ขนาดวิดีโอ: 1280 X 720853 X 480640 X 360
แสดงแผงควบคุมโปรแกรมเล่น
เล่นอัตโนมัติ
เล่นใหม่
กำลังทำคำขอวิธีการชั่วคราวให้น้องๆครับ ขอขอบคุณมากครับ รับทำคำฟ้องศาลปกครองด้วยครับ
อธิบายได้ดี เข้าใจง่าย เนื้อหาครอบคลุมต่อเนื่องเลยครับ เป็นประโยชน์มากเลยครับ
มีประโยชน์และเข้าใจมากขั้นคะ ขอบคุณท่านทั้งสองมากคะ
กราบขอบพระคุณทั้ง2 ท่านเป็นอย่างสูงมีความรู้,ประโยชนฺ์มากโดยเฉพาะกับประชาชนที่สุจริตหาเช้ากินค่ำถูกกลั่นฯแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจากค่ะ
ได้ความรู้และข้อมูลที่สำคัญ มากๆครับผม
ขอบคุณครับ เก็บไปอ่านสอบ
โหลดไฟลเพลงได้ที่ไหนครับ
05:04 การฟ้องคดีต่อศาล ไม่ทำให้คำสั่งที่เป็นเหตุเดือดร้อน หยุดชะงักลงไป เพราะ จนทของรัฐมีอำนาจในการออกคำสั่ง ให้กทการ หรือ ห้ามกทการ จะไม่มีผลก็ต่อเมื่อ ถูกเพิกถอน07:00 วิธีการคุ้มครองชั่วคราว ก่อนมีคำพิพากษา กมกำหนดไว้ 2 เรื่อง 1.ขอทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่ง ขอให้หยุด หรือ ระงับการมีผลใช้บังคับ กฎ หรือ คำสั่งทางปกครองชั่วคราว จนกว่าศาลจะมีคำพิพากษา08:32 วิธีการยื่นคำขอ และ หลักเกณฑ์09:30 สามารถยื่นคำขอมาในคำฟ้อง หรือ ภายหลังก่อนมีคำพิพากษา ต้องระบุในคำขอให้ชัดเจนว่า ขอทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่งไหน แล้วคำสั่งนั้นหากมีอยู่ จะเดือดร้อน เสียหาย ยากต่อการแก้ไขเยียวยาภายหลังอย่างไร 11:15 ศาลจะมีคำสั่งไม่รับคำขอทุเลาได้ : หากคำขอไม่มีข้ออ้าง ข้อเท็จจริงเพียงพอ ไม่มีเหตุผล หรือ สาระที่จะได้รับการพิจารณาเลย หรือ คดีนั้นศาลจะไม่รับคำฟ้องอยู่แล้ว 17:30 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาของศาล 3 ประการ (ต้องเข้าเงื่อนไขทั้ง 3 ประการ) 1.กฏ หรือ คำสั่ง น่าจะ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 2.หากให้กฎ หรือ คำสั่ง ใช้บังคับต่อไปจะเกิดความเสียหาย ยากแก่การแก้ไขเยียวยาในภายหลัง19:00 เป็นการรักษาความมั่นคงของคำสั่ง และกฎไว้ เพราะ กม กำหนดให้จนท ของรัฐ ออกกฎและคำสั่ง 3.การทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่ง ไม่เป็นอุปสรรคแก่การบริหารงานของรัฐ หรือ แก่บริการสาธารณะ19:30 ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของ ปชช คนนึง กับ ประโยชน์สาธารณะ ประกอบกับ 20:25 2.ขอบรรเทาทุกข์ชั่วคราว : ใช้กับประเภทอื่นๆที่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง ที่ไม่ใช่เรื่อง กฎ คำสั่งทางปกครอง ตามม.9 ว.1(1) คำขอ ทำเหมือน ม.9 ว.1(1)21:10 หลักเกณฑ์การพิจารณาของศาลมี 3 ประการ 1.คำฟ้องมีมูล 2.มีเหตุเพียงพอที่ศาลจะนำวิธีการชั่วคราวมาใช้ เช่น มีการตั้งใจจะกระทำซ้ำ หรือ กระทำการตามที่ถูกฟ้องต่อไป หรือ ผู้ฟ้องคดีจะได้รับความเสียหายต่อไปเนื่องจาก การกระทำของผู้ถูกฟ้องคดี 3.ต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบของหน่วยงานทางปกครอง หรือ จนทของรัฐ และ ปัญหาอุปสรรค ที่อาจเกิดขึ้นแก่การบริการงานของรัฐ (หลักเกณฑ์ข้อนี้เหมือน ข้อ3 ของทุเลาการบังคับตามกฎ)23:14 ตัวอย่าง24:40 วิธีการชั่วคราวเพื่อแก้ไข ความเดือดร้อน เสียหาย ของผู้ฟ้องคดี 25:18 ตัวอย่าง
ขอบพระคุณครับผม
ชอบครับได้ความรู้ดีมาก
คดีอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ในชั้นเจ้าพนักงาน สามารถคุ้มครองชั่วคราวได้ไหมครับ
กำลังทำคำขอวิธีการชั่วคราวให้น้องๆครับ ขอขอบคุณมากครับ รับทำคำฟ้องศาลปกครองด้วยครับ
อธิบายได้ดี เข้าใจง่าย เนื้อหาครอบคลุมต่อเนื่องเลยครับ เป็นประโยชน์มากเลยครับ
มีประโยชน์และเข้าใจมากขั้นคะ ขอบคุณท่านทั้งสองมากคะ
กราบขอบพระคุณทั้ง2 ท่านเป็นอย่างสูงมีความรู้,ประโยชนฺ์มากโดยเฉพาะกับประชาชนที่สุจริตหาเช้ากินค่ำถูกกลั่นฯแกล้งอย่างไม่เป็นธรรมจากค่ะ
ได้ความรู้และข้อมูลที่สำคัญ มากๆครับผม
ขอบคุณครับ เก็บไปอ่านสอบ
โหลดไฟลเพลงได้ที่ไหนครับ
05:04 การฟ้องคดีต่อศาล ไม่ทำให้คำสั่งที่เป็นเหตุเดือดร้อน หยุดชะงักลงไป
เพราะ จนทของรัฐมีอำนาจในการออกคำสั่ง ให้กทการ หรือ ห้ามกทการ
จะไม่มีผลก็ต่อเมื่อ ถูกเพิกถอน
07:00 วิธีการคุ้มครองชั่วคราว ก่อนมีคำพิพากษา กมกำหนดไว้ 2 เรื่อง
1.ขอทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่ง
ขอให้หยุด หรือ ระงับการมีผลใช้บังคับ กฎ หรือ คำสั่งทางปกครองชั่วคราว จนกว่าศาลจะมีคำพิพากษา
08:32 วิธีการยื่นคำขอ และ หลักเกณฑ์
09:30 สามารถยื่นคำขอมาในคำฟ้อง หรือ ภายหลังก่อนมีคำพิพากษา
ต้องระบุในคำขอให้ชัดเจนว่า ขอทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่งไหน
แล้วคำสั่งนั้นหากมีอยู่ จะเดือดร้อน เสียหาย ยากต่อการแก้ไขเยียวยาภายหลังอย่างไร
11:15 ศาลจะมีคำสั่งไม่รับคำขอทุเลาได้ : หากคำขอไม่มีข้ออ้าง ข้อเท็จจริงเพียงพอ ไม่มีเหตุผล
หรือ สาระที่จะได้รับการพิจารณาเลย
หรือ คดีนั้นศาลจะไม่รับคำฟ้องอยู่แล้ว
17:30 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาของศาล 3 ประการ (ต้องเข้าเงื่อนไขทั้ง 3 ประการ)
1.กฏ หรือ คำสั่ง น่าจะ ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
2.หากให้กฎ หรือ คำสั่ง ใช้บังคับต่อไปจะเกิดความเสียหาย ยากแก่การแก้ไขเยียวยาในภายหลัง
19:00 เป็นการรักษาความมั่นคงของคำสั่ง และกฎไว้ เพราะ กม กำหนดให้จนท ของรัฐ ออกกฎและคำสั่ง
3.การทุเลาการบังคับตามกฎ หรือ คำสั่ง ไม่เป็นอุปสรรคแก่การบริหารงานของรัฐ หรือ แก่บริการสาธารณะ
19:30 ต้องคำนึงถึงประโยชน์ของ ปชช คนนึง กับ ประโยชน์สาธารณะ ประกอบกับ
20:25 2.ขอบรรเทาทุกข์ชั่วคราว : ใช้กับประเภทอื่นๆที่อยู่ในอำนาจศาลปกครอง ที่ไม่ใช่เรื่อง
กฎ คำสั่งทางปกครอง ตามม.9 ว.1(1)
คำขอ ทำเหมือน ม.9 ว.1(1)
21:10 หลักเกณฑ์การพิจารณาของศาลมี 3 ประการ
1.คำฟ้องมีมูล
2.มีเหตุเพียงพอที่ศาลจะนำวิธีการชั่วคราวมาใช้ เช่น มีการตั้งใจจะกระทำซ้ำ หรือ
กระทำการตามที่ถูกฟ้องต่อไป หรือ ผู้ฟ้องคดีจะได้รับความเสียหายต่อไปเนื่องจาก
การกระทำของผู้ถูกฟ้องคดี
3.ต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบของหน่วยงานทางปกครอง หรือ จนทของรัฐ และ ปัญหาอุปสรรค
ที่อาจเกิดขึ้นแก่การบริการงานของรัฐ (หลักเกณฑ์ข้อนี้เหมือน ข้อ3 ของทุเลาการบังคับตามกฎ)
23:14 ตัวอย่าง
24:40 วิธีการชั่วคราวเพื่อแก้ไข ความเดือดร้อน เสียหาย ของผู้ฟ้องคดี
25:18 ตัวอย่าง
ขอบพระคุณครับผม
ชอบครับได้ความรู้ดีมาก
คดีอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ในชั้นเจ้าพนักงาน สามารถคุ้มครองชั่วคราวได้ไหมครับ