คอนกรีต Concrete คืออะไร มารู้จักคอนกรีตกัน

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 3 ก.พ. 2025

ความคิดเห็น • 12

  • @chayanoncharoenrat8132
    @chayanoncharoenrat8132 3 ปีที่แล้ว +3

    ได้ความรู้มากมายครับ ขอบคุณครับ ^^

    • @Ridtirud
      @Ridtirud  3 ปีที่แล้ว

      ขอบคุณครับ

  • @sukawatsaardaiam
    @sukawatsaardaiam 11 หลายเดือนก่อน

    🙏สวัสดีครับ ขอรู้ ด้วยครับ😊😊😊😊😊😊😊😊😊

    • @Ridtirud
      @Ridtirud  10 หลายเดือนก่อน

      ยินดีครับ

  • @ชิษณพงศ์แย้มมีเชาว์-ณ3ง
    @ชิษณพงศ์แย้มมีเชาว์-ณ3ง 6 หลายเดือนก่อน

    ลึกซึ้งมากครับ 😅 ผมจะไปขายก๋วยเตี๋ยวครับ😂

  • @นายธีร์ขําทับทิม
    @นายธีร์ขําทับทิม 2 ปีที่แล้ว +1

    สวัสดีครับอาจารย์
    เนื่องจากกระผมเกิดความสงใส เกี่ยวกับคุลีกรรมการสร้างองค์พระปฏิมา ที่เรียกว่าพระสมเด็จวัดฆัง
    ในบันทึกตำราต้นฉบับที่ยึดหลักเป็นมาตรฐานวงการพระเครื่อง ไม่ระบุไว้เป็นปูนชนิดได ใจความบันทึกกล่าวไว้ว่า “เนื้อหามวลสารส่วนใหญ่เป็นปูนผสมน้ำ ปฏิกิริยาเคมีจากของเหลว กลายเป็นของแข็ง จะมีรูพรุนเกิดขึ้น เรียกว่าปฏิกิริยาปูนเดือด และยังอธิบายเพิ่มเติม รูพรุนจะมีหรือไม่มีขึ้นอยู่กับ ความข้นเหลวในส่วนผสม บันทึกนี้กล่าวถึง ยุคสมัย ราชกาลที่4 ตอนปลายรัชกาล กระผมมีความรู้ความสามารถเพีนงน้อยนิด แต่คิดเวิเคราะห์จาก
    *เซียนใหญ่ชั้นนำของประเทศ ซึ่งเป็นสถาปนิก สันนิษฐานว่า ปูนนั้น เป็นปูนขาวเปลือกหอยเผา น้ำมาสระสานกับน้ำมันออยตังอิ้ว และน้ำตาลมะพร้าว เนื้อพระที่ผ่านระยะเวลา มีความแกร่งเหมือนหินอ่อน สีผิวขาวนวล
    กระผมมีความเห็นต่างที่ว่า ปูนผสมน้ำมันออย จะแข็งตัวได้มันขัดแย้งกัน ออยช่วยบำรุงผิวให้ชุ่มชื่นชลอความแห้งให้ช้าลง จึงศึกษาหาข้อมูล ยิ่งรู้ว่า คุณสมบัติทางเคมีของปูนขาวจากการเฝาเปลือกหอย เป็นเช่นไร และพอเข้าใจจะว่า
    สูตรการสร้างที่ยึดหลักกันมา แล้วสอนกันเลื่อยมา ตรรกกะนั้นวิบัติโดยสิ้นเชิง
    กระผมขอความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปูนซีเมนต์ขาวชนิดพิเศษใช่ในงานสถาปัตย์ ยุคสมัย ร.4 ที่สั่งนำเข้า
    จะมีวิธีแยกแยะให้เข้าใจด้วยวิธีใดบ้างครับ
    #ถ้ารู้ถึงความจริงชนิดของปูน ก็จะสร้างความเป็นมาตราฐาน ปัญหาการทำพระปลอม หรือ ปัญญาการดูว่าพระแท้หรือเก๊ไม่จำเป็นต้องเป็นเชียนที่ดูเป็น การนำพระให้เชียนประเมิณ เสียทั่งเกิน เสียทั้งเวลา
    รูรั่วข่องโหว่การทุจริตจะลดลงครับ
    ความดั่งกล่าวตั้งใจทำเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ หากอาจารย์ทราบแวดวงสังคมพระเครื่องพระบูชาไทย เป็นเช่นไร
    แล้วจะทราบว่าเป็นแห่งหอกเงิน แหล่งธุรกิจหลอกลวง เป็นแหล่งเกิดมิจฉาชีพ ของพวกมีอิทธิพล
    กระผมมิใช่นั่งเล่นนักสะสม เพียงแค่ศึกษาของเก่าตกทอดจากปู่ ได้ศึกษาความรู้จากตำรา จึงทราบว่าข้อมูลที่เซียนชั้นนำหรือเซียนเน็ตไอด้อนนำเสนอข้อมูลที่ผิดบิดเบือนความจริง แสดงถึงความไม่บริสุทธิ์ มีอำนาจทางกฏหมายอยู่เบื้องหลัง กระผมก็จะใช้อำนาจแห่งความถูกต้องพิสูจน์ความจริงครับ
    หากความดังกล่าวเห็นว่ามิควรหรือพิดพลาดประการใด
    กระผมขออภัยครับ ด้วยความเคารพ

    • @Ridtirud
      @Ridtirud  2 ปีที่แล้ว

      ผมเองไม่มีความรู้เรื่องพระเครื่องหรือที่มาของพระเครื่องนะครับแต่จะขอ แชร์ความคิดของตนเองบางประเด้นแล้วกันนะครับ
      "ปฏิกิริยาปูนเดือด และยังอธิบายเพิ่มเติม รูพรุนจะมีหรือไม่มีขึ้นอยู่กับ ความข้นเหลวในส่วนผสม" ข้อความตรงนี้ผมเห็นด้วยว่าความข้นเหลวมีส่วนถ้า เหลวน้อยฟองอากาศจะถูกกักไว้ไม่ลอยขึ้นได้ง่าย โดยฟองเกิดได้จาก2ส่วนคือ ขณะผสมปูนอากาศปนเข้าไป อีกส่วนคือการเกิดปฏิกิริยา เกิดเป็นฟองก๊าซได้
      "น้ำมาประสานกับน้ำมันออยตังอิ้ว และน้ำตาลมะพร้าว"
      น้ำใช้ทำปฏิกิริยาเกิดการแข็งตัว
      น้ำมันออย ผมคิดว่า ช่วยเรื่องการรักษาความชื้น ช่วยในเรื่องการบ่มให้เกิดปฏิกิริยาให้สมบูรณ์เพราะจริงๆแล้วปฏิกิริยาของปูนจะใช้ระยะเวลาพัฒนาไปได้เรื่อยๆ ต่อเมื่อยังมีความชื้นอยู่
      ส่วนน้ำตาลมะพร้าว ตัวนี้ผมคิดว่าใช้เป็นตัวชะลอในการเกิดปฏิกิริยา ให้สามารถปั้น เข้าพิมพ์ ได้เพราะถ้าไม่มีตัวหน่วงการเกิดปฏิกิริยา อาจจะทำให้พระหดตัวและเกิดการแตกร้าวได้
      แต่อย่างไรก็ตาม สัดส่วนผสมมีความสำคัญอย่างมากในการเกิดลักษณะของวัสดุ ถ้าผสมไม่เป็นเนื้อเดียวกันดี พระแต่ละองค์ก็จะมีความแตกต่างกันได้
      หากต้องการวิเคราะห์กันต่อ คงต้องใช้ เครื่องมือการวิเคราะห์ทางฟิสิกส์ แยกองค์ประกอบธาตุ วิเคราะห์อายุ วิเคราะห์เชิงจุลภาค
      ต้องขออภัยด้วยถ้าตอบไม่สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการทราบนะครับ

    • @นายธีร์ขําทับทิม
      @นายธีร์ขําทับทิม 2 ปีที่แล้ว

      @@Ridtirudขอบมากคุณครับอาจารย์ ได้ความรู้จากวีดีโอคลิปที่อาจารย์สอน ก็พอจะเข้าใจบ้างเป็นบางส่วนครับ
      เช่น การเปลี่ยนแปลงทางเคมี จะมีสารใหม่เกิดขึ้น สารใหม่ที่เกิดจะมีองค์ประกอบและสมบัติทางเคมีแตกต่างจากเดิม ทำให้กลับคืนสู่ ภาพเดิมได้ยาก
      การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น องค์ประกอบและคุณสมบัติทางเควรจะเหมือนเดิม ทำให้กลบสู่สภาพเดิมได้ง่าย
      ที่กระผมเข้าใจก็คือ กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ องค์ประกอบธาตุออกไซด์ของวัตถุดิบที่ใช่(;สัสดุเริ่มต้น) สู่กระบวนการเผา(ปฏิกิริยา แคลซิเนชั่น) ได้สารประกอบใหม่ ปูนซีเมนต์ผง และปูนซีเมนต์ผสมน้ำ จะเกิดปฏิกิริยา ไฮเดรซั่น ได้ผลิตภัณฑ์ CsH gel (ได้จากปฏิกิริยาเคมี) วงศ์ธาตุที่มี OH ข้อเสียจะละลายน้ำ(การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ)
      ขอข้อพิจารณา จากอาจารย์ ช่วยวิเคราะห์ กรรมวิธีในการสร้างครับ
      การวิเคราะห์ยึดเป็นแบบมาตราฐาน คือ การทำ ปูนสอแบบโบราณ วัสดุการสร้าง อาจารย์คงทราบ (การเปลี่ยนแปลงทางเคมีเป็นแบบไหน สีผลิตภัณฑ์ที่ได้ )
      คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า เป็นปูนขาวจากเปลือกแคลงหอยเผา นำผงปูนที่ได้มาเป็นส่วนผสมหลัก ผสม น้ำตาลเคี่ยว ผสมนำ้มันทั่งอิ่ว และวัสถุสารอินทรีย์ต่างๆ
      จากส่วนผสมสูตรการสร้าง ดังกล่าว เป็นเพียง ข้อสันนิษฐาน โดยบันทึกจากตำรามิได้กล่าวป่งชี้ไว้แม้แต่อย่างใดรับ

    • @นายธีร์ขําทับทิม
      @นายธีร์ขําทับทิม 2 ปีที่แล้ว

      @@Ridtirud ในบันทึกกล่าวว่า รูพรุนปลายเข็ม มีลักษณะเป็นรู้ล็กๆขนาดปลายเข็ม อาจปรากฏโดยทั่วไปตลอดด้านหลังไม่จำกัดบริเวณ เกิดมากบ้างน้อยบ้างเป็นบางองค์ และปรากฏเป็กลุ่มเล็กๆหรือหย่อมๆชัดเจนบ้าง หรือรางเลือนไปบ้าง จึงจัดว่าเป็นริ้วรอยธรรมชาติ “ที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีระหว่าง
      ปูนขาว อันเป็นมวลสารส่วนใหญ่ ผสมกับน้ำ ในคุลีกรรมการสร้างกล่าวคือ จะมีการคายอ็อกซิเจนหรือฟองอากาศออกมา (ปุดๆ) ในคณะที่เนื้อยังเป็นของเหลว
      ซึ่งเรียกว่า “ปฏิกิริยาปูนเดือด” ฟองอากาศพยายามพรุดและลอยหนีออกมาจากผิวเนื้อในขณะที่ยังเหลว พอพ้นจากผิวเนื้อทำให้เกิดเป็นรูเล็กๆขึ้นมา
      ครั้นเมื่อเนื้อเกาะกุมกลายเป็นของแข็ง จึงมีริ้วรอยการผุดของแก๊สเป็นรูพรุน ตามที่ปรากฏ
      อาจารย์ช่วยวิเคราะห์อีกครั้งครับ บันทึกจากตำราต้นฉบับ กล่าวเพียงว่า องค์ปฏิมาพระสี่เหลี่ยมชิ้นฟัก ผงปูนขาวผสมน้ำและอิทธิวัตถุ นำเนื้อเป็นของเหลวใส่บล็อกแม่พิมพ์
      ความคิดส่วนตัวผมคิดว่า
      ลักษณะการเกิดริ้วรอยด้านบน เหมือนสารแขวนลอยในน้ำ จะอธิบายรูปแบบ ปฏิกิริยาไฮเดรซั่น ได้เห็นภาพมากกว่าครับ
      หากหาข้อสรุปได้ว่าปูนขาวที่ใช่คือปูนขาวชนิดใด ก็จะสร้างมาตรฐานได้ในระดับนึงครับ
      คนเข้าใจกันผิดกับคำว่า ปูนซีเมนต์ ปูนปลาสเตอร์ เป็นปูนวิทยาศาสตร์
      จึงมีตรรกะความคิดหลายๆด้าน
      การสร้างพระในตำรากล่าวไว้เพียง2วัดที่เป็นการสร้างใช้เนื้อหา มวลสารใกล้เคียงกัน จะแตกต่างกันคือบล็อกแม่พิมพ์ ซึ่งได้แก่ วัดระฆัง และวัดบางขุนพรหม
      ซึ่งต่อมา ได้เกิดปรากฏการณ์ พระกรุแตก วัดไหนที่มีประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหม รังสี
      จะมีพระแตกกรุยุคหลังออกมาเลื่อยๆ เช่น สมเด็จวัดเกศไชโย ทันยุคสมเด็โตสร้าง ซึ่งหามาตาฐาน อะไรไม่ได้ เป็นการสันนิษฐานโดยใช้อำนาจการเป็นเซียนชั่นแนวหน้าตัดสินใจ
      ซึ่งถ้าหากทราบแน่ชัดว่าปูนเป็นปูนชนิดใด มาตรฐานต่อก้าวต่อไปจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอนครับ

    • @Ridtirud
      @Ridtirud  2 ปีที่แล้ว

      วัสดุทุกอย่างที่ประกอบด้วยแคลเซียม เช่น เปลือกไข่ เปลือกหอย กระดูกสิ่งมีชีวิต ฟัน เป็นต้น
      เมื่อ เผาจนกระทั้งเปลี่ยนองค์ประกอบแล้ว (เป็นแคลเซียมที่สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำได้แล้ว)
      ก็จะสามารถก่อตัวแข็งตัวได้ครับ
      ก๊าซที่เกิดเป็นไฮดรอเจน และ ขณะทำการผสมเนื้อสาร น่าจะมีความร้อนเกิดขึ้นอยู่บาง ถ้าจากแคลเซียมนะครับ
      นอกจากนี้พวกเถ้าต่างๆ ที่ถูกเผาในอุณหภูมิที่สูงพอ ถ้านำมาผสมกับด่างแก่ๆ ก็จะก่อตัวแข็งตัวได้เหมือนกันนะครับ
      ส่วนริ้วรอยที่เกิดด้านบน ผมวิเคราะห์ว่า เกิดจากส่วนผสมนั้นมีน้ำมากเกินการทำปฏิกิริยาให้หมดได้ จึงลอยขึ้นด้านบน(ความหนาแน่นต่ำกว่าเนื้อสาร)
      ถ้าส่องกล้องกันจริงๆจังๆน่าจะเห็นเป็นชั้นบางๆที่ไม่มีความแข็งแรงเท่าด้านใต้
      นอกจากนี้น่าจะเกิดรอยร้าวขนาดเล็ก แบบแตกลายงาที่บริเวณนี้ด้วย ถ้าส่วนผสมของน้ำมากเกินไป
      อย่างไรก็ตามถ้าเอาไปวิเคราะห์ทางเคมีฟิสิกส์ น่าจะพอทราบได้นะครับ ยกตัวอย่างนะครับว่า
      เถ้าเอาหินปูนมาเผา แล้วทำปฏิกิริยากับน้ำจะได้
      CaCO3 (หินปูน) เผา ได้เป็น CaO + CO2
      แล้วเอา Ca ไปผสมน้ำ
      Ca + H2O = Ca(OH)2 (แคลเซียมไฮดรอกไซด์)+ H2(ก๊าซไฮดรอเจน)
      ซึ่งถ้าวัสดุใดๆเอามาที่เผาแล้วเป็นแคลเซียม ผสมน้ำก็จะเกิดปฏิกิริยาแบบนี้
      อาจจะมีธาตุบางอย่างที่ต้องวิเคราะห์กันจริงๆ ว่ามีอยู่มากน้อยแค่ไหน
      ดังนั้น ก็ยังมีความยากอยู่เหมือนกันครับว่าสารซีเมนต์(ปูน)ที่ได้มา นั้นมาจากไหน เปรียบได้กับถามว่า ปีระมิดสร้างยังไง
      แต่ได้อ่านข้อความของคุณ นายธีร์ แล้วทำให้ผมเห็นมุมมองใหม่ๆดีเหมือนกันนะครับ

    • @นายธีร์ขําทับทิม
      @นายธีร์ขําทับทิม 2 ปีที่แล้ว

      @@Ridtirud ขอบคุณมากครับอาจารย์ หากกระผมมีข้อมูลความคิดใหม่ เกิดข้อสงใส กระผมขออนุญาตอรบกวนอาจารย์ เป็นที่ปรึกษา เพื่อไขปัญหานะครับ ซึ่งคิดวิธีที่จะให้เป็นเกณขมาตราฐานได้อีก1วิธี การใช่หน่วยวัด เป็น นิ้ว หุน ปะเจียด วัดค่าแนวเส้นระห่าง รวมถึง ค่ากว้างและสูง เหตุผลก็คือ 1 เครื่องCNC ใหการปลอมแกะแม่พิมพ์ขึ้นใหม่ มีหน่วยมาตรฐาน เป็น ระบบเมตร แต่ระบบ เมตร มีการใช้ในประเทศไทย ประมาณปี 2460 ซึ่ง การสร้างพระสมเด็จ สร้างประมาณปี 2407-2415 2ในการปลอมโดยการถอดแบบ ลักษณะองค์พระปฏิมาจะตื้น ผอม บาง สังเกตุง่าย
      หากอาจารย์มีความคิดเห็น ช่วยแนะแนวคิดนี้ด้วยครับ
      พระสมเด็จที่ยึดถือเป็นองค์ครูแท้ๆ ชื่อ พระสมเด็จองค์ครูเอื้อ ซึ่งองค์ผ่านการล้าง จะเห็นสีเนื้อที่แท้ และลักษณะริ้วลอยด้านหลังพระแท้ที่เกิดขึ้นเอง เหมือนองค์ครูเอื้อ ซึ่งพระปลอมหรือพระแท้ยุคหลังจะไม่มีลักษณะเช่นนี้ การสร้างพระยุคหลังสร้าง ประมาณปี2850-2510 จะเป็นการสร้างด้วยมือ หลังจากนั้นจะเป็นการสร้างจากโรงงาน
      หากอาจารย์เห็นภาพพระสมเด็จองค์ครูเอื้อแล้วนั้น เพื่อจะมีแนวคิดวิเคราะห์ใหม่ๆครับ