🇹🇭การออกเสียงพยัญชนะอินเดียดั้งเดิม!โดยใช้อักษรไทย 🇮🇳 Learn Indian accent!

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 12 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 275

  • @bhainaithai
    @bhainaithai  ปีที่แล้ว +180

    ขออภัย ณ ที่นี่ หากพูดสำเนียงไทยไม่ชัด หวังว่าคงฟังไม่ยากที่จะเข้าใจนะครับ 😅 ขอบคุณครับ🙏🏻

    • @เส้นทางเดินของคนจนๆ
      @เส้นทางเดินของคนจนๆ ปีที่แล้ว +11

      พูดได้ชัด 90% แล้วครับ

    • @SWai-xq1vk
      @SWai-xq1vk ปีที่แล้ว +6

      แค่นี้ก็ชัดมากๆแล้วครับ

    • @seraau2535
      @seraau2535 ปีที่แล้ว +7

      ไม่มีปัญหาครับ ทุกคนฟังเข้าใจ

    • @robbiepit
      @robbiepit ปีที่แล้ว +2

      สุดยอดเลยครับ

    • @KP-bd9qn
      @KP-bd9qn ปีที่แล้ว +4

      อย่าบอกว่าไม่ชัดเลยครับ แบบนี้เค้าเรียกว่าชัดเว่อร์ ชัดกว่า/เป๊ะกว่าคนไทยอีก

  • @smn-tm
    @smn-tm ปีที่แล้ว +35

    ผมนอนตายตาหลับแล้ว ผมตามหาคนพูดเสียง "ฑ" ที่ถูกต้อง มาเกือบทั้งชีวิต
    ขอบคุณครับ

    • @KunchayJee
      @KunchayJee 3 หลายเดือนก่อน

      จริงครับอยู่ๆก็สงสัยเลยมาหาดู555

  • @kroosri
    @kroosri ปีที่แล้ว +68

    ดีใจที่ได้เจ้าของภาษามาออกเสียงให้ฟังค่ะ อยากให้เด็กไทยได้ฟังและออกเสียงตาม เพื่อทำความเข้าใจ ครูสอนภาษาไทยมานานจนปัจจุบันเกษียณราชการแล้ว ยังหาลูกศิษย์ที่จะเข้าใจภาษาสันสกฤตได้ยากมาก ขอบคุณมากๆนะคะ จะติดตามผลงานของคุณต่อไปค่ะ

    • @benzvd
      @benzvd ปีที่แล้ว +7

      ครับ
      เจ้าของภาษา ชาวอินเดียที่พูดภาษาไทยเก่งหายากมาก อีกทั้งภาษาฮินดีในปัจจุบันโดนภาษาอังกฤษทับไปหมดแล้ว คำศัพท์สันสกฤตที่ใช้ในภาษาไทยส่วนมากจะกลายเป็นภาษาอังกฤษแทนในภาษาฮินดีอีกด้วย

    • @gimpotter4886
      @gimpotter4886 ปีที่แล้ว

      เก่งมากค่ะ😮

  • @santajitto2707
    @santajitto2707 ปีที่แล้ว +29

    คลิปนี้มีประโยชน์มาก พระสงฆ์ที่ท่านเคร่งมากๆ จะพยายามสวดออกเสียงแบบมคธ (อินเดียโบราณ) โดยเฉพาะการสวดปาฏิโมกข์ ซึ่งบางครั้งพยายามเน้นเสียงเป็นคำๆมากเกินไป จนฟังแล้วไม่เป็นธรรมชาติ แต่คลิปนี้สอนแล้วได้หลักการออกเสียงซึ่งดูเป็นธรรมชาติมาก เป็นหลักที่เจ้าของภาษามาสอนเอง ซึ่งไม่เคยมีมาก่อน ถ้าท่านใดได้มาดูคงได้ประโยชน์มาก ขอบคุณและเป็นกำลังใจให้ทำคลิปอย่างนี้ออกมาเรื่อยๆ

    • @7651-x1t
      @7651-x1t ปีที่แล้ว +6

      ดีมากเลยครับ อาจารย์ สนฺธจิตโต ผมกำลังเรียนจะสวดปาติโมกข์ และผมคิดเหมือนท่านเลยครับ พระที่สวดปาติโมกข์แบบมคธ ท่านเน้นเสียงเกินไปในเสียง ณ หรือคำอื่นๆ ทำให้ดูแปลกไม่เป็นธรรมชาติ .... อาจเป็นเพราะสอนต่อๆกันมาโดยคนเรียนไม่เข้าใจคนสอนรุ่นเก่าๆอาจสอนเน้นเสียงเพื่อความเข้าใขในการออกเสียงเท่านั้น แต่คนเรียนเองก็ยกมาทั้งหมดในวิธีการเลยขาดความเป็นธรรมชาติ ยกตัวอย่างสมัยเรียนอักษรอังกฤษตัว H เฮดชู่ ขอบคุณคลิปนี้มากจริงๆ ขอบคุณท่านอาจารย์ที่มาเม้นท์ให้กำลังใจเจ้าของคลิป

  • @krislittle2352
    @krislittle2352 ปีที่แล้ว +17

    อาจารย์​เก่งมากๆ เลยค่ะ ภาษาสันสกฤตออกเสียงยากมากๆเลยค่ะ บรรพบุรุษไทยเลยตัดออกหมด ออกเสียงเดียวกันเลย เยี่ยมมากเลยค่ะ ไม่งั้นลูกหลานต้องพูดไม่ชัดกันหมดแน่ๆ 😅

  • @bellebloodmoon
    @bellebloodmoon ปีที่แล้ว +40

    นี่คือสิ่งที่ต้องการมานานมากกก ตอนเรียน ม.ปลาย ก็มีสอนแบ่งอักษรแบบนี้ค่ะ เรียนตามตารางนี้ เป็น วรรค ต่างๆแบบนี้ (และมีเขียนอธิบาย) แต่เรียนแล้วก็ได้แค่รู้ว่าดั้งเดิมเค้าแบ่งแบบนี้ ไม่รู้ว่าออกเสียงยังไงค่ะ

    • @wittisch3114
      @wittisch3114 ปีที่แล้ว +1

      ก็คือ ตัวสะกดตัวตามสักอย่าง 55555 ที่ครูภาษาไทยสอนแบบไทย ๆ 5555 วรรคตะเล็กกับจะใหญ่นี่บอกว่าเหมือนกัน 55555

  • @metaxsea
    @metaxsea ปีที่แล้ว +38

    ภาษาไท มีเมโลดี้แบบจีน แต่ดันรับรูปแบบการเขียนของ อินเดีย มันเลย ออกมา ผสมกันเช่นนี้แล

    • @dontreekhrutdilakanan8548
      @dontreekhrutdilakanan8548 ปีที่แล้ว

      แสดงว่าเสียงภาษาไทยน่าจะเจ๊กปนแขกมากกว่าเจ๊กปนลาว

  • @meefamily5141
    @meefamily5141 ปีที่แล้ว +15

    โอโห ทักษะการออกเสียงดั้งเดิมคือ ยากมากเลย เสียงสั่นควบในคอดูยากสุดล่ะ แต่การจัดหมวดหมู่ภาษาไทยของอาจารย์ดูแล้วง่ายดี ดูเป็น system สากล เข้าใจที่มาที่ไปได้ เยี่ยมๆ😊😊😊

  • @7651-x1t
    @7651-x1t ปีที่แล้ว +37

    ขอบคุณมากเลยครับ
    ผมว่าต้องสอนสวดปาติโมกข์ในภาษา มคธ แบบเจ้าของภาษาแล้วละครับ ผมเชื่อว่าต้องมีพระเข้ามาชมคลิปทั้งประเทศแน่ เพราะยังไม่เคยมีคลิปเจ้าของภาษา สอนสวดปาติโมกข์เลยครับ ถ้าทำคลิปจะเป็นคนแรกคลิปเดียวคลิปแรก รับรองว่าพระต้องดูมาก และต้องมาเปิดฟังตลอด เพราะปาติโมกต้องฝึกหลายเดือนหรือาจจะเป็นปี และต้องมาเปิดฟังตลอดครับ
    ขอบคุณครับเป็นประโยชน์กับพระพุทธศาสนามากๆครับ ขอให้ช่องนี้เจริญรุ่งเรืองตลอดไปครับ สาธุครับ

    • @LoveThai_Siam
      @LoveThai_Siam ปีที่แล้ว +1

      น่าสนใจครับ และอยากให้สอนวิธีบรรพชาอุปสมบทแบบเอสาหังด้วยครับ

    • @kkzadq
      @kkzadq ปีที่แล้ว +2

      ไม่เห็นด้วย สำหรับผมแล้ว คิดว่าพุทธแบบไทยๆ น่าจะสวดแบบคำไทยไปเลยไม่ต้องสวดภาษาสันสกฤต มันจะได้เจ้าใจความหมายบทสวดได้ทันที ,การท่องการสวดแบบรู้ความหมายจะได้ผลบุญมากขึ้นด้วย

    • @korokoro9996
      @korokoro9996 ปีที่แล้ว

      สนใจเหมือนกันครับ

    • @korokoro9996
      @korokoro9996 ปีที่แล้ว

      @@kkzadq ไม่ได้ครับพระพุทธเจ้าไม่อนุญาติให้ทำ(สำหรับภิกษุเท่านั้น เป็นอาบัติด้วย) หากจะทำต้องสวดทั้งแบบดั้งเดิมและแบบภาษาถิ่น

    • @satando1234
      @satando1234 ปีที่แล้ว

      ​@@korokoro9996งง เอามาจากไหน อยู่ในพระไตรปิฎกฉบับไหนที่ว่าอาบัติ
      การสวดแบบมคธคือการอนุรักษ์ภาษาเดิม ส่วนใหญ่พระป่าจะสวดมคธอยู่แล้ว ถึงจะไม่ชัด 100% ก็เถอะ (เพราะฝึกยาก)
      แต่ไม่ได้หมายความว่าพระสวดมคธไม่ได้แล้วจะอาบัติ ถ้างั้นสวดแปลก็อาบัติอ่ะสิ งั้นพระทั่วโลกที่ไม่ใช่พระจากลังกาก็อาบัติหมดสิ

  • @bpin5191
    @bpin5191 ปีที่แล้ว +14

    น้อยมากที่ใครจะมาอธิบายแบบนี้ ในโรงเรียนยังไม่สอนแบบนี้เลย เป็นประโยชน์และขอขอบคุณมากจริง ๆ ค่ะ

    • @iskomaxmin
      @iskomaxmin ปีที่แล้ว +1

      ครูยังออกเสียงไม่ได้เลย

    • @happylucky5076
      @happylucky5076 2 หลายเดือนก่อน

      ก็เขาใช้ภาษาไทย ไม่ได้ใช้ภาษาสันสกฤต

  • @bhongssanit9518
    @bhongssanit9518 ปีที่แล้ว +8

    เก่งมากเลยครับ ช่วยให้เข้าใจอะไรต่าง ๆ มากขึ้น ในความเห็นส่วนตัวก็คือ ผมคิดว่าคนไทยคงไม่ได้ตั้งใจจะใช้ภาษาสันสกฤตตรง ๆ แต่น่าจะเป็นการยืมคำมาใช้แล้วดัดแปลงให้เป็นไทยมากกว่า เพราะขาดคำไทยที่กระชับให้เอามาใช้ได้ คือถ้าใช้คำไทยล้วน ๆ ก็จะยืดยาด ก็เลยหยิบยืม บาลี-สันสกฤตมาบัญญัติศัพท์ใหม่ แต่แปลงให้เป็นไทย เหมือนภาษาอังกฤษที่หยิบยืมละตินมาใช้ แต่ก็ไม่ได้ออกเสียงอย่างเดิม อย่างไรก็ตาม สิ่งเหล่านี้ก็เป็นเรื่องน่ารู้ที่สนุกนะครับ และทำให้รู้สึกใกล้ชิดกับเจ้าของภาษาเดิมมากขึ้น

  • @artitssnsk4399
    @artitssnsk4399 ปีที่แล้ว +14

    ผมออกเสียงตามได้หมดเลย555
    แต่มาจากอิสานใต้ไม่ได้มาจากอินเดีย
    สงสัยมานานแล้วสมัยท่องบาลี
    ว่าอักษรเหล่านี้ควรออกเสียงอย่างไร

  • @BenderT3D7328
    @BenderT3D7328 ปีที่แล้ว +2

    ผมเคยสงสัยว่า อักษรเสียงซ้ำ มีทำไม ในอักษรไทย เพื่อนคนนึงเคยบอกว่า มันเคยออกเสียงต่างกัน แต่มันออกเสียงยากและออกเสียงลดทอนลงคนไทยยังเข้าใจ เสียงนั้นๆ เลยไม่ถูกใช้รึเปล่า

  • @kookkairuthaikan
    @kookkairuthaikan ปีที่แล้ว +8

    อยากรู้มาตั้งนานแล้ว ว่าภาษาสันสกฤษที่ไทยยืมมา จริงๆออกเสียงยังไง แต่ก็หาคนสอนไม่ได้เพราะไม่มีใครรู้จริงๆ ขอบคุณมากๆ

  • @loopeesa1823
    @loopeesa1823 ปีที่แล้ว +4

    ในคลิปเดียวผนวกทั้งภาษา ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมไว้ด้วยกัน ดูแล้วได้เปิดโลกมากเลยครับ🤯🤯🤯

  • @poohandim
    @poohandim ปีที่แล้ว +8

    เข้าใจทันทีเลยครับว่าอักษรสูง กลาง ต่ำในภาษาไทยมีที่มาอย่างไร ขอบคุณมาก ๆ เลยครับสำหรับความรู้ใหม่

  • @jarurotetippayachai8220
    @jarurotetippayachai8220 ปีที่แล้ว +7

    18:28 จัดหมวดหมูแบบนี้นึกถึงตารางธาตุในวิชาเคมีเลย มันทำให้จดจำคุณสมบัติในแต่ละตัวได้ง่ายกว่า ในคลิปนี้ทำให้นึกถึงช่องรายการ Sounds American ที่แสดงภาพตัดขวางในช่องลมการออกเสียง ทำได้ดีมากครับ

  • @BirmDindaeng
    @BirmDindaeng ปีที่แล้ว +10

    เป็นความรู้ที่มีคุณูปการต่อภาษาไทยมาก ยากที่จะหาผู้มีความรู้แบบนี้ และเชื่อว่าคนไทยเกือบทั้งหมดไม่รู้ว่าทำไมภาษาไทยจึงมีตะวอักษรออกเสียงซ้ำกันมากขนาดนี้

    • @KTSam
      @KTSam ปีที่แล้ว

      รู้ครับ​ คุณคงเรียนจากโรงเรียนระดับคุณภาพไม่ดี​ ทำไมผมถึงได้เรียน​ ถ้าคุณรู้ว่าระดับโรงเรียน​ชั้นนำไทยไม่ว่าจะอยู่กรุงเทพ​ หรืิอโรงเรียน​ประจำจังหวัด​ คุณอาจแปลกใจว่าทำไมคุณถึงไม่เรียนที่ห่วยๆ​ ขี้เกียจ​เรียนก็ต้องรับผล​

    • @BirmDindaeng
      @BirmDindaeng ปีที่แล้ว +1

      @@KTSam ขอชื่นชมด้วยถ้าคุณมีความรู้เรื่องนี้ แต่คุณแน่ใจเหรอว่าคนส่วนใหญ่รู้ ผมว่าผมเขียนชัดเจนว่าคนส่วนใหญ่ไม่รู้ ถ้ารู้ก็แบ่งปันสิครับ ไม่ควรเหยียดหยามผู้อื่น

    • @kominbunsri2278
      @kominbunsri2278 ปีที่แล้ว +3

      ใช่แล้วครับ ความจริงมันไม่ได้ซ้ำ พยัญชนะมันมีเสียงครบ แต่คนไทยนั้นแหละออกเสียงเพี้ยนเป็นสียงเดียวกัน ซึ้งเข้าใจได้เพราะการเรียนภาษาไทยเข้าไม่สอนการออกเสียงตามวรรค แบบที่ควรทำ

    • @เด็กเดินดิน-ค6ฑ
      @เด็กเดินดิน-ค6ฑ ปีที่แล้ว

      ผมคนนึงแหละที่สงสัยมาตลอดว่า ออกเสียงเหมือนกันทำไมรูปไม่เหมือนกัน ก็รู้แบบงูๆปลาๆว่าเอาแบบมาจากอินเดียบ้าง เขมรบ้าง ก็มารู้ตอนนี้นี่เองว่า ที่จริงออกเสียงไม่เหมือนกัน แต่เราใช้แแบบของเราจนเสียงมันกลายเป็นเสียงเดียวกัน

  • @Noncrazy28
    @Noncrazy28 ปีที่แล้ว +13

    - คิดว่าที่เวลาคนอินเดียพูดอังกฤษแล้วสำเนียงแปลกๆ เพราะวรรคฏะนี้แน่เลย 555555
    - คนไทยเรียก วรรคกะ วรรคจะ วรรคฏะ วรรคตะ วรรคปะ วรรค3กับ4 เสียงเหมือนกันเด๊ะ 😂
    - amazing มากที่อักษรสูงกลางต่ำแบ่งตามแนวตั้งของการแบ่งตามวรรคได้ คนคิดภาษาเราเก่งนะเนี่ย อยากรู้เลยว่ามันเกิดจากอะไรครับ ต้องลองไปหาอ่านดูละ หรือมันจะบังเอิญกันนะ

    • @film-gq1wg
      @film-gq1wg ปีที่แล้ว +8

      เพราะว่าเสียงเดิมมันก้อง ทำให้หลัก 3,4,5 เป็นอักษรต่ำ เพราะเสียงก้องทำให้เสียงต่ำ ส่วนหลัก 2 มีการพ่นลมออกมาทำให้เสียงสูงจึงเรียก อักษรสูง เทียบ ห
      หลักแรกก็เรียกอักษรกลาง เพราะออกปกติ แต่นี้เป็นจริงเฉพาะสำเนียงสุโขทัยเดิม
      จนถึงอยุธยาก็เกิดการเลื่อนเสียง จากอักษรสูงเสียงสูงเป็นเสียงต่ำ จากอักษรต่ำเสียงต่ำเป็นเสียงสูง แล้วพอชาวอยุธยาได้ศึกษาภาษาของชาวสุโขทัยมา ก็ดัดเสียงอักษรสูงที่ไม่มีวรรณยุกต์กำกับ กลายเป็นเสียงจัตวา (อันนี้ได้จาก Stuart Jay Raj มานะครับ)

    • @Noncrazy28
      @Noncrazy28 ปีที่แล้ว

      @@film-gq1wg ว้าว ขอบคุณมากเลยครับ

    • @iskomaxmin
      @iskomaxmin หลายเดือนก่อน

      55555 เห็นด้วย วรรคฏะ นี่แหละ ทำให้ภาษาอังกฤษสำเนียงอินเดียเป็นเอกลักษณ์

  • @aronel2244
    @aronel2244 ปีที่แล้ว +7

    ญ ไทยเหนือ กะลาว ยังออกขึ้นนาสิกในวรรค จ อยู่ ไทยกลางออกเป็น /ย/
    ส่วน ฃฅ เสียงนี้หายไปแล้วครับ กลายเป็น /ค/ ดูคลิปนี้เลยเพิ่งรู้ว่า วรรค ฏ
    เป็นเสียงที่มีเฉพาะคนอินเดียทำได้ เวลาออกเสียงคือดันลิ้นติดกลางเพดาน
    ปากฟังยากเพราะคล้าย วรรค ด ที่ลิ้นแตะเพดานส่วนหน้า

    • @samomanawat
      @samomanawat ปีที่แล้ว +3

      คนเหนือออกเสียง ข,ค เป็น ฃ,ฅ หมดครับ

  • @pattrapon627
    @pattrapon627 ปีที่แล้ว +13

    ในภาษา​ภาษาลาวมีเสียง​ ญ​ นะครับ
    ຍ.ຍຸງ(หางสั้น)​ = ญ
    ຢ.ຢາ(หางยาว)​ = ย
    คนลาว, คนอีสาน​ ออกเสียงได้สบาย

    • @kominbunsri2278
      @kominbunsri2278 ปีที่แล้ว +3

      น่าเสียดายมากที่ภาษาลาวยุคใหม่เขาตัดพยัญชนะเสียงบาลีกับเสียงสันสกฤตออกไปแล้ว ทั้งที่อดีตก่อนจะเป็นคอมมิวนิสต์อักษรลาวก็มีเสียงครบนะ

    • @phetindra8216
      @phetindra8216 ปีที่แล้ว +1

      @@kominbunsri2278 ພາສາລາວບໍ່ມີສຽງບາລີຫລືສັນສະກຣິດໃຊ້ດັ່ງນັ້ນຈຶ່ງຕັດອອກຫມົດ ອັກສອນລາວທີ່ໃຊ້ຢູ່ດຽວນີ້ບໍ່ຂາດຫຍັງ ມີຄົບຫມົດ.

    • @danjim747
      @danjim747 ปีที่แล้ว

      อักษรลาวที่ไม่ใช้แล้วมี 16 ตัว ซึ่งเป็นการถอดเสียง แต่ก่อนมีอักษรเทียบไทยทุกตัวจร้า

    • @TonenAdkas
      @TonenAdkas ปีที่แล้ว

      อักษรลาวได้ไปจากสมัยสุโขทัยครับเมื่อก่อนก็บ้านเมืองเดียวกันพอแยกกันไปเขายังใช้เหมือนสมัยก่อนอยู่

  • @somsakchannel2641
    @somsakchannel2641 ปีที่แล้ว +4

    ภาษาไทยมีหลาย ลำเสียง เวลาเรียนในแต่ละพื้นที่ เลยมีการสอนแบบนำเนียงตัวเอง ตอนเด็กครู ก็เคยสอนผันเสียง ของ ความแตกต่างของเสียงทุกตัวอีกสอน แต่พอดีผมคนอีสานมันก็เลยติดสำเนียงลาว เลยอ่านไทยด้วยสำเนียงลาว เพราะภาษาไทยแท้จะเป็นคำโดด และคำตายเยอะ ถ้าเป็นสำเนียงอยุธยา โบราณ จะอ่าน สันสฤต บาลีแบบอินเดียได้ จะสังเกตุ แต่ละภาคจะมีสำเนียงตัวเอง อักษรไทยเลยจำเป็นต้องตัดเสียงคล้ายกันมาเป็นเสียงเดียวกัน เมื่อก่อน ษ ศ ส ภาษาไทยจะออกเสียงต่างกัน แต่พอคนทุกภาคมารวมอยู่ที่ กรุงเทพ มันก็เลยรวมกันหมด

    • @KTSam
      @KTSam ปีที่แล้ว

      ใช่ครับ​ สมัยก่อนคนอ่านออกเสียงแต่ละแบบได้หมด​ แต่เพราะคุณภาพ​ครูตามโรงเรียน​ที่คุณภาพต่ำขี้เกียจ​สอน​ ส่วนมากคนสยามดั้งเดิม​ ออกเสียงพวกนี้ได้หมด​ คนภาคกลางและคนที่ใช้ภาษากลางสมัยก่อนจะพูดได้​ ทุกนี้ขนาดเสียง​ ืร​ ยังออกกันไม่ได้​ กลายเป็นขี้เกียจ​เหมือนภาษาลาวไป​

  • @น.ธ-ท1ฉ
    @น.ธ-ท1ฉ ปีที่แล้ว +5

    สมใจสักที รอเจ้าของภาษาตัวจริงมาสอนนานแล้ว

  • @moji157
    @moji157 ปีที่แล้ว +2

    ขอบคุณครับ รอให้ทำคลิปอธิบายแบบนี้อยู่เลยครับ
    เรื่องสำเนียงไทยนี่ไม่มีปัญหาเลยครับ ฟังสบายมากเลย

  • @songphil1376
    @songphil1376 ปีที่แล้ว +5

    Thank you sooooo much. By understanding the original sounds of the alphabet, I could see that I can use my Thai characters to jot down the correct pronunciations of other Indo-European languages. Very helpful.

  • @vetiarvind
    @vetiarvind ปีที่แล้ว +17

    Your pronunciation is very good. Your students are lucky.
    The only correction I want to make is your pronunciation of Tamil. While you say it better than most North Indians, Native tamils use another sound like "ehra", written in English incorrectly as "zh"

    • @bhainaithai
      @bhainaithai  ปีที่แล้ว +4

      Thank you!! This was pronunciation of Devanagari ळ ḷa used in North Indian languages perhaps Tamil zh is pronounced differently from this. I have no idea, I don’t speak any South Indian language. maybe the ळ and zh are quite close but not the same. Thanks for your input!

    • @JnirBlanco
      @JnirBlanco ปีที่แล้ว

      พูดไทยเก่งมากค่ะ

  • @whywhywhythai
    @whywhywhythai ปีที่แล้ว +3

    เป็นความรู้แห่งชาติเลยครับ ขอบคุณมากมาก🙏🙏

  • @skyhistory6602
    @skyhistory6602 ปีที่แล้ว +5

    1:04 มันไม่ได้อยู่ตรงกลางแบบนั้นครับ ตาม phonetics แล้ว เออะ > /ʔɤʔ/ เออ > /ʔɤː/ส่วน अ > /ə/ vowel quality ไม่ตรงกัน และเสียง /ə/ ไม่ใช่ allophone ของเสียง /ɤ/ ในภาษาไทยด้วย จะเห็นว่าภาษาสันสฤตไม่มีเสียง /ʔ/ ซึ่งหากผมพูด /ʔɤ/ คนไทยจะเข้าใจเป็นเสียง เออ กรณีนี้เกิดขึ้นกับ sound perception ของคนไทยในภาษาญี่ปุ่นด้วย ที่เสียงสั้นในภาษาญี่ปุ่น ถูกรับรู้เป็นเสียงยาวภาษาไทย (ยกเว้นพยางค์สุดท้าย และเสียง [i] และ [u] ในทุกตำแหน่ง) เนื่องจากการการที่จะรับรู้ว่าเป็นเสียงสั้นในภาษาไทย จะอยู่ในกรณีที่เป็นเสียงสั้น และมี coda ด้วย ซึ่ง /ʔɤʔ/ มี coda แต่ /ʔɤ/ ไม่มี coda แม้จะเป็นเสียงสั้นตาม phonetics ก็จริง แต่ก็ไม่ได้เป็นเสียงสั้นในภาษาไทยด้วย เพราะภาษาไทยไม่มีเสียงนี้ หรืออย่างเสียง /ʔɤːʔ/ ก็ไม่มีในภาษาไทยเช่นเดียวกัน
    ผมสามารถแยกหน่วยเสียง ย [j], ญ [ɲ] และ ง [ŋ] ได้ แต่ว่าผมพูดไปแล้วเพื่อนแยกความแตกต่างระหว่าง /ɲ/ และ /ŋ/ ไม่ได้ เวลาผมพูดกับเพื่อน ญ จึง collapsed กับ ง และทำให้เพื่อนเข้าใจว่าผมพูด /j/ เป็น /ŋ/ ในตัวอักษร ญ

  • @pedpadpod
    @pedpadpod ปีที่แล้ว +6

    ออกตามแล้วเจ็บคอมากเลยค่ะ 🥺

  • @worapopsriwan5100
    @worapopsriwan5100 ปีที่แล้ว +2

    สุดยอดครับ ขอชื่นชม เป็นประโยชน์มากๆครับสำหรับคนเรียนฐานกรณ์บาลี

  • @KWStudio222
    @KWStudio222 3 หลายเดือนก่อน

    ชอบมากๆ ครับ สุดยอดความรู้ที่ชัดเจน หายข้อข้องใจเลยครับ

  • @rushadol
    @rushadol ปีที่แล้ว +1

    I really love this... but I love you more, for loving my country and my language...

  • @chanpo100
    @chanpo100 4 หลายเดือนก่อน

    ได้รับความรู้กระจ่างมากครับ เพราะเคยสงสัยเรื่องนี้มานานแล้ว

  • @terdphanpongcharoenchai1166
    @terdphanpongcharoenchai1166 ปีที่แล้ว +14

    ภาษาอังกฤษจะเน้นเสียงฟุดฟุด
    ภาษาจีนจะเน้นเสียงโช้งเช้ง
    ภาษาอินเดียจะเน้นเสียงรอเรือ
    ภาษาไทยจะเน้นเสียงที่ชัดเจนแบบสบายๆ

  • @mwnaris181
    @mwnaris181 ปีที่แล้ว +3

    เป็นประโยชน์มากจริงๆครับ

  • @kookkairuthaikan
    @kookkairuthaikan ปีที่แล้ว +1

    สอนการเขียนอักษรเทวนาครีแบบครบทุกตัว คลิปหน้าเลยนะคะ ขอบคุณล่วงหน้าค่ะ ครูBhai

  • @เกรียงไกรเฉียบแหลม

    ขอบคุณครับกับสาระที่หน้ารู้

  • @sathitwaratanarut4812
    @sathitwaratanarut4812 3 หลายเดือนก่อน

    สอนได้ยอดเยี่ยมจริงๆครับ ชอบมาก

  • @suwanneeyudhanusorn2983
    @suwanneeyudhanusorn2983 ปีที่แล้ว +1

    ขอบคุณมากนะคะ ติดตามมาจาก tiktok นี่เรียนภาษาฮินดีมาร่วม 100 ชม แล้ว ยังพูดไม่ได้สำเนียงอินเดียเลยค่ะ มาฝึกต่อไปค่ะ

  • @tjchang8805
    @tjchang8805 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณ​มากเลยครับ​ ได้เข้าใจรากเหง้าภาษาไทย​.. แต่ในชีวิตนี้​ ไม่น่าจะสามารถออกเสียงได้ตามภาษาเดิมได้เลยครับ

  • @karaneebutrameeboon3579
    @karaneebutrameeboon3579 ปีที่แล้ว +2

    ชอบครับ มีประโยชน์มากจริง ๆ ครับ ขอบคุณนะครับ

  • @eroseris
    @eroseris 2 หลายเดือนก่อน

    สมัยเรีนน จะท่องตารางนี้เป็น กะ ขะ คะ ฆะ งะ ค่ะ เเล้วก็พอรู้ว่าดั้งเดิมมันต่างกัน เเต่เพิ่งได้มีโอกาสได้ฟังความต่างจริงๆวันนี้ ขอบคุณมากค่ะ

  • @praeseub3806
    @praeseub3806 ปีที่แล้ว

    ชอบจังเสียงภาษาสันสกฤตดูขลังมาก ชอบฟังแต่ไม่คิดจะออกเสียงตามได้เพราะมันคงเหนื่อยเกินไปที่จะตามได้

  • @skyhistory6602
    @skyhistory6602 ปีที่แล้ว +4

    เสียง retroflex ไม่ได้ปรากฏเพียงแค่ในภาษาในกลุ่ม indo-aryan และ dravidian เท่านั้น (ซึ่งทั้งสองกลุ่มภาษานี้อยู่ในอินเดีย) แต่เสียง retroflex กว่า 90% ของภาษาทั้วโลก พบในภาษากลุ่มนี้ (คือในภาษาทั้งหมดที่มีเสีย retroflex ภาษาจำนวน 90% ที่มีเสียง retroflex อยู่ใน 2 กลุ่มนี้) ภาษาอื่น ๆ ที่มีเสียง retroflex ก็เช่น รัสเซียที่มีเสียง /ʂ/ และ /ʐ/ หรือในกลุ่ม southern bantu language ก็มีเสียง retroflex เหมือนกัน

  • @GotAnattaW
    @GotAnattaW ปีที่แล้ว +2

    ได้ความรู้มากเลยครับ ขอบคุณมากครับ 🙏🏻

  • @brownyapplication
    @brownyapplication ปีที่แล้ว +1

    ผมเคยคิดว่า ตัว ส ศ ษ มีไว้ทำไม ในเมื่อมันออกเสียงเหมือนกัน เพิ่งรู้นี่แหละครับว่าการออกเสียงจากภาษาสันสกฤตมันไม่เหมือนกัน เพื่อ ให้รู้ที่มาของคำศัพท์
    แถมเพิ่งรู้ด้วยว่าคำที่เปลี่ยนเป็นภาษาอังกฤษ ที่มีตัว h ตาม เพื่อให้รู้ว่ามาจากอักษรที่ออกเสียงแบบไหน

  • @suratsawadeepramsakstian5450
    @suratsawadeepramsakstian5450 2 หลายเดือนก่อน

    เยี่ยมมากๆค่ะ

  • @Vajarayana
    @Vajarayana ปีที่แล้ว +5

    5:10 ง๊าาา..เป็นภาษาอีสาน แปลว่า หั้นแน่ะ ในภาษากลาง
    7:30 ญ๊าา..เป็นภาษาอีสาน แปลาว่า นี่แน่ะ ในภาษากลาง ซึ่งเป็นการออกเสียงควบระหว่าง ง งู กับ ย ยักษ์ เช่น ไอ๊ญ๊า แปลว่า ไอหย๋า เป็นต้น

    • @M.AND.M.S
      @M.AND.M.S ปีที่แล้ว +1

      จะใส่ไม่จัตวาตรงคำว่า"ไอ้หยา"ทำไม เห็นหลายคนเขียนแบบนี้ตลอด ไหน๋,ไผ๋,ไหม๋,ไข๋,ใส๋ (เพื่ออะไร)!!!

    • @Vajarayana
      @Vajarayana ปีที่แล้ว

      @@M.AND.M.S เพื่อทำให้เด่นขึ้น (เครื่องประดับ)

  • @nutketraccoon9116
    @nutketraccoon9116 ปีที่แล้ว +1

    ว้าววรู้ไปถึงภาษาล้านนาด้วย อันที่จริงระบบการเรียนอักขระล้านนาอิงตามนี้เป๊ะเลยครับ แต่เป็น เสียง "อะ" เช่น ก๋ะ ขะ ก๊ะ ฆะ งะ ครับ ค ช พ ออกเสียงคล้ายอินเดียนี่เอง

  • @อ้อยอิ่ง-ฏ2ว
    @อ้อยอิ่ง-ฏ2ว ปีที่แล้ว +2

    ชอบมากๆค่ะ สอนต่อไปนะคะ เรียนไปขำไป ออกเสียงไม่ได้บ้าง ได้บ้าง สนุกมากค่ะ

  • @sakdanakkham9001
    @sakdanakkham9001 ปีที่แล้ว +4

    เป็นไปไม่ด๊ายยยยย ภาษาไทยก็อปปี้มาจากภาษาเขมร ทำแบบนี้ได้ไง แล้วจะเคลมอะไร 5555

  • @veer66
    @veer66 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ จะพยายามฟังซ้ำและฝึกบ่อย ๆ

  • @WisuttithapPraamporn
    @WisuttithapPraamporn ปีที่แล้ว

    ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @LazyPig2o12
    @LazyPig2o12 ปีที่แล้ว +5

    ฟังแล้วเข้าใจเลยว่าทำไมบรรพบุรุษถึงได้ตัดเสียงบางเสียงไป ตัดไปแล้วมันง่ายกับชีวิตมาก 5555

  • @HiZirod
    @HiZirod ปีที่แล้ว

    เจ๋งมากครับ​ทำให้เข้าใจภาษาไทยมากขึ้นครับ

  • @NIPOON_nhoon_THOMPAT
    @NIPOON_nhoon_THOMPAT ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีค่ะ
    ไม่ทราบว่าพวกคำควบกล้ำไม่แท้ เช่น ทรง ทราบ ทราม ทราย สร้าง ฯลฯ เป็นคำที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตไหมคะ ถ้าเป็นจะมีวิธีออกเสียงอย่างไรคะ ขอบคุณค่ะ🙏

  • @พระมหาสมภพสมฺภโว
    @พระมหาสมภพสมฺภโว หลายเดือนก่อน

    ทำคลิปได้เข้าใจดีมากครับ แต่ในเรื่องที่ว่าไม่มีสระ āi นั้น เห็นว่าในเทวนาครี มีรูป สระ āi ทั้งรูปลอย ऐ และรูปติดเข้ากับพยัญชนะ เช่น वैशाख (vāiśākha ไวศาขะ บาลีว่า วิสาขะ แปลว่าเดือนสาม) คำกล่าวว่าต้องออกเสียง ā+i ก็ไม่ผิดในมุมของการออกเสียงเพราะเป็นสระประสม แต่รูปตัวเขียนที่แยกออกมาทำให้อนุมาได้ว่าเป็นเสียงที่รวบเข้ามาเป็นเสียงเดียวกันอย่างเห็นได้ชัด จึงนับว่่าเป็นอีกสระหนึ่ง หากไม่แยก แม้ว่าในการเขียนด้วยอักษรโรมันอาจจะเหมือนกันก็ตาม แต่เมื่อเขียนด้วยเทวนาครีจะเห็นชัด เพราะจะต้องเขียนรูปสระ 2 ตัวคือ वा (vā) และ इ (i) คำที่ยกตัวอย่างมาข้างต้นคือ वैशाख (vāiśākha) ก็จะกลายเป็น वाइशाख (vāiśākha) ไปเสียครับ

  • @1234telek
    @1234telek 4 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณครับ คลายปมวัยเด็กเกี่ยวกับ อักษรเลิกใช้

  • @rattapolbunlad1001
    @rattapolbunlad1001 ปีที่แล้ว

    นื่น่าจะเป็นสาเหตุที่คนไทยไม่สามารถออกเสียงภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง สำหรับคนทั่วไป เพราะคนไทยจะแปลงภาษาต่างประเทศง่ายๆให้คุ้นลิ้นของตัวเอง ถ้าเอาภาษาต่างประเทศมาใช้ ถ้าไม่แปลงรูปแบบให้อ่านง่าย ก็ใส่ลดรูปลดเสียงเข้าไป เพื่อให้อ่านง่าย ผมเห็นเพื่อนแถวสุรินทร์เขาใช้ภาษาเขมรหรือคนที่เรียนบาลี เขาจะพูดภาษาอังกฤษได้ดี

  • @ณาศิสชินวงศ์
    @ณาศิสชินวงศ์ ปีที่แล้ว +1

    ขออภัย เสียง ฬ กับ ษ ที่บอกว่าเป็นเสียง เรดโทรเฟลก(ขออภัยถ้าพิมผิด) คืออะไรเหรอครับ

    • @Alternater_film
      @Alternater_film 8 หลายเดือนก่อน

      เหมือนกับ วรรค ฏ คือ เสียงม้วนลิ้น หรือ ลิ้นไปแตะเพดานปาก

  • @blackfriday2217
    @blackfriday2217 ปีที่แล้ว

    คลิปดีมากเลยครับ ช่วยให้เข้าใจได้ดีมากเลยครับ ขอบคุณ​มากครับ

  • @ellesomeelse7343
    @ellesomeelse7343 ปีที่แล้ว

    ขอสอบถามได้ไหมคะ คำว่า ธี่หยด ออกเสียงแบบสันสกฤตยังไงคะ ?

  • @armourer84
    @armourer84 ปีที่แล้ว +17

    ขอติงครับ
    1) อย่างแรก ภาษาไทยรัตนโกสินทร์ ไม่มีเสียงสั่นครับ คือเดิมเคยมี ปัจจุบันหายไปหมดเลย
    ดังนั้นเสียง Z ไม่มีในภาษาไทย G และ J ไม่มีครับ เลยเพี้ยนครับ
    - จากเดิมเปลี่ยนรูป G เป็น ค. แต่ดันออกเสียง kh
    - จากเดิมเปลี่ยนรูป J เป็น ช. แต่ดันออกเสียง ch
    การอ่านคำที่รับมาจากบาลี-สันสกฤต เน้นถอดรูปเท่านั้นโดยไม่สนการถอดเสียง ความเพี้ยนจึงค่อนข้างเยอะครับ
    //////////////////////////
    2) เรื่อง ซ.โซ่ / ฝ.ฝา / ฟ.ฟัน / ฮ.นกฮูก ซึ่งเป็นอักษรไทยแท้
    ในระบบอักษรสูง-กลาง-ต่ำ
    อักษรสูง จะมีอักษรสูงที่คู่กับอักษรต่ำเสมอ เพื่อการผันเสียงทั้งในภาษาไทยรัตนโกสินทร์ ทั้งๆที่อักษรสูงกับต่ำตัวนั้น ดั้งเดิมออกเสียงไม่เหมือนกันเลยในระบบภาษาสันสกฤต-บาลี ถ้าถอดรูปจากอักษรเทวนาครี
    *ได้แก่
    ข - (ค+ฆ) = /kh/
    ฉ - (ช+ฌ) =/ch/
    (ฐ+ถ) - (ฑ+ฒ+ท+ธ) = /th/
    ผ - (พ+ภ) = /ph/
    ฝ - ฟ = /f/
    ห - ฮ = /h/
    (ศ+ษ+ส) - ห = /s/
    หรือมีการเอาตัวอักษรต่ำที่ควรจะมีเสียงอื่นในแถวที่3 และแถวที่4 มาเข้าคู่กับแถวที่2 ซึ่งเป็นอักษรสูงเฉยๆ ไม่สนการออกเสียงดั้งเดิมสักนิด เรียกอักษรต่ำพวกนี้ว่า "อักษรต่ำคู่"
    ส่วนแถวที่5 เป็นอักษรต่ำเหมือนแถวที่3และ4 แต่ไม่มีอักษรสูงที่เข้าคู่กับอักษรสูง เรียกว่า "อักษรต่ำเดี่ยว" ใช้ระบบ อักษร ห.นำ มาแทนที่
    *ได้แก่
    หง - ง = /ng/
    (หญ+หย) - (ญ+ย) = /y/
    (หณ+หน) - (ณ+น) = /n/
    หม - ม = /m/
    หร - ร = /r/
    (หล-หฬ) - (ล+ฬ) = /L/
    -----------
    *ตัวอย่างการผัน
    คา - ข่า - (ข้า+ค่า) - ค้า - ขา
    ฮา - ห่า - (ห้า+ฮ่า) - ฮ้า - หา
    มาย - หม่าย - (ม่าย-หม้าย) - ม้าย - หมาย
    //////////////////////////
    อนึ่ง ภาษาไทยไม่มีเสียง /sh/ จึงออกเสียง ศ และ ษ แบบภาษาบาลีสันสกฤตไม่ได้ จึงออกเสียง /s/ แบบ ส. ทั้งหมด รวมไปถึงการแยกแยะเสียง sh ในภาษาอังกฤษ ที่คนไทยสับสนกับ ch อย่างมาก

    • @skyhistory6602
      @skyhistory6602 ปีที่แล้ว +1

      ยังมีมั่ว ๆ หลาย ๆ จุด เลยนะครับ ผมขอพูดจุดหนึ่งก่อนแล้วกัน คือ ภาษาไทยไม่ได้นำระบบ ห นำเข้ามาใหม่ เมื่อเกิดอักษร 3 หมู่ครับ แต่มันมีอยู่แล้ว ก่อนการเปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ และการเกิดอักษร 3 หมุ่ครับ โดย การนำ ห ไปนำหน้าอักษร ในกลุ่ม nasal หรือ sonorant ได้แก่ ม น ญ ง ล ร ย ว เปลี่ยนเสียงพยัญชนะจากเสียงห้องเป็นเสียงไม่ก้อง โดยเปลี่ยนจาก [m] [n] [ɲ] [ŋ] [l] [r] [j] [w] เป็น [m̥] [n̥] [ɲ̊] [ŋ̊] [l̥] [r̥] [j̊] [w̥] ตามลำดับ ก่อนที่เสียง 2 ชุดนี้จะรวมกันเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงเสียงวรรณยุกต์ พร้อมกับการเกิดอักษร 3 หมู่ครับ

    • @armourer84
      @armourer84 ปีที่แล้ว +1

      @¡Estupendo!
      อักษรไทย เอาใช้ในภาษาไทย ดั้งเดิมเป็นอะไรก็เรื่องหนึ่ง แต่คนไทยที่ใช้จริงๆในปัจจุบันก็เรื่องหนึ่ง
      มาคอมเมนต์เหยียดกันแบบนี้ไม่น่ารักเลยครับ
      .
      ภาษาไทยเป็นภาษาตระกูล Tai-kadai รูปแบบการออกเสียงพื้นฐานไม่ใช้เสียงสั่นอยู่แล้ว แต่เน้นไปทาง Tonal Language และมันคนละตระกูลของภาษาสันสกฤตที่เป็นตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ซึ่งพบเสียงสั่นได้ทั่วไป
      .
      เรื่องภาษาพูดที่ใช้กับตัวอักษรที่ใช้ก็เรื่องหนึ่ง ชนชาติใดใช้ภาษาใด ตัวหนังสือใด ก็เรื่องของเขา ตัวอักษรไทยดัดแปลงตัวอักษรจาก Brahmi script แล้วเอามาใช้ในการ"พูด"ในภาษาไทย ภาษาไทยไม่มีเสียงสั่น เลยเอาตัวอักษรมีเสียงสั่นมาใช้แบบไม่สั่น แล้วมันผิดมากเหรอครับ

    • @skyhistory6602
      @skyhistory6602 ปีที่แล้ว +1

      @¡Estupendo! ​ @armourer84 จริง ๆ จะพูดว่าเสียงดั้งเดิมจะเป็นอะไรก็ช่างมันไม่ได้ครับ เพราะว่ามันมีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงเสียงในภาษา เช่นภาษาไทยมีการเปลี่ยนแปลงเสียงพยัญชนะเป็นกลุ่มครับ ได้แก่ บ /ʔb/ เป็น /b/ หรือ พ และ ภ /b/ เป็น /pʰ/ ตอนที่เราประดิษฐ์อักษรขึ้นมาเป็นครั้งแรก พ ยังคงออกเสียงว่า /b/ หรือ ท ยังคงออกเสียงว่า /d/ หรือ ค ยังคงออกเสียงว่า /g/ และอักษรที่ประดิษฐ์แทรกเข้ามาตามวรรต่าง ๆ เกิดขึ้นเพราะอักษรบรามีไม่มีอักษรรองรับเสียงที่เดิมภาษาไทยเยมี ได้แก่เสียง บ /ʔb/ ด /ʔd/ ฃ /x/ ฅ /ɣ/ ฝ /f/ ฟ /v/ ซ /z/ ซึ่งเสียงเหล่านี้เคยมีในภาษาไทยทั้งสิ้น แต่หายไปเนื่องจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงเสียง
      จริง ๆ เราไม่เรียกว่าเสียงสั่นนะครับ เราเรียกว่า เสียงก้อง (voiced sound) ตรงข้ามกับเสียงไม่ก้อง (voiceless sound)

    • @armourer84
      @armourer84 ปีที่แล้ว

      @@skyhistory6602 ขอบคุณที่ชี้แนะครับ

    • @armourer84
      @armourer84 ปีที่แล้ว

      @¡Estupendo!
      The comment I posted reflects what daily life we speak Thai. If you do not agree with me, please just tell which part I post is incorrect, so we can share and improve our knowleadge together not just ironical argument with hate.
      This comment is in English because I can feel how hate you have with our Thai language. Let's avoid communicating with Thai and use something else.

  • @nutthapolhotrakitya799
    @nutthapolhotrakitya799 ปีที่แล้ว

    นึกถึงวิชาภาษาศาสตร์ ชอบครับ ทำให้รู้หลักพื้นฐานครับ

  • @woodwork2410
    @woodwork2410 6 หลายเดือนก่อน +1

    คนเรียนบาลีมา ที่งงๆ กัน ว่าลงปัจจัยแล้วแปลงเป็นโน้นนี่นั่นจำแทบไม่ได้ ถ้าลองออกเสียงถูกก็จะ อออ... กันเลยละ

  • @sopanut33
    @sopanut33 ปีที่แล้ว

    ดีมากๆเลยครับ

  • @angcin
    @angcin ปีที่แล้ว +12

    เสียง ญ ปรากฏในภาษาเก่า
    ปัจจุบันตกค้างในสำเนียงถิ่นทุกภาครวมทั้งคำลาว
    มีแต่สำเนียงชนกลุ่มน้อยบางกอกที่ออก ญ ไม่เป็น

    • @BRMnukiz543
      @BRMnukiz543 ปีที่แล้ว +2

      Ñ

    • @M.AND.M.S
      @M.AND.M.S ปีที่แล้ว

      España=เอสปาญา✅ España=เอสปายา❌

  • @kompassorn9451
    @kompassorn9451 ปีที่แล้ว +1

    ดีใจที่ไทยไม่ออกเสียงตามต้นฉบับสันกฤต เลือกที่จะเอาไว้เฉพาะการเขียนให้สอดคล้องกับต้นฉบับเท่านั้น ไม่งั้นนักเรียนไทยคงจะสอบอ่านภาษาไทยตกกันเป็นแถว

  • @cojungblabla
    @cojungblabla ปีที่แล้ว

    คลิปดีมากเลยค่ะ ละเอียด มีรูปภาพประกอบดูง่ายดีค่ะ

  • @Garfield_Minecraft
    @Garfield_Minecraft ปีที่แล้ว +7

    4:05 ผมเคยอ่านคำว่า โคตร ว่า โค ตะ ระ
    แสดงว่าผมออกเสียงแบบดั้งเดิมสิ 5555

    • @kiloPhyll
      @kiloPhyll ปีที่แล้ว +3

      พอดีภาษาไทยอนุรักษ์ตัวออกเสียงไว้ คือ ต-ร ทำให้เหลือร่องรอยรากภาษา(จากอินเดีย) ถ้าเป็นภาษาลาวไปย่อรูป(simplified) เป็น "โคด" จะทำให้สืบรากศัพท์ยาก
      อันนี้คหสต.นะครับ 😊

  • @ekavuthkawila9636
    @ekavuthkawila9636 ปีที่แล้ว +3

    Northern Thai Lanna ทางเชียงใหม่และทางเหนือ ใช้ระบบเสียงที่ แบ่งช่องเช่นกัน..เรียกว่า "ตั๋วเมือง" แบบ "อีสานตั๋วธัม"..มีอิทธิพลจากอินเดียโบราณ.. ด้วย ขอบคุณ Bhai ที่แบ่งปันให้รู้มากๆ ครับ..🌏🌏🌏🌏🎈🎈🎈🎈

    • @benzvd
      @benzvd ปีที่แล้ว

      ลานนา ตัวอักษรแถบสาม ที่เคยเป็นเสียงก้องไม่พ่นลมในสันสฤต เช่น ค ช ท พ ก็ยังคงไม่พ่นลมอยู่ แต่เสียงไม่ก้องแล้ว คำว่า แท้ๆ เลยอ่านออกว่า แต้ๆ
      ภาษาเขมรก้เหมือนกัน

  • @peterto-im1515
    @peterto-im1515 ปีที่แล้ว

    ลึกซึ้งมาก

  • @Wikipedia_0067
    @Wikipedia_0067 ปีที่แล้ว

    ผมอยากเรียนรู้ภาษาฮินดีให้มากขึ้นอ่ะครับ
    ผมชอบมัน ภาษาที่ผมชอบที่สุด สอนต่อไปเรื่อยๆนะครับ

  • @jtjt4402
    @jtjt4402 ปีที่แล้ว

    ขอขอบพระคุณมากๆ

  • @halnine5738
    @halnine5738 ปีที่แล้ว +3

    ในคลิป short บอกว่าตัวสะกดของสันสกฤตใช้ได้ทุกตัว คลิปต่อไปอยากได้ยินครับ

    • @bhainaithai
      @bhainaithai  ปีที่แล้ว +6

      ภาษาฮินดีสะกดได้ทุกเสียงครับ ส่วนสันสกฤตตัวสะกดจะลงท้ายเสียง अ เออฺ เป็นส่วนใหญ่ เดี๋ยวรอดูคลิปถัดไปนะครับ😊

  • @sutheps8209
    @sutheps8209 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ วิเศษมาก

  • @RithyNy
    @RithyNy ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมากครับ ได้คำตอบทุกคำถามที่เคยถามในใจเกี่ยวกับเสียงพยัญชนะในภาษาสันสกฤตที่ค้างคาในใจมานานแสนนานเลยครับผม

  • @Luangpeetabtim
    @Luangpeetabtim ปีที่แล้ว

    จะทราบได้อย่างไรว่า ตัวไหนเป็นตัวสะกดของคำครับ

  • @ผู้ใหญ่มากับทุ่งหมาเมิน-บ1ฑ

    สุดยอดครับอาจารย์ ชอบๆ

  • @dhuddchongrak6516
    @dhuddchongrak6516 8 หลายเดือนก่อน

    ชอบมากเลย แต่งเป็นหนังสือขายได้ไหมครับ ผมสงสัยมานานแล้ว

  • @benzbkk4334
    @benzbkk4334 ปีที่แล้ว

    ดีมากเลยครับ ขอบคุณครับ

  • @corporalkang-in-chan7926
    @corporalkang-in-chan7926 ปีที่แล้ว

    แล้วอักษรทมิฬ สิงหล ปัญจาบ อยู่ในตระกูลไหนคับ

  • @plaiipannawat
    @plaiipannawat ปีที่แล้ว +1

    ยากจังครับ แต่มีประโยชน์มากครับ

  • @pintjai2343
    @pintjai2343 ปีที่แล้ว

    เหมือนฟังงานวิจัย ที่มีการวิเคราะห์ รวบรวมมา ขอบคุณที่ทำข้อมูลแบบนี้ให้เรียนรู้ รับทราบค่ะ เปิดโลกให้เรียนรู้ วัฒนธรรม ภาษา กับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียง

  • @panyawarapreedee351
    @panyawarapreedee351 ปีที่แล้ว

    คุณครูคนเก่งเลยครับ

  • @koatiummu206
    @koatiummu206 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณมาก ให้ประโยชน์กับคนที่อยากรู้การออกเสียงบาลีมากๆครับ แต่ผมมีข้อสงสัยว่า ในdiagram ตำแหน่งการออกเสียงของ จ วรรค กับ ฏ วรรค ดูเหมือนสลับกันกับของ IPS เลยไม่แน่ใจว่าผมเข้าใจผิดเองหรืออย่างไรช่วยอธิบายให้ด้วยครับ จะเป็นพระคุณมาก

  • @dangnoi44
    @dangnoi44 ปีที่แล้ว +2

    ศ ษ ส นี่ยากมากเลยค่ะ สำหรับคนเรียนฮินดี ง๊งง 55555 asaan nahi hai guruji 😅

  • @เพชรภูผา-บ8ฎ
    @เพชรภูผา-บ8ฎ ปีที่แล้ว

    รากศัพท์​ รากเสียง​ ภาษาไทยรักษารูป​ แต่ละเว้นเสียง​ เพราะเราใช้โทนเสึยงแทน​ จะได้ไม่ต้องจำการออกเสียงหลายๆรูปแบบ

  • @sanglkvn9305
    @sanglkvn9305 ปีที่แล้ว +2

    ภาษาไทยคล้ายของอินเดีย แต่ก็คล้ายของจีนด้วยในแง่ที่มีเสียงวรรณยุกต์ เพราะฉะนั้นภาษาไทยเป็นภาษาอินโดไชน่าตัวจริงในภาคพื้นเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ความเห็นส่วนตัวนะ 5555)

  • @nayyaniphak6999
    @nayyaniphak6999 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับ

  • @ครูไก่โต้งฉัตรชัยดอนโคตรจั-ฟ6ช

    ขอบคุณมากจ้า

  • @shikishikiomoinasai5375
    @shikishikiomoinasai5375 ปีที่แล้ว

    ในตำราบอกวิธีออกเสียงทั้งหมดแต่เราไม่เข้าใจ ต้องมาเห็นมาฟังของจริงแบบนี้แหละ

  • @CCSleep_
    @CCSleep_ ปีที่แล้ว +2

    รอมานานแล้ว!!!

  • @jookbang9667
    @jookbang9667 ปีที่แล้ว

    สุดยอดค่ะ

  • @kenobiCC
    @kenobiCC ปีที่แล้ว +2

    ผมว่า ใช้ฐานเสียง ใกล้เคียงภาษาอังกฤษนะครับ ภาษาไทย base on เสียง ออ ทำให้คนไทยพูดอังกฤษแปลกๆ
    ภาษาอังกฤษ ใช้ base on เ_อะ คล้ายสันสกฤตเลย

  • @gozillaultraphone5788
    @gozillaultraphone5788 ปีที่แล้ว

    คลิปนี้เหมาะมากในการเอามาสอน ออกเสียงสูง กลาง ต่ำ ในภาษาไทย

  • @pv_xuou
    @pv_xuou ปีที่แล้ว

    เก่งมากครับ ตืดตามแล้วครับ

  • @sukhgunggim5105
    @sukhgunggim5105 ปีที่แล้ว

    ขอถามนิดหนึ่งว่า
    มันจะเหมือนเสียงบาลีของศรีลังกาไหม? ครับ

    • @kominbunsri2278
      @kominbunsri2278 ปีที่แล้ว

      ขอตอบแทนนะครับ ใช้ครับมันจะตรงหลักกการออกเสียงมากกว่าบาลีสำเนียงในไทย

    • @sukhgunggim5105
      @sukhgunggim5105 ปีที่แล้ว

      @@kominbunsri2278 ที่จริงแล้ว ผมรู้จากการออกเสียงบาลีของไทยและของศรีล้งกาด้วย แต่ไม่แน่ใจในการออกเสียงบาลีของคนอินเดียเอง เพราะว่าไม่เคยได้สัมผัสมันโดยตรงครับ
      เคยมีคนพูดว่า คนอินเดียเองก็ออกเสียงอักษรบางตัวต่างกันตามสถานที่ที่ต่างกันครับ

  • @somwangphulsombat8468
    @somwangphulsombat8468 ปีที่แล้ว

    อย่างบางเสียง คนไทย แยกออกไม่ได้ เช่น ต กับ ฏ หรือ น กับ ณ ภาษาไทยจึงออกเสียงเหมือนกัน แต่ที่ ภาษาไทยยังใช้ ฏ,ฐ,ผ,ฑ,ฒ,ณฺ ,ฎ,ฆ เพราะจะการคงไว้ที่รูปศัพท์ ที่ยืมจากภาษาบาลีและสันสกฤต ต่างจากภาษาลาว ที่ยกเลิกหมด ใช้แต่เสียงอย่างเดียว ไม่สนใจรูปแบบบาลีสันสกฤตดั้งเดิม เช่น พาสา,จัน,อาทิด,สุก,เสา

  • @likitpichitchai
    @likitpichitchai ปีที่แล้ว

    ชื่นชมครับ
    ไม่เก่งภาษา แต่ ฟังสนุกมากครับ
    🥰 🇹🇭 💝