรียง อ.ชลธรา สัตยาวัฒนา
โห เก่ามากครับ ขอบคุณครับคุณอภิชาติ
อาจารย์เขียนและวาดรูปให้เห็นแบบนี้เข้าใจง่ายขอบคุณมากเลยครับ
ครับคุณอนุวัฒน์
อาจารย์ครับ (อยากบอก) คนทั่วไปเช่นผมไม่มีโอกาสเดินทางไปเห็นโบราณสถาน-วัตถุต่างๆ หลักฐานเชื่อมโยงไม่มีจึงนึกไม่ค่อยออก การที่อาจารย์มาอธิบายให้ได้ข้อมูลใส่หัวเพิ่มเติมจึงเป็นประโยชน์มากสำหรับคนธรรมดาๆ ครับ
ขอบคุณครับ คุณศักดิ์สิทธิ์
เสาหลักเมืองนอกจากมีที่มาเพื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่อาจารย์กล่าว ยังอาจมีที่มาหรือประโยชน์ในการเป็นจุดอ้างอิงระยะในการก่อสร้างสิ่งต่างๆในเมือง คล้ายกับหลักกิโลเมตรในปัจจุบันที่บอกระยะทางถึงศาลากลางหรือที่ว่าการอำเภอ?
ขอบคุณครับ กำลังนึกตามครับคุณ mtgold go
สงสัย วัดป่ามะม่วง ทำไมถึงมีคนพูดถึงกันเยอะ ป่ามะม่วงมีความสำคัญยังอ่ะคับ หรือเป็นตอนที่พระพุททธเจ้า เปิด 3 โลกรึเปล่าครับ
น่าจะอย่างนั้นครับ เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติหลายตอน หรือตอนเด่นๆ ก็ที่ทำยมกปาฏิหาริย์
ขอบคุณครับ ได้รับความรู้ใหม่ๆมากเลย
ขอบคุณมากครับ
ชอบ เสียงอาจารย์ !
ขอบคุณครับ
วัดเก่าสวยคับ
ขอบคุณครับ
ขอบคุณมากค่ะอาจารย์ สำหรับความรู้เสาหลักเมือง หนูทำงานจังหวัดไหน ก็จะพยายามไปไหว้เสาหลักเมืองนั้น เพื่อให้คุ้มครองป้องกัน
บ้านเกิดอยู่จังหวัดไหนครับ
เกิดจ.นครศรีธรรมราช(วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร) ม.ต้น เรียนที่จ.สุราษฎร์ธานี(วัดพระบรมธาตุไชยา) ตั้งแต่เรียนม.ปลาย -ป.ตรี อยู่กรุงเทพยาวเลย ทำงานยาวนาน ที่จ.ระยอง ชายแดนติด จ.จันทบุรี แล้วปลายปี2561ย้ายไป จ.พระนครศรีอยุธยา และปลายปี2562 เพิ่งย้ายมา จ.นครราชสีมา 😂😁 ศาลหลักเมืองที่ไปบ่อยสุดคือ จ.กรุงเทพมหานครค่ะ 😄😆
อาจารย์เล่าเรื่องราวพระเจดีย์ ในอาณาจักรศรีวิชัยให้ฟังบ้างนะคะ /ขอบคุณค่ะ
@@amornratrat ต้องปรึกษา อ.เชษฐ์ิ ก่อน มันเป็นศิลปะอินเดียเป็นหลัก
เมื่อก่อนผมเคยคิดเล่นๆว่า เสาหลักเมืองอาจจะได้คติที่ดัดแปลงมาจากพราหมณ์ฮินดู ในแง่ของการจำลองเขาพระสุเมรุไว้ใจกลางเมือง คือตัวอาคารที่ครอบเสา ส่วนตัวเสาก็คล้ายๆศิวลิงค์ในศาสนาพราหมณ์ฮินดู ที่ถูกเปลี่ยนดัดแปลงนำมาใช้ในทางพุทธ เป็นหลักที่บ่งบอกถึงใจกลางเมือง เปรียบได้กับเขาพระสุเมรุของพราหมณ์ฮินดูอะไรประมาณนี้แหละครับ
ผมก็รู้สึกคล้ายๆ แบบนั้นเหมือนกันครับ
น่าสนใจครับอาจารย์ เป็นกระบวนทัศน์ที่แตกแขนงออกไปค่อนข้างมาก สมมติฐานของอาจารย์น่าสนใจหลายเรื่อง อาทิ
1. ทางสามแพร่ง (ต้องหาข้อพิสูจน์สมมติฐานต่อไปว่า เหตุใดต้องสามแพร่ง และเหตุใดต้องเป็นแพร่งจากคลองสระบัว ทำไมไม่แพร่งอื่นๆ เช่น บางกะจะ ความเชื่อเรื่องทางสามแพร่งมีมาอย่างไร)
2. ความเชื่อท้องถิ่น ตรงนี้น่าสนใจมาก เพราะถ้าเราเอาความเชื่อว่าเป็นนานาชาติ เขมรเองตอนรุ่งเรือง มีการฝังเสา แต่เรียกว่า เสาประโคน (ตรงนี้น่าสนใจต่อไปว่า วัดพระประโทน อาจมีเสาทวาราวดี แบบนี้ด้วยหรือไม่) แต่เป็นเสาบอกอาณาเขตของเมืองไม่ใช่หลักเมือง สุนทรภู่ เคยสงสัยว่า ในเขตกรุงเทพเสานี้อยู่ตรงไหน วัดดุสิตดาราม ปากคลองบางกอกน้อย เดิมชื่อวัด เสาประโคน และประโคนในภาษาเขมร แปลว่าเสา ม.ร.ว. คึกฤทธิ เคยสันนิษฐานว่า เขตนี้น่าจะเป็นเสาเดิมจากสมัยอยุธยา ซึ่งเป็นพื้นที่ในกฎหมายจารีตของชาววังว่าห้ามออกนอกเขตเสา หากนับจากอยุธยา การออกนอกเขตเสาที่ว่าถือได้ว่ามีความผิด
3. ความเชื่อพุทธศาสนา หากเอาความเชื่อเสาหินอโศก ซึ่งสร้างราวพุทธศตวรรษที่ 3 แต่ความเชื่อและสถาปัตยกรรมแบบนั้น ก็ไม่ได้แพร่หลายมากนัก อาจเป็นด้วยทั้งเทคนิคการก่อสร้างเสาหิน และอื่นๆ แต่ถ้าหากทางพุทธเมืองเหนือเชื่อแบบนั้น ก็ไม่น่าจะยากที่จะสร้างเสาไม้หัวสัตว์
ทั้งหมดทั้งปวง ยังหาข้อสรุปและสนับสนุนทันทีไม่ได้ แต่เห็นด้วยว่าควรหาความเชื่อและที่มาหลากหลาย เมื่ออาจารย์แตะเรื่องท้องถิ่นเมืองเหนือ แม้เราจะไม่ได้มองว่าประวัติศาสตร์ต้องเป็นสายเดียวเชื่อมต่อ แต่มีความน่าสนใจว่า ทางวงศ์เมืองเหนือ มีความสนใจในเรื่องนี้ และมีนิยามคำว่า สะดือเมือง มาก่อนแล้ว และเสาอินทขีล ก็มักจะตั้งอยู่บริเวณสะดือเมือง และมีคำว่า อินทร์ หรือพระอินทร์ อยู่ด้วย โดยคำแปลว่าคำว่า อินทขีล แปลว่า หลักเมือง ประตูเมือง สำหรับในภาษาสันสกฤต คำว่า ขีล कील
แปลว่า ตะปู หรือแท่ง ซึ่งน่าจะตรงความหมายเดิม ในแง่ เสา หลัก หรืออะไรที่ฝังลงไป
ดังนั้น ถ้าจะแปลว่า เสาพระอินทร์ ก็แปลได้ จะเป็นเสาแห่งเทพคุ้มครองเมืองไปในทันที ตามแนวคิด ที่รับเอาคติพรามหณ์มาใช้ เพราะจริงๆ แล้ว พระอินทร์แต่เดิม เป็นเทพที่สูงกว่าเทพอื่น แม้ตอนหลังอยุธยาจะมีเทพแบบพรามณ์สมันใหม่ เช่น พระนารายณ์ก็ตาม
1. เห็นด้วยครับ ที่เล่ามาน่าสนใจมาก
2. ข้อมูลแน่นมาก ขอบคุณนะครับ
3. เรื่องเสาพระอินทร์นี่ผมสนใจที่สุด เดี๋ยวจะลองทำแยกอีกตอน ขอบคุณนะครับ
เสียงสะท้อนจากอดีต ขอบคุณครับอาจารย์ ติดตามดูตลอดนะครับ ทั้งที่นี่และ Faith Thai Story
ขอบคุณสำหรับความรู้เรื่องเสาหลักเมืองครับอาจารย์..ผมอยากให้อาจารย์ทำคลิปประวัติวัดจักรวรรดิ์ที่มีสระน้ำล้อมรอบและมีเจดีย์ประธานทรงระฆังคว่ำ..ใหญ่มากเลยครับอาจารย์..ผมอ่านเผินๆกรมศิลเค้าบอกว่าเป็นวัดของชุมชนชาวมอญใช่ไหมครับ..วัดติดกับวัดกฎีดาวและวัดประดู่ทรงธรรม..
ใช่ครับิเป็นเจดีย์มอญครับ มับัวคอเสื้อที่องค์ระฆังเหมือนมอญเลยครับ
@@taspien
พอดีวันนี้ไปส่งพี่สาวที่ศูนย์ปฏิบัติทำวัดมเหยงมาครับ..ขับรถผ่านเลยแวะเดินดูนิดหน่อยครับ..เจดีย์ใหญ่มากครับ..สงสัยน่าจะประมาณยุคพระนเรศวรหรือป่าวครับชุมชนชาวมอญ
คติเสาหลักเมืองจากงานวิจัย ของ อ. ชลธิรา สัตยาวัฒนา พบว่า มาจากคติการบูขาหินตั้งในอายธรรมยุคหินใหม่ เชื่อมต่อมาสู่ยุคโลหะ และยุคประวัติศาสตร์ครับ จากหนังสือ ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท ผู้วิจัย เรียบเรียง อ.ชลธรา สัตยาวัฒนา
โห เก่ามากครับ ขอบคุณครับคุณอภิชาติ
อาจารย์เขียนและวาดรูปให้เห็นแบบนี้เข้าใจง่ายขอบคุณมากเลยครับ
ครับคุณอนุวัฒน์
อาจารย์ครับ (อยากบอก) คนทั่วไปเช่นผมไม่มีโอกาสเดินทางไปเห็นโบราณสถาน-วัตถุต่างๆ หลักฐานเชื่อมโยงไม่มีจึงนึกไม่ค่อยออก การที่อาจารย์มาอธิบายให้ได้ข้อมูลใส่หัวเพิ่มเติมจึงเป็นประโยชน์มากสำหรับคนธรรมดาๆ ครับ
ขอบคุณครับ คุณศักดิ์สิทธิ์
เสาหลักเมืองนอกจากมีที่มาเพื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่อาจารย์กล่าว ยังอาจมีที่มาหรือประโยชน์ในการเป็นจุดอ้างอิงระยะในการก่อสร้างสิ่งต่างๆในเมือง คล้ายกับหลักกิโลเมตรในปัจจุบันที่บอกระยะทางถึงศาลากลางหรือที่ว่าการอำเภอ?
ขอบคุณครับ กำลังนึกตามครับคุณ mtgold go
สงสัย วัดป่ามะม่วง ทำไมถึงมีคนพูดถึงกันเยอะ ป่ามะม่วงมีความสำคัญยังอ่ะคับ หรือเป็นตอนที่พระพุททธเจ้า เปิด 3 โลกรึเปล่าครับ
น่าจะอย่างนั้นครับ เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติหลายตอน หรือตอนเด่นๆ ก็ที่ทำยมกปาฏิหาริย์