DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแรงดันได้" จากแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์งบ 150฿ FixIT EP.46

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 20 ก.ย. 2024
  • Make easy Power Supply can be voltage variable use for fix and find shorted component of electric device budget 150฿.
    EP นี้พาทำแหล่งจ่ายไฟ หรือ Power Supply จากแบตเตอรี่ทั่วไป เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถปรับแรงดัน และตรวจจับกระแสที่ถูกใช้ เพื่อหาอุปกรณ์ที่ช๊อต ซึ่งใช้งบประมาณหลักร้อยบาท (ไม่รวมแบตเตอรี่) สามารถใช้กับแบตเตอรี่ 12V หรือมากกว่านั้นก็ได้ มีวิธีทำอย่างไปไปรับชมกันเลยครับ
    If you watch and see that this clip is good. And useful, please press like, press subscribed for encouragement. and do not miss any new clips.
    หากรับชมแล้วเห็นว่าคลิ๊ปนี้ดี และมีประโยชน์ โปรดกดชอบ กดติดตาม เพื่อเป็นกำลังใจ และไม่พลาดคลิ๊ปใหม่ ๆ ครับ
    แผนผัง และอุปกรณ์ที่ต้องใช้ www.xn--42ca1g...
    คลิ๊ปที่เกี่ยวข้อง
    ทรานซิสเตอร์ EP.6.1 Self Bias by Optocoupler and Zener Protection • 📲💡 Self Bias by Optoco...
    ทรานซิสเตอร์ EP.6 Self Bias and Zener Diode Protection Part 1 • 📲💡 Self Bias and Zener...
    ทรานซิสเตอร์ EP.5 Boost Mode ตัวแปรสร้างเสถียรภาพ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.4 Boost Mode สภาวะเร่งพลังงาน • ทรานซิสเตอร์ ( transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.3 การไบอัสแบบคงที่ เพื่อเป็น Power Supply • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.2 การจัดวงจรลักษณะต่าง ๆ Push-Pull เรียนรู้ เข้าใจ เพื่อนำไปปฏิบัติ • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    ทรานซิสเตอร์ EP.1 ทฤษฎี+workshop เบื้องต้น • ทรานซิสเตอร์ ( Transis...
    เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเตอร์ ให้ บอร์ดทดลอง (DIY Volt-Amp meter to BreadBoard) • เพิ่ม โวลต์-แอมป์ มิเต...
    ซีเนอร์ไดโอด • ซีเนอร์ไดโอด (Zener Di...
    ตัวต้านทาน pull up-down • ตัวต้านทาน Pull up Pu...
    regulator • Regulator เรกูเลเตอร์ ...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.1 หลักการทำงาน การวัด การต่อใช้งาน • FixIT EP.35 #ตัวต้านทา...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.2 การต่อใช้งาน ข้อดี ข้อเสีย การจัดวงจร แนวทางการแก้ไข • FixIT EP.35.1 #ตัวต้าน...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.3 ขับกระแสสูงให้โหลด • FixIT EP.35.2 #ตัวต้าน...
    ตัวต้านทานปรับค่าได้ EP.4 การวัดตัวต้านทานปรับค่าได้ ที่ซื้อมาจาก Online • FixIT EP.35.3 #การวัดต...
    DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแรงดันได้" จากแบตเตอรี่ เพื่อใช้ในการตรวจซ่อมอุปกรณ์ • DIY แหล่งจ่ายไฟ "ปรับแ...
    รับชมความรู้อื่น ๆ เลือกดูได้ตามความสนใจได้เลยครับ www.youtube.co...

ความคิดเห็น • 23

  • @watza2384
    @watza2384 6 หลายเดือนก่อน +1

    สอนการหาตัวซ๊อตหน่อยคับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  6 หลายเดือนก่อน

      มีอยู่ในหลายคลิ๊ปเลยครับ

  • @HowToCodeDelphi
    @HowToCodeDelphi ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณครับ อาจารย์

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      😁 ขอบคุณมาก ๆ เช่นกันครับผม

  • @korntalkforyou7226
    @korntalkforyou7226 ปีที่แล้ว +1

    ทรานซิสเตอร์ NPN เบอร์ H120 ใช่ไหมครับ

  • @เล่นเกมโดยตรง
    @เล่นเกมโดยตรง ปีที่แล้ว +1

    ถ้ารั่วตรวจด้วยวิธีนี้ได้ไหมครับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      ถ้ารั่วก็น่าจะได้ครับ เพราะเราดูจากตัวเลขกระแสที่กินเป็นหลักครับ มันจะมีช๊อตแบบสมบูรณ์ ก็จะกินกระแสเยอะ กับช๊อตใกล้สมบูรณ์ ก็จะกินกระแสน้อยลงครับ ตัวเลขกระแสจะบอกได้ครับ ประมาณนี้ครับ

  • @หนึ่งนามจตุรัส-ฑ7ม
    @หนึ่งนามจตุรัส-ฑ7ม 2 ปีที่แล้ว +1

    ถ้าต้องการลดแรงดันจากหม้อแปลงนำวงจรนี้ไปต่อจะต้องต่อก่อนเข้าไดโอดหรือไฟที่ออกจากไดโอดแล้ว

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  2 ปีที่แล้ว +1

      ต้องต่อหลังจากไฟที่ออกจาก diode แล้วครับ เพราะออกจากหม้อแปลงจะเป็น AC อยู่ ต่อผ่าน ไดโอดบริด เสียก่อน ไฟเลี้ยง Volt - amp มิเตอร์ ควร แยกแบ่งแรงดันให้ได้ 5V คงที่ครับ เพราะบางทีถ้าออกจากหม้อแปลง ไฟที่เราต้องการตรวจจับมันจะเป็น Hi Voltage จะทำให้ โวลต์มิเตอร์เสียได้ แต่ถ้าเรามั่นใจว่าไฟออกจากหม้อแปลง ไม่เกิน 24V เราสามารถรวมสายไฟเลี้ยงโวลต์แอมป์มิเตอร์ และสายตรวจจับโวลต์ เอามารวมกันได้ครับ

    • @หนึ่งนามจตุรัส-ฑ7ม
      @หนึ่งนามจตุรัส-ฑ7ม 2 ปีที่แล้ว +1

      @@CoreComCenter การทนกระแสขึ้นอยู่กับ tr ใช่มั้ยคับ

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  2 ปีที่แล้ว

      @@หนึ่งนามจตุรัส-ฑ7ม ใช่ครับ ขึ้นอยู่กับการระบายความร้อน ขึ้นอยู่กับสเปคมอสเฟส หรือทรานซิสเตอร์ ที่เรานำมาใช้ครับ อันนี้เป็นวงจรพื้นฐานนะครับ นำไปต่อยอดได้อีกเยอะครับ เรียนรู้ไปด้วยกันนะครับผม

  • @tonyanan8407
    @tonyanan8407 ปีที่แล้ว +1

    นักเรียนรายงานตัวครับอาจารย์

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว

      สวัสดีครับ เลือกดูได้ตามความชอบเลยครับ คิดว่าน่าจะมีประโยชน์เพื่อการนำไปใช้อยู่นะครับ 😁

  • @Sandiy99
    @Sandiy99 ปีที่แล้ว +1

    ผมหัดซ่อมสวิทชิ่งเพาเวอร์แอมคลาสดีวัดหาตัวช้อตไม่เจออาการเสียแบบเงียบมีแนวทางแนะนำผมได้ใหมครับผม

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว +2

      ถ้าวัดเย็นไม่เจอตัวช๊อต ให้เสียบไฟก่อนครับ ลองจิ้มไฟว่าไปถึงไหนบ้าง ฝั่ง input ไปถึงไหน ฝั่ง output ไปถึงไหน ค่อย ๆ ไล่ step ไป อย่าเพิ่งผลีผลาม ไม่ต้องรีบครับ จำกัดวงให้แคบที่สุด ตั้งสมมุติฐานก่อนซ่อมครับ ผมเชื่อว่าทุกอย่างเป็นไปได้ครับ

    • @Sandiy99
      @Sandiy99 ปีที่แล้ว +1

      @@CoreComCenter ขอบคุณมากครับผม

    • @CoreComCenter
      @CoreComCenter  ปีที่แล้ว +1

      มีกรณีนึง ผมซ่อมจอภาพซัมซุง Dual Mosfet ช๊อต ฟิวส์ไฟต่ำขาด ตอนแรกใส่ฟิวใหม่ ใส่ Mosfet ใหม่ เข้าไป ใส่เข้าไปกี่ที ก็ช๊อตครับ สมมุติฐานที่ตั้งคือ IC PWM เสีย กะว่าจะซื้อ IC PWM มาใส่ แต่ลองวัดเย็นดูก่อน วัดเทียบกราวด์ทุกขา ไม่ช๊อต แล้วผมลองวัดตัวต้านทานรอบ ๆ IC PWM ดู ปรากฏว่าตัวต้านทาน 10R ยืดเป็น 1000R เป็นตัวต้านทาน Vin ไฟเลี้ยง IC PWM ครับ ประมาณนี้ครับ บางครั้งสาเหตุมันอาจจะเป็นเส้นผมบังภูเขาครับ ที่เราต้องสังเกตุและหาให้เจอครับ ลองดูนะครับผม

    • @Sandiy99
      @Sandiy99 ปีที่แล้ว +1

      @@CoreComCenter ครับผมขอบคุณครับผม