ไขปริศนาเซมิคอนดักเตอร์ ทำไมจีน-อเมริกา ทะเลาะจนชิปหาย | Executive Espresso EP.413

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 6 พ.ค. 2024
  • ชิปหายคืออะไรหาย?
    เซมิคอนดักเตอร์คืออะไรกันแน่?
    ทำไมจีน-สหรัฐฯ ถึงนิยมใช้มันเป็นเครื่องมือต่อรองระหว่างมหาอำนาจโลก?
    Executive Espresso เอพิโสดนี้เกิดจากความร่วมมือของ The Secret Sauce กับ Quantum Technology Foundation (Thailand) หรือ QTFT พาคุณสำรวจจักรวาลเซมิคอนดักเตอร์ ชี้ให้เห็นว่าการขาดหายของชิปส่งผลสะเทือนโลกขนาดไหน พร้อมฉายภาพให้เห็นกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ และโอกาสของประเทศไทยในเทรนด์อุตสาหกรรมนี้
    ** ภาพในคลิปวิดีโอที่เวลา 1:55 เป็นภาพของศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ซึ่งไม่ใช่ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ทางทีมงานขออภัยมา ณ ที่นี้
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมของศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ได้ที่ www.nectec.or.th/research/res...
    00:00 เริ่มรายการ
    00:55 ภาพรวม
    02:59 Semiconductor คืออะไร
    07:39 Semiconductor สำคัญต่อเราและโลกอย่างไร
    09:55 ชำแหละ Semiconductor
    16:17 Semiconductor มีกี่ประเภท?
    22:09 ทำไม Semiconductor ต้องผลิตจากซิลิคอน?
    23:24 กระบวนการผลิต Semiconductor TSMC อยู่ตรงไหน?
    27:56 TSMC ทำอะไรในอุตสาหกรรม Semiconductor?
    32:38 ประเทศไทยอยู่ตรงไหนในอุตสาหกรรม
    33:29 ใครคือเจ้าตลาดในปัจจุบัน
    35:30 ทำอย่างไรถึงจะเป็นแบบ TSMC ได้
    39:03 โอกาสของนักธุรกิจอยู่ตรงไหน
    46:31 จีน-สหรัฐฯ แข่งอะไรกันอยู่?
    49:08 อนาคตของ Semiconductor
    52:14 คำแนะนำถึงนักธุรกิจ คนทั่วไป
    ________________
    ตอนนี้ช่อง THE SECRET SAUCE ของเราได้เปิดให้แฟนๆ เข้ามาจอยเป็น Membership แล้วนะครับ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ ในราคาเพียง 50 บาทต่อเดือนเท่านั้น
    โดยคุณสามารถคลิกที่ปุ่ม Join แล้วเลือกช่องทางชำระเงินตามสะดวกได้เลย หรือกดลิงก์ / @thesecretsauceth
    มาเป็น The Secret Sauce Club ด้วยกันนะครับ :)
    ________________
    ติดตาม The Secret Sauce ในช่องทางอื่นๆ
    Spotify bit.ly/tssspotify
    Apple Podcasts bit.ly/tssapple
    Google Podcasts bit.ly/tssggpod
    PodBean bit.ly/tsspodbean
    Website bit.ly/webtss
    Facebook / thesecretsauceth
    Facebook Group / 643054436428079
    #TheSecretSauce #TheStandardPodcast #Semiconductor
  • แนวปฏิบัติและการใช้ชีวิต

ความคิดเห็น • 258

  • @nattapongwuttikes9073
    @nattapongwuttikes9073 ปีที่แล้ว +116

    ผมเคยเป็นวิศวกร ในบริษัท Submicron Technology ที่เป็นบริษัทแรกที่จะทำ Wafer fabrication ร่วมทุน กับ Texas instrument เมื่อเกือบ26 ปีก่อน ไปอบรมเครื่อง wafer inspection ที่ KLA-Tencor ที่USA เจอวิศวกรจาก TSMC และ Samsung ที่นั่นด้วยเสียดายกลับมาเกิดวิกฤติต้มยำกุ้ง ทำให้บริษัทปิดตัวลง เสียดายโอกาสของเมืองไทยที่จะมีอุตสาหกรรมต้นน้ำของ อุตสาหกรรม semiconductors มากๆครับ

    • @greenlight3735
      @greenlight3735 ปีที่แล้ว +2

      น่าเสียดายเช่นกันครับ

    • @SKOne-he4fs
      @SKOne-he4fs ปีที่แล้ว +1

      อ่อๆ นึกว่าโดนไล่ออก

    • @Koongpanid
      @Koongpanid ปีที่แล้ว +1

      ใช่บริษัทคุณชาญ มั้ยคะ

    • @kittikunbp3826
      @kittikunbp3826 ปีที่แล้ว

      @@SKOne-he4fs เราก็น้อ😆😆

    • @donjuanth.2449
      @donjuanth.2449 ปีที่แล้ว +8

      ไม่ว่ารัฐบาลไหนก็ส่งออกแต่สินค้าเกษตรไม่มีสมองพอคิดเรื่องแบบนี้หรอกครับ

  • @952winplease6
    @952winplease6 ปีที่แล้ว +151

    เรียนอิเล็กทรอนิกส์ มาทั้้งชีวิตไม่เข้าใจจนทำให้ไปยึดอาชีพช่างไฟตกแต่งภายใน จนมาดูคลิปนี้ ไขคำตอบและเข้าใจกระจางจนนำไปสู้คำตอบในชีวิตได้เลย ขอบคุณมากครับ

    • @up007baba
      @up007baba ปีที่แล้ว +5

      เรียน ท่าไหนคับ 55555

    • @paumpk4411
      @paumpk4411 ปีที่แล้ว +19

      ผมก็เป็นช่างอิเล็กทรอนิกส์ ปวช . รู้แค่พื้นฐานเท่านั้น เรียนๆ เหมือนความรู้โดยรวม คำนวณก็ปวดหัวอีก
      พอ ปวส. จะเริ่มเข้าใจสิ่งที่เคยเรียนมา ตอน อยู่ ปวช.
      พอป.ตรีจะเริ่มเข้าใจความรุ้ใน ปวส. แต่ความรู้ใน ปตรี.มันก็ยังมีอะไรที่ไม่เข้าใจอีกอยู่ ความรู้ที่ได้ที่ทำได้จริงๆ คือ เขียนภาษา c++ assembly ladder การใช้งาน Arduino พวก Node mcu. ,Plc ต่างๆ. พื้นฐานอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอัตโนมัติ แต่สิ่งที่ยังวิเคราะห์ยากสำหรับผมคือ พวกคลื่น ความถี่ ในระบบสายส่ง สายอาอาศ เสียงในวิชาระบบเสียง การจัดการเสียง ตัดเสียงหอน เสียงฮัม ผมแค่มาแชร์สิ่งที่ได้กับสิ่งที่เรียนมาเท่านนั้นนะครับอันนี้

    • @user-lc3zr8re7w
      @user-lc3zr8re7w ปีที่แล้ว +8

      ความรู้ที่เขาพูดนี่ต้องนาโนฟิสิกส์ ฟิสิกส์อิเล็กชั้นสูง

    • @user-fy3gd4uz9s
      @user-fy3gd4uz9s ปีที่แล้ว +7

      @@paumpk4411 งั้นคงต้องไปเรียนปริญญาโท จะได้เข้าใจ เรื่องที่เรียน ต่อปริญญาตรี ถ้าไม่เข้าใจเรื่อง ที่เรียนในปริญญาโท ก็คงต้องต่อปริญญาเอก... หยอกหยอก

    • @video-zw7js
      @video-zw7js ปีที่แล้ว +2

      เดี๋ยวๆสตินี้ไม่ใช่หลักสูตรปวช.ปวส.😅

  • @missedcall-os2fk
    @missedcall-os2fk ปีที่แล้ว +13

    คลิปนี้ เปนคลิปแรกที่ตั้งใจฟังมากๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆแบบนี้

  • @jk-mo2413
    @jk-mo2413 11 หลายเดือนก่อน +6

    ขอบคุณสำหรับเนื้อหาดีๆครับ อยากให้คุณเคนมีภาคต่อ เรือง โฟโตนิคชิป ด้วยครับ

  • @user-pw1dz1ih6h
    @user-pw1dz1ih6h ปีที่แล้ว +3

    ดีมากค่ะ เนื้อหาดีมากค่ะ ขอบพระคุณมากนะคะ

  • @natthapongnoom1214
    @natthapongnoom1214 ปีที่แล้ว

    ดร.จิรวัฒน์ ใช้ภาษาอธิบาย ได้ดีสุดยอดมากๆ เข้าใจง่าย

  • @mr.kittichartrittirut7098
    @mr.kittichartrittirut7098 ปีที่แล้ว +22

    อิเล็กทรอนิกส์คือสาขาสำคัญ แต่ขาดการสนับสนุนอย่างเต็ม การพัฒนาอะไรต่างๆ ก็ช้าตามไป ผมเรียนอิเล็กมา คนไทยเก่งครับ แต่การนำไปต่อยอดไม่มีเลยครับ ทั้งที่เป็นสิ่งสำคัญ ถ้าเข้าใจ ถ้าผลิตเองได้ เศรษฐกิจไปไกลครับ ต่อยอดได้มาก แต่ล่าสุดสาขาที่ผมเรียน ได้เอาสาขานี้ออกไปแล้ว เป็นสาขาอื่นเข้ามาแทน คนไทยไม่ใช่ไม่เก่งครับ แต่แค่ไม่มีเวทีให้เค้าโชว์

    • @tomoyadarkvader2410
      @tomoyadarkvader2410 ปีที่แล้ว +5

      ก่อนอื่นจะมีเวทีโชว์ได้ต้องมีคนที่เก่งและกล้าที่จะลงทุนด้านนี้ รัฐต้องหาเงินให้กู้ได้ง่าย ลดภาษีให้ เพื่อจูงใจ แต่ใครละจะกล้าได้เสียแบบคนอเมริกา ลงทุนไปแล้วอาจเจ๋งก็ได้

    • @user-zx2hn1lm9k
      @user-zx2hn1lm9k ปีที่แล้ว +1

      เดี่ยวมันก็บอกว่าเป็น ภัยคุกคามของป

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว +2

      เดี๋ยวนี้ เขาไปเรียน แมคคราทรอนิกส์ กันหมดแล้ว ตอบโจทย์โรงงานมากที่สุดแล้วครับ สายโรงงาน เลือกอิเล็กทรอนิกส์รองจากไฟฟ้า สะด้วยซ้ำครับเวลาสมัครงานเข้ามา

    • @mr.kittichartrittirut7098
      @mr.kittichartrittirut7098 ปีที่แล้ว +5

      ที่ทุกท่านกล่าวมาเป็นความจริงล้วนๆครับ อิเล็กทรอนิกส์เป็นสาขาที่เฉพาะทางจริงๆ ส่วนตัวผมถือว่าโชคดี จบมาก็ได้งานทันที แถมตรงกับที่เรียนมา มันทำให้รับรู้ได้ว่า ประเทศเรา บุคคลากรที่ชำนาญด้านนี้มีน้อยมาก และขาดการต่อยอด ส่งเสริม ทำให้ไม่ได้รับความนิยม ทั้งที่ต่างประเทศ ถือว่าเป็นสาขาที่สำคัญมาก สำหรับต้นคิดหรือต้นแบบนวัตกรรม แต่ก็ต้องยอมรับรูปแบบเศรษฐกิจของประเทศ ที่เน้นรับมาผลิตมากกว่า ไม่ได้เน้นวิจัยต่อยอดหรือพัฒนาต่อ ซึ่งผมมองว่าถ้าส่งเสริมส่วนนี้ได้ เราอาจสร้างงานให้คนในประเทศได้เพิ่ม และไม่ต้องกังวลถึงผลกระทบจากบริษัทแม่ที่เป็นตัวคอยกำหนดอีกต่อไปในระยะยาว ความเห็นส่วนตัวนะครับ

    • @wasinpromsonti9302
      @wasinpromsonti9302 ปีที่แล้ว

      เดี่ยวนี้ยังมี เรียน FPGA ไหมครับ

  • @jennyfung7624
    @jennyfung7624 ปีที่แล้ว +16

    อธิบายเก่ง ถามเก่ง เก่งทั้ง 3 คน ภูมิใจคนไทย มีคนรุ่นใหม่เก่งๆ

    • @nicktanawut915
      @nicktanawut915 ปีที่แล้ว

      นั้นคือความสำคัญที่จะต้องส่งต่อให้คนรุ่นใหม่ ไม่มีใครทำงานไปจนตาย

  • @worrapolfontiem638
    @worrapolfontiem638 ปีที่แล้ว +5

    5ดาวครับ คลิปนี้ ขอความรู้แน่นๆอีกนะครับ

  • @argue-46
    @argue-46 ปีที่แล้ว +1

    ได้ข้อมูลดีๆมากครับ

  • @kantinansriprasert5999
    @kantinansriprasert5999 6 หลายเดือนก่อน

    ชอบช่องนี้มาก ได้ความรู้มากเลย

  • @JacksparowLL
    @JacksparowLL 7 หลายเดือนก่อน +3

    เห็นด้วยกับอาจารย์ว่าควรมุ่งไปที่ more than law เพราะการ design คือความคิดสร้างสรรค์ที่มีมหาศาลไม่ได้จำกัดเหมือน follow law ที่เจ้าใหญ่เขากำลังแข่งกัน อยากให้ภาครัฐให้ความสำคัญกับเรื่องทรัพยากรคนของประเทศแบบเต็มที่ เพราะปัจจุบันอัตราเกิดน้อย บางส่วนออกจากระบบการศึกษา ซึ่งเรื่องเทคฯพวกนี้ต้องเรียนผ่านระบบการศึกษาเป็นหลัก และหลักสูตรการเรียนการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนให้ทัน

  • @nattapolpunpaen2539
    @nattapolpunpaen2539 ปีที่แล้ว

    ขอบคุณครับสำหลับความรู้

  • @user-if4cs6yn4d
    @user-if4cs6yn4d ปีที่แล้ว

    ฟังเข้าใจง่ายดีครับ ...

  • @songphorntajaronensuk7806
    @songphorntajaronensuk7806 ปีที่แล้ว +2

    อธิบายเก่ง ทำยาก ให้เข้าใจง่าย

  • @peerapongtangkavanich7154
    @peerapongtangkavanich7154 ปีที่แล้ว +6

    Alan Turing เขาคือ นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ที่ทำงานให้ กองทัพสหราชอาณาจักรที่ และเป็นคนที่คิดค้นการถอดรหัสเครื่อง Enigma ของ Nazi ด้วยนะครับ

  • @trulplink2732
    @trulplink2732 ปีที่แล้ว

    ขอบพรนะคุณอาจารย์มากๆเลยคร้าบ

  • @chulaw8
    @chulaw8 ปีที่แล้ว

    ได้รับความรู้ ขอบคุณ

  • @yobe5062
    @yobe5062 ปีที่แล้ว +54

    ชอบรายการแบบนี้ ให้ความรู้เท่าทันโลก คนไทยจะได้ไม่ทำตัวประหลาดเป็นตัวตลกเหมือนเพื่อนบ้าน

    • @user-rr9is8th2m
      @user-rr9is8th2m ปีที่แล้ว +1

      เคยได้ยินเขาบ่นกัน ว่ารำคาญเสียงหมาข้างบ้าน ฟังแล้วก็งงเหมือนกัน ว่าเขาเห็นว่าเป็นเพื่อนบ้านหรือเห็นเป็นหมาข้างบ้าน

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 6 หลายเดือนก่อน

      ทำไมเราทำชิบ5gไม่ได้ครับ....

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 6 หลายเดือนก่อน

      โครงสร้างที่ยากที่สุดคือโครงสร้างมนุษย์

    • @akanitsamerna6849
      @akanitsamerna6849 6 หลายเดือนก่อน

      ไม่สามารถออกแบบได้และไม่มีใครออกแบบได้

    • @yobe5062
      @yobe5062 6 หลายเดือนก่อน

      @@akanitsamerna6849 ไทยไม่มีแร่หายากในการทำชิพ

  • @damrong3
    @damrong3 ปีที่แล้ว

    ชอบราการวันนี้

  • @user-hq6mf1qw3q
    @user-hq6mf1qw3q 6 หลายเดือนก่อน

    ขอบคุณมากครับ😊

  • @winvee290
    @winvee290 ปีที่แล้ว +1

    ชอบตอนนี้มากครับ

  • @pottyruan988
    @pottyruan988 ปีที่แล้ว

    ได้ความเข้าใจมากขึ้นเยอะค่ะ

  • @user-ng9di5pk7k
    @user-ng9di5pk7k ปีที่แล้ว +1

    เยี่ยมครับ

  • @obtimusa
    @obtimusa ปีที่แล้ว +1

    มี insert footage ผิด ศูนย์ TMEC เป็น MTEC ตอนต้นนะครับ

  • @tacomaon4566
    @tacomaon4566 ปีที่แล้ว +3

    ขอบคุณมากๆค่ะ ตั้งคำถามดีมาก ทำให้ได้คำตอบกระจ่างละเอียดในทุกมิติเลยค่ะ

  • @BankTheerathon
    @BankTheerathon ปีที่แล้ว +10

    ชอบ the secret sauce มากเลยครับ เนื้อหาคุณภาพ

  • @MrTonnarak
    @MrTonnarak ปีที่แล้ว +1

    semiconductor 101 ❤️ ขอบคุณครับ

  • @nottskynet3495
    @nottskynet3495 ปีที่แล้ว

    เข้าใจง่ายดีครับ แต่แค่อาจารย์เอาอย่างอื่นมาเปรียบเทียบมากเกินจนต้องต่อเรื่องราวที่มากขึ้น โดดไปโดดมา ถ้าคนเรียงความไม่เก่งจะงง แต่ก้อขอบคุณอาจารย์มากครัย

  • @sirayasing515
    @sirayasing515 ปีที่แล้ว

    ใช้กับวิทยุทรานซิสเตอร์ หรือนาฬิกา สมัยก่อน

  • @TheSecretSauceTH
    @TheSecretSauceTH  ปีที่แล้ว +6

    ภาพในคลิปวิดีโอที่เวลา 1:55 เป็นภาพของศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) ซึ่งไม่ใช่ศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ทางทีมงานขออภัยมา ณ ที่นี้
    ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมของศูนย์เทคโนโลยีไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (TMEC) ได้ที่ www.nectec.or.th/research/research-unit/tmec.html

    • @danai2766
      @danai2766 ปีที่แล้ว

      อยากให้เชิญบริษัท Silicon Craft Technology (SICT) มาออกรายการด้วยครับ SICTเป็นบริษัทdesignตัวชิปของคนไทยครับ

  • @ka0236
    @ka0236 10 หลายเดือนก่อน

    ความคิดสร้างสรรค์ ภายใต้ร่มเงาหลักความคิด + งบประมาณสนับสนุน
    วิจัยทางวิศวะ อยากให้ทำสกูปเรื่องนี้บ้างค่ะ เผื่อหาคนสนับสนุน

  • @pvmilk
    @pvmilk ปีที่แล้ว +7

    เปลี่ยนใจไปเล่นส่วนอื่นๆ ระวังเหมือนตอนเลือก Harddisk นะครับ ถ้าเข้าใจไม่ผิด ตอนนั้น ไทยเลือก Harddisk มาเลเซีย เลือก ชิป
    เลือกผิด ชีวิตเปลี่ยน

  • @tpungkaj
    @tpungkaj 7 หลายเดือนก่อน

    เสนอให้ทำ เซนเซอร์ เพื่อการเกษตร ครบวงจรครับ
    ทำใช้ในประเทศก่อน ถ้าเหลือ ค่อยทำขายไปข้างนอก

  • @Kenicnslallabixmsjiazka
    @Kenicnslallabixmsjiazka 6 หลายเดือนก่อน

    ตัวM1 ในไอโฟนนี้ใช้ TSMC ผลิตใช่ไหม

  • @Nohandhhgle
    @Nohandhhgle ปีที่แล้ว +7

    ในเมื่อ tsmc ต้องเปลี่ยนเครื่องจักรเพื่อแข่งขันกัน เราน่าจะไปขอซื้อเครื่องรุ่นเก่าๆในราคาถูกหน่อย เพื่อมาสร้างอุปกรณ์ที่ advance น้อยลงหน่อย อย่างเช่นพวกโดรนตรวจวัดพื้นที่ภาคเกษตร หรือพวกไฟปิดเปิดอัตโนมัติ อะไรประมาณนี้ ก็จจะทำให้ ประเทศไทยเริ่มมีงานด้านนี้ พอมีงานก็จะมีบุคลากรเข้ามา มีการพัฒนาต่อยอดไปเรื่อยๆ

    • @tomoyadarkvader2410
      @tomoyadarkvader2410 ปีที่แล้ว +1

      คิดได้แต่ต้องมีเอกชนเริ่ม แต่ก็ต้องมีคนที่ใช้เครื่องได้ ตลาดต้องมีรองรับ รัฐต้องมีแหล่งทุนให้หาง่าย

    • @PeterPan-of8pf
      @PeterPan-of8pf ปีที่แล้ว

      อาจจะไม่ได้ยกเซตหรือเปล่าครับ หมายถึงเปลี่ยนฟังก์ชั่นโมดูลแค่บางตัวเพื่อให้ทั้งระบบทำงานเล็กลง

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q ปีที่แล้ว +2

      ยากน่ะครับ ถ้าขอชื้อเครื่อง Euv พวกนี้ ถ้าสหรัฐไม่ไฟเขียว ก็น่าจะยากครับ อีกอย่างบ้านเราเป็นเผด็จการแบบนี้ น่าจะยากที่เขาจะปล่อยให้ประเทศไทย เข้าถึงเทคโนโลยีตรงนี้ได้

    • @tanapong14101
      @tanapong14101 ปีที่แล้ว

      เครื่องนึกแว่ว ๆ ว่าเป็นหมื่นล้านเลยครับ อันนี้เฉพาะเครื่องEUV นะครับ

  • @panuddakumpang
    @panuddakumpang 6 หลายเดือนก่อน +1

    อาจารย์พูดถูกครับ เหมือนเป็นหมุดหมาย ที่ปักและเราเชื่อว่า ไม่มีใครฉลาดกว่าใคร มันขึ้นอยู่กับว่า เรา จะทำอะไร และทำถึงจุดไหน ที่สำคัญภาครัฐ มองโลกที่มีเราแบบไหน มองว่า คนในชาติเราเอง สมควรมีจุดยืนที่มีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ เป็นแกน เป็นผู้นำที่เป็นผู้พึ่งพาที่ยังยืนให้ภูมิภาคได้ อย่างไร

  • @nantawatpansakulwat1727
    @nantawatpansakulwat1727 9 หลายเดือนก่อน

    great

  • @djvjdjdkhdh7907
    @djvjdjdkhdh7907 ปีที่แล้ว

    นี่เป็นคำตอบทุกอย่าง

  • @apcool4150
    @apcool4150 ปีที่แล้ว +5

    บทสนทนาน่าฟัง มีสาระดีครับ 😄

  • @namons.5078
    @namons.5078 ปีที่แล้ว +1

    ไม่รู้ว่าซ้ำกับเมนท์ใครรึยังนะคะ ขออนุญาตแนะนำคลิปเกี่ยวกับเนื้อหา ชิบขาดตลาด ช่องของ : 9arm ค้นหาว่า "ทำไมชิปถึงขาดตลาด " / แล้วก็ช่องเดียวกันนี้มีเรื่อง quantum ดร.ทิว คุยกับ ดร.นายอาร์ม "เซียนควอนตัม vs เซียนคอมพิวเตอร์"

  • @user-ne1hu8nx9j
    @user-ne1hu8nx9j ปีที่แล้ว +6

    ผมขายเซมิคอนดักเตอร์ เป็นช่างด้วย

  • @o_ple789
    @o_ple789 ปีที่แล้ว +4

    คนเก่งและมีความรู้อย่างลึกซึ้ง วัดได้จากการอธิบายเรื่องยากๆให้เข้าใจได้ง่ายๆ ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ

  • @olemancharter2747
    @olemancharter2747 ปีที่แล้ว

    แล้วที่ว่า ทรายกำลังหมดโลก นี่มีส่วนเกี่ยวข้องกันไหมครับ

  • @stangthanut9210
    @stangthanut9210 7 หลายเดือนก่อน

    ที่อาจารย์ถามเรื่อง ทำไมเราต้องพัฒนาคอมพิวเตอร์ ให้มันเร็วไปกว่านี้ ซึ่งปัจจุบันมันก็เร็วมากอยู่แล้ว
    ผมมีแนวคิดว่า คนสมัยก่อนยังไม่มีพัดลม จะรอลมเย็นก็อาศัยจากการพัด หรือลมธรรมชาติ พอมีคนประดิษฐ์พัดลมได้ คนในตอนนี้ก็คิดว่า เจ๋งแล้ว ลมเย็นสบาย ไม่ต้องพัดเอง ไม่มีใครรู้ว่าจะมีแอร์ พอดีแอร์แล้วก็โครตเจ๋งอ่ะ
    ผมคิดว่า ถึงตอนนี้คอมพิวเตอร์มันเร็วมาก แต่ก็อาจจะยังไม่เร็วพอ สำหรับฟังชั่นในอนาคต ดังนั้นตอนนี้ เขาจึงพัฒนาไปก่อน ค่อยไปตอบโจทย์ในอนาคตครับ

  • @9Pom
    @9Pom ปีที่แล้ว +1

    ยังตันอยู่ที่ขนาด10nm มั้งคับที่วางขายในตลาด cpu intel
    ส่วน AMD 14nm แต่ดันขายว่า 4nmไปเอาระยะห่างระหว่าง transister มาทำการตลาด

    • @pramuanchutham7355
      @pramuanchutham7355 6 หลายเดือนก่อน

      สิ่งที่ยากกว่า คือระยะห่างระหว่างทรานซิสเตอร์ครับ...พิมพ์ยากกว่าเส้น

  • @bypaestudio550
    @bypaestudio550 ปีที่แล้ว +3

    20 กว่าปีก่อนผมเคยไปทำวีดีโอพรีเซนต์ให้กับบริษัท ไมโครชิพ ที่ฉะเชิงเทรา ในโรงงานมีแขนกลพิมพ์ชิพบนแผ่นเวเฟอร์ เหมือนกันที่เห็นในโฆษณาอินเทลเป๊ะ ไม่รู้ว่าปัจจุบันพัฒนาไปถึงไหนแล้ว สงสัยว่าเรามีเบสมาตั้งแต่ก่อนยุคดิจิทัล ทำไมปัจจุบันยังดูเหมือนเราเริ่มทีหลัง

    • @thanaphongn3883
      @thanaphongn3883 ปีที่แล้ว +3

      ปฏิวัติเป็นว่าเล่นไงครับ

    • @user-oi5wl3zl7k
      @user-oi5wl3zl7k ปีที่แล้ว

      เคยยู่โรมที่นวนครตัดเวเฟิอสมัย1996แต่ยี่ปุ่นส่งมาให้ใช้คิดดูว่าเขาใช้มากี่สิบปีก่อนหน้าเราอีกแผ่นหนึ่งที่เคยตัดสามหมื่นกว่าชิ้นต่อแผ่นเท่าซีดีเพลงแต่สมัยนี้น่าไปใกลสุดกู่ละ

    • @Geewonbin555
      @Geewonbin555 6 หลายเดือนก่อน

      ประเทศไทยห้ามเจริญครับ ผู้มีอำนาจไม่ชอบ

  • @plawan00021
    @plawan00021 8 หลายเดือนก่อน

    เรื่องความเล็กลง มันเล็กลงได้ถึงจุดๆ นึงก็จะเล็กลงไปกว่านี้ไม่ได้อีกแล้ว เพราะสาเหตุนี้แหละเค้าถึงวิจัยพัฒนาควันตั้มคอมพิวเตอร์ เพราะมันจะเล็กลงไปได้อีกเล็กกว่าเซมิคอนดักเตอร์มาก ๆ แต่พอเล็กระดับควันตั้ม สูตรเดิมที่เคยใช้กับเซมิคอนดักเตอร์จะใช้งานไม่ได้อีกต่อไป 1+1 อาจจะเท่ากับ 2 หรือ 1 หรือ หรือเป็นได้ทั้ง 2 และ 1 พร้อมกัน ก็ได้ในโลกของควันตั้ม

  • @Jukkarpun
    @Jukkarpun ปีที่แล้ว +1

    อันนี้ส่วนสำคัญ อยากให้คนไทยขับเคลื่อนด้วย

  • @winbunjongpru5408
    @winbunjongpru5408 ปีที่แล้ว +1

    ยังมีเกมส์ที่น่าลงเล่นได้ครับ อุปกรณ์ที่อยู่ในกลุ่ม More Than "Moore's Law" (มัวรอไม่ได้แล้ว)
    1) กลุ่มของเซนเซอร์ นึกถึงประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย์ ตา (Photodetector) หู (microphone) จมูก (gas sensor) ลิ้น (Ion Selective Field Effect Transistor) กายสัมผัส (Pressure sensors, Gyroscopes, Accelerometers)
    2) กลุ่มของชิปที่ใช้ในรถไฟฟ้า สำหรับระบบจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management System, BMS) บึ้น! บึ้น! โอ้ว...เสียงเครื่องยนต์กำลังจะหมดไป

  • @kamikazeray4866
    @kamikazeray4866 6 หลายเดือนก่อน

    Super conductor ตัวนำยิ่งยวด 🤔

  • @Sagittarius16
    @Sagittarius16 ปีที่แล้ว +5

    the standard โคตรสื่อน้ำดีของจริง ความรู้ เปิดโลก ทุกคอนเทนต์

  • @NanNan-if7pd
    @NanNan-if7pd ปีที่แล้ว

    สุดยอดพึ่งรู้คนไทยก็มีเหมือนกัน

  • @LOvetomification
    @LOvetomification ปีที่แล้ว

    มันมี Amsl ด้วยไม่ใชเหนือครับ

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q ปีที่แล้ว

      มีครับ มีทั้งสหรัฐมาแจมด้วย สรุปง่ายๆๆก็ได้ครับ Asml อยู่ในเนเธอร์แลนด์ แต่พวก ทุนวิจัย สหรัฐ ออกให้แถม เครื่อง euv ขายให้เฉพาะพวกเดียวกับสหรัฐ เท่านั้นครับ นั้นคือ tsmc ที่อยู่ใน ใต้หวัน กับ ซัมซุง เกาหลีใต้

  • @ER-sv1np
    @ER-sv1np ปีที่แล้ว

    40:53 ไทยยังไม่มีใครลงมาขนาด design components (จุดสำคัญในการพัฒนาสู่อนาคต ชิงทำก่อนตลาดวาย)
    ก่อนอื่นเลย ต้องเปลี่ยนประเทศ ให้ R&D กันเป็นทั้งประเทศก่อน ไม่ใช่ทำแบบเดิมทุกวัน

  • @RangsantBandhukul
    @RangsantBandhukul ปีที่แล้ว +1

    เห็นด้วยครับผม บางสิ่งบางอย่างมันไปเร็วไม่ได้ มันต้องสร้างพื้นฐานสะสม ขืนไปเร็วมันเจ๊งครับผม

  • @PatiparnPojanart
    @PatiparnPojanart ปีที่แล้ว +35

    คลิปเกือบ perfect แล้ว แต่ดันลืมพูดถึงผู้ผลิตเครื่องกำเนิดแสงมายิง mask ลง แผ่น wafer อีกที ซึ่งตอนนี้มีเจ้าเดียวที่ทำต่ำกว่า 5 nanometre ได้นั่นก็คือ ASML แล้วคอขวดความชิปหายไปทั่วโลกมันเกิดจากตรงนี้นั่นก็คือ ASML เขาผลิตได้ปีละไม่ถึง 10 เครื่อง แล้ว TSMC ดันไปจองเกือบหมดทุกปี ทำให้บริษัทอื่นก็ผลิตไม่ได้เพราะไม่มีเครื่องจาก ASML ออเดอร์เลยมากองที่ TSMC สุดท้ายก็เลย ชิปหายกันทั้งโลก🤣

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q ปีที่แล้ว +5

      ถ้าจำไม่ผิด ภายใน1ปี เครื่อง euv นี้สามารถผลิตได้ 40เครื่องต่อปี ไม่ใช่หรอครับ .... Tsmc ได้ไปกว่า 80% อีก20 เสร็จของซัมซุง

    • @PatiparnPojanart
      @PatiparnPojanart ปีที่แล้ว +4

      @@user-oo3cf4jw4q ตอนที่ผมเขียนผมไปอ่านข่าวปีก่อนๆที่บอกว่าภาย 10 ปี ASML ผลิตไปได้ 140 เครื่อง ซึ่งมาเฉลี่ยเหลือประมาณ 10 เครื่องอยู่นะ😅
      แต่หลังจากผมอ่านเม้นคุณผมก็ลองไปหาข่าวใหม่ล่าสุดดู ปรากฎว่า ปี 2020 ผลิตได้ 31 เครื่อง ปี 2021 ได้ 42 เครื่อง นั้นก็แปลว่ากำลังการผลิตของ ASML คงเติบโตขึ้นมากในช่วงสิบปีที่ผ่านมา
      ส่วน samsung ก็ทำได้ดีแต่ตอนนี้ ASML ไป 2 nm หรือ ต่ำกว่านั้นไปแล้ว มันจึงยากที่ samsung จะสู้ ASML ในเรื่องนี้ได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ต้องถาม samsung ด้วยว่าถ้าต้องการผลิตมือถือมันต้องมี chip เล็กกว่านี้จริงๆเหรอ🤔

    • @Touoru
      @Touoru ปีที่แล้ว +1

      ASML ยังไม่ถึง 2nm ครับ ปัจจุบันเครื่องรุ่นล่าสุดได้แค่ 3-5 nm ที่ 200M$
      IR ล่าสุดของ ASML คาดว่าจะสามารถสร้างเครื่องรุ่นใหม่ที่ผลิต 3nm Yield สูง ตกเครื่องละประมาณ 300M$ ครับ
      2nm ยังติดปัญหาในทางทฤษฎีอยู่ครับ ยังไม่ถึงภาคทดลองเลย

    • @PatiparnPojanart
      @PatiparnPojanart ปีที่แล้ว

      @@Touoru เรื่องนั้นผมไม่ทราบครับผมอ่านจาก blognone มาอีกทีครับ เขาบอกว่าจะสามารถส่งมอบเครื่องรุ่นทดสอบให้ลูกค้าได้ 2024 ซึ่งก็นั่นแหละครับผมไม่รู้หรอกครับว่าทำได้จริงไหมแต่เขาอ้างว่าอย่างงั้นครับ😅

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q ปีที่แล้ว

      @@Touoru ขึ้นชื่อ Asml ผมว่าน่าจะไปไหวน่ะครับ มีทั้งความรู้ แถมสหรัฐ ออกทุนวิจัย ให้ด้วย หวานปากสิครับ ขึ้นอยู่กับเวลา ว่าจะเสร็จตอนไหน ก็เท่านั้น

  • @dum5855
    @dum5855 ปีที่แล้ว +7

    อลัน เทอริ่ง คือ คนที่สร้างคอมพิวเตอร์ชื่อ เดอะบอมบ์ ที่สามารถถอดรหัสสื่อสารของนาซี (อีนิคม่า) ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สำเร็จ

  • @user-tw8rs5zj6p
    @user-tw8rs5zj6p ปีที่แล้ว +2

    สอบถามครับ ชิบมันมีเกรดไหมครับ
    เช่น วิทยุธรรมดา ใช้เกรดต่ำ โทรศัพท์มือถือใช้เกรดสูง เพราะในเมื่อชิบผลิตได้แค่ใต้หวันแสดงว่ามันก็ต้องคุณภาพสูงทั้งหมด เพราะที่อื่นยังผลิตไม่ได้

    • @johnwet5798
      @johnwet5798 ปีที่แล้ว +1

      แบ่งเป็นเกรด ตามราคาที่จ่าย เหมือน รง. battery

    • @dum5855
      @dum5855 ปีที่แล้ว +5

      มีสิครับ มีเยอะมากเลย จำนวนทรานซิสเตอร์ต่างกันก็ทำงานได้ต่างกัน ยิ่งมีมากก็ยิ่งทำงานสลับซับซ้อนได้มากขึ้น เร็วขึ้น ที่แข่งกันลดขนาดก็เพื่อเพิ่มจำนวนและลดการใช้พลังงานลง ชิปทั่วไปทุกวันนี้ใช้มาตรฐานระดับ 28 นาโนเมตร ระดับสูงขึ้นก็เป็น 14 ลงมาถึง 7 แต่ที่กำลังออกมาล่าสุดคือ 4 , 3 และ 2 นาโนเมตร
      ไม่ได้มีแค่ไต้หวันที่ผลิตชิป จีน เกาหลีใต้ ก็ผลิตเยอะมาก แต่ในจีนส่วนมากจะเป็นชิปเกรดทั่วไปที่ใช้ใน รถยนต์ เครื่องไฟฟ้า สมาร์ทโฟนระดับกลาง-ล่าง ส่วนพวกชิปประสิทธิภาพสูงมีแต่น้อย ในขณะที่ TSMC จะเน้นผลิตกลุ่มไฮเอนด์พวกที่ใช้ในสินค้าระดับบน พวกชิปประมวลผล CPU GPU รุ่นท๊อปๆ ของ Apple , AMD , Nvidia

    • @user-sg5yo9eq6g
      @user-sg5yo9eq6g ปีที่แล้ว +2

      มีหลายระดับเลยครับ ชิปขั้นสูงขนาด x นาโนเมตร ขั้นกลางขนาด xx นาโนเมตร และขนาด xxx นาโนเมตรหรือใหญ่กว่า เป็นชิปที่ใช้ทั่วไป ใช้เทคโนโลยีในการผลิตไม่สูงมาก

    • @niwatphansilpakom2906
      @niwatphansilpakom2906 ปีที่แล้ว +5

      มีครับ ในโมเดลเดียวกันตามสเป็กเดียวกัน ก็จะแบ่งเป็น Home used, Industrial grade, Automotive grade, Military grade หรือมีสูงกว่านี้อีก เช่น Aerospace

    • @bjw7666
      @bjw7666 ปีที่แล้ว

      Grade ขึ้นกับ speed, durability, accuracy…ความเร็ว ความทน ความเที่ยงตรงแน่นอน ประมาณนี้

  • @OnawevolO
    @OnawevolO ปีที่แล้ว +4

    คิดถึงตอนเรียนจัง Analog IC design โคตรยาก 55

  • @silvergreatshine4665
    @silvergreatshine4665 ปีที่แล้ว +1

    27.15 ในไทยมีนะ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเกือบทุกมหาวิทยาลัยในไทย แต่งานด้านไฟฟ้ากำลังกับการควบคุมมันมีงานรองรับมากกว่าเมื่อจบออกมา
    แถมต้องถามว่ามีคนเรียนมั้ย เพราะการใช้งานโปรแกรมออกแบบวงจรเพื่อการผลิต ic ไม่ใช่ว่าง่าย มันรู้สึกจับต้องได้ยากกว่าเมื่อเทียบกับไฟฟ้ากำลัง คนเรียนพอเรียนแล้วท้อ ทั้งที่สายงานมีความต้องการกำลังคนด้านนี้มาก ทั้งในและต่างประเทศ
    สุดท้ายคนไทยที่มีความรู้ความสามรถด้านนี้ก็ยังถือว่าน้อยมากในไทย 😭

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว

      ใช่ครับ ทุกวันนี้ ภาคอิเล็กทรอนิกส์ แทบไม่มีเด็กสนใจไปเรียนแล้วครับ ภาคโรงงาน ให้ เครดิต เด็กจบ แมคคราทรอนิกส์ / อุตสาหการ/ ไฟฟ้า / เครื่องกล ส่วนภาคอิเล็กทรอนิกส์แทบไม่จับใบสมัครเด็กเหล่านี้มาเรียกสัมภาษณ์เลยครับ ไอ้พวก Electronics Design นี่ แทบไม่สำคัญอะไรเลย ตอนที่เรียกมาสัมภาษณ์ ไม่มีความจำเป็นต่อ ภาคโรงงานเลย ผมยืนยันอีกเสียงนึงครับ เพราะผมเรียนมาตั้งแต่ เรียนวิชา การใช้โปรแกรม โพรเทล เสร็จ นำมาลง ซิงค์ สกรีน บนแผ่นวงจรด้วยตนเอง ทุกวันนี้อิเล็กทรอนิกส์ ในวิทยาลัยแทบเปลี่ยนสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ไปเป็น แมคคราทรอนิกส์กันหมดแล้วครับ

  • @ohiomat9449
    @ohiomat9449 ปีที่แล้ว

    เข้าใจเลยครับว่าทำไม เมกาถึงพยายามมากที่จะชิพขนาดเล็กให้ได้

  • @thinkerbell.8287
    @thinkerbell.8287 ปีที่แล้ว +4

    คนในวงการนี้ในไทยมีน้อยครับ แล้วช่วงก่อนได้ทราบข่าวการสูญเสียของบุคลากรนักพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำจนใช้ในเชิงพานิณิชย์ได้ในวงการนี้ไปเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ Minimal Fab ผมนี่อย่างเศร้าเลย

    • @nth2tell
      @nth2tell ปีที่แล้ว +1

      หืม..เสียใครหรอคะ

  • @jannapha
    @jannapha ปีที่แล้ว +2

    ถ้าพูดถึง Semiconductor
    ในไทยก็ยังมี SICT ออกแบบ RFID IC (ที่ out source wafer fab กับ IC assembly manufacturing )
    IC assembly &Test ในไทยก็ยังมี UTAC ด้วยนะคะ
    น่าจะสัมภาษณ์เพิ่มด้วย

  • @lol-ub1pl
    @lol-ub1pl 2 หลายเดือนก่อน

    เก่ง

  • @1._.chaloem
    @1._.chaloem ปีที่แล้ว +1

    💕

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 ปีที่แล้ว

    ควันตัมก็เช่นเดียวกัน

  • @somsaksangjansomporn734
    @somsaksangjansomporn734 ปีที่แล้ว

    พิธีกรเวลายังไม่เข้าใจ ไม่ต้องอุทานว่าเข้าใจก็ได้นะครับ

  • @user-xj2nh5hf6c
    @user-xj2nh5hf6c 5 หลายเดือนก่อน

    👍

  • @johndixk4258
    @johndixk4258 ปีที่แล้ว +2

    คนไม่น่าจะคิดสิ่งแบบนี้มาได้ แปลกจริงๆ จากอยู่ถ้ำ

    • @xantagaming6854
      @xantagaming6854 ปีที่แล้ว

      เหลือเชื่อมากครับ

    • @bjw7666
      @bjw7666 ปีที่แล้ว

      เหตุเพราะสงครามครับ ความต้องการรบชนะสร้างวิทยาการใหม่ๆหลายอย่างให้โลกนี้

    • @user-oo3cf4jw4q
      @user-oo3cf4jw4q ปีที่แล้ว +1

      เทคโนโลยี ต่างดาว ชัดๆๆอ่ะครับ ลองพิมพ์ใน ยูทูป asml ดูครับ การทำงานของเครื่อง euv ทำงานยังไง ผมยังแปลกใจ มนุษย์เรา คิดได้ขนาดนี้เลยหรอ????

  • @weerakornmisuna8174
    @weerakornmisuna8174 ปีที่แล้ว

    ถ้าอยากเรียน electronic design สามารถหาเรียนที่ไหนได้บ้างครับเนี่ย ทั้งในไทยและต่างประเทศ ขอเรียนถามไว้เป้นแนวทางการวางแผนเรียนรู้ครับ

    • @chamluck
      @chamluck ปีที่แล้ว +1

      สจล ลาดกระบังครับ

    • @bjw7666
      @bjw7666 ปีที่แล้ว +1

      จากหนังสืออ.ยืน สมัยมัธยม…ผมหลงไหลและเอนเข้าสจล. จนจบมา 37 ปีแล้วครับ ความรู้ตามในคลิปนี้เลย ผลิตไดโอดได้เป็นที่แรกในไทย รอแต่ผู้ลงทุนจริง…มีช่วงนึงประมาณปี 48 มีข่าวคุณชาญ โดย Sub micron จะทำธุรกิจต้นน้ำ (Ingot) ด้วย แต่ก็ไม่เกิดขึ้นในไทย กลายไปเป็น TSMC ที่ใต้หวันแทน…

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว +2

      ทำไมถึงอยากจะเรียนครับ ถ้าจะมาทำงานในภาคอุตสาหกรรม แทบไม่มีประโยชน์อะไรเลยครับ ผมจบ สจล มา เรียนรหัสแรกเข้า ปี 42 ผมทำงานมา 21 ปี ในภาคอุตสาหกรรม ผ่านมา 9 โรงงาน ตั้งแต่ เดลต้า อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่สมัยโรงงานเคยให้โบนัสเป็นหุ้นกับวิศวกร จากราคา หุ้นละ 45 บาท ตอนนี้มันวิ่งไป 700 บาท ต่อด้วย ซันโย เซมิคอนดักเตอร์/ เซเลสติก้า/ฟาบริเนท / โซนี่เทคโนโลยี ที่ อยุธยา / โซนี่ อิเล็กทรอนิกส์ ที่ชลบุรี /ไทรอัมฟ์ มอเตอร์ไซค์ / ไทย สตีล เคเบิ้ล/ ล่าสุด เป็นบริษัทผลิตพาร์ทรถยนต์ บริษัทที่ 9 อยากจะบอกคุณว่า ไม่เคยสัมภาษณ์ใคร แล้ว นำวิชา อิเล็กทรอนิกส์ ดีซายน์ มาพิจารณาเลยครับ แต่ถ้าคุณมีแนวทางที่จะเป็นอาจารย์ หรือ ทำงานด้านนี้อย่างจริงจัง ผมก็ยังแนะนำให้เรียนที่ สจล ลาดกระบัง ไม่ใช่ว่าจบที่นี่แล้วอวย สถาบันที่ตนเองจบมา แต่ สจล สอน ป โท ไปได้ไกลจริงๆ เฉพาะทางครับ มีทั้ง Lab ที่ ตึกวน 4 ชั้น ภาคอิเล็กทรอนิกส์อยู่ชั้น 2 แต่ถ้าในต่างประเทศ ผมแนะนำ MIT ไปเลยครับ ไปให้ไกล แล้วได้บุคลากรดีดี มาพัฒนาเมืองไทยในรุ่นคุณต่อไป

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว +1

      @@bjw7666 สวัสดีรุ่นพี่ สจล ด้วยนะครับ ผมจบระบบควบคุม ปัจจุบัน เด็กหนีไปเรียนภาควิชา แมคคราทรอนิกส์ กันหมดแล้วครับ ขนาดภาคคอมพิวเตอร์ที่ดังๆคะแนนสูงๆเมื่อสมัยนู้น ยังหาคนเรียนยากเลยครับ หนังสือของอาจารย์ยืน ภู่วรวรรณ ผมยังเก็บไว้อยู่เลยครับ แต่ซีเอ็ด เลิกพิมพ์ไปแล้วครับ ล่าสุดที่พิมพ์ หนังสือ อาจารย์ ยืน น่าจะ เป็นอิเล็กทรอนิกส์กำลัง เล่ม1และ เล่ม 2 ครับ ปี 50 ส่วนสจล มาได้ไกลในเรื่องอิเล็กทรอนิกส์ ต้องยกความดีให้ ศาสตราจารย์สิทธิชัย โภไคยอุดม คณบดี สจล เจ้าของ ม เทคโนโลยีมหานคร กับ ดร พีระศักดิ์ วรสุนทโรสถ คนนี้ทางญี่ปุ่นนำไปเป็นที่ปรึกษาโปรเจ็ครถไฟความเร็วสูงวิ่งบนเหนือราง บุกเบิกภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์สมัย 30-40 ปีที่แล้ว จนคะแนน ภาควิชาวิศวกรรมสมัยนั้น เทียบเท่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • @thaizoom007
    @thaizoom007 ปีที่แล้ว +1

    เรื่องขอจีนใส่อาวุธขอจีน?

  • @diydev.1887
    @diydev.1887 ปีที่แล้ว

    Ic = B x IB

  • @settahawutsaelee9266
    @settahawutsaelee9266 ปีที่แล้ว

    POV : ชอบรายการนี้นะว่าอยากให้ทุกคนเข้าถึงความรู้ที่ทันสมัยแต่อยากให้ลงทุนทำpresentation ให้ดีกว่านี้ เนื่องจากเรื่อง semiconductor superconductor เป็นอะไรที่เราได้ใช้กันเกือบทุกคน ฝากด้วยนะครับ

  • @user-hg7le3vm9o
    @user-hg7le3vm9o ปีที่แล้ว

    ผมเคยเป็นวิศวกรในลานมัน ดีไซน์หัวมัน รูปหัวใจ
    ใส่ซิป m j k 555ว่าไปเรื่อย

  • @jetsariswaeng5430
    @jetsariswaeng5430 ปีที่แล้ว

    👍👍👍👍

  • @user-jf7sj3pt9u
    @user-jf7sj3pt9u 10 หลายเดือนก่อน

    ต่อไปก็จะเล็กเท่าควอนตัม

  • @ppoom8781
    @ppoom8781 ปีที่แล้ว +2

    ดีใจทีคนในชาติเรายังมีคนส่วนหนึ่งที่่มีความสามารถด้านนี้ครับ

  • @user-ni3xv2zi5j
    @user-ni3xv2zi5j 6 หลายเดือนก่อน

    ❤😊

  • @seksanrangsuwan8156
    @seksanrangsuwan8156 ปีที่แล้ว

    อีกคลิปหนึ่งเสนอข่าวว่า ชิปมีมากเกินแล้ว สรุปช่องไหนถูกผิด คนดูตัดสินเอง

  • @neotechfriend
    @neotechfriend ปีที่แล้ว +1

    คอนเทนแบบต้นน้ายันปลายน้าทรงคุณค่า

  • @user-wv7nj9wx5y
    @user-wv7nj9wx5y ปีที่แล้ว

    ประเทศเราขาดแค่การทำ wafer fab ส่วนอย่างอื่นเราทำได้หมดแล้วครับ เคยผ่านงานตรงนี้มาครับ ออเครื่องจักรนำเข้าต่างประเทศนะ55

  • @monsterfragile1947
    @monsterfragile1947 ปีที่แล้ว +2

    อยากให้พี่เคนถ้าได้ถามหรือสัมภาษณ์​พูดคุยกับนายกคนใหม่ในอนาคต อยากให้ถามว่าจะผลักดันไทยเป็นแหล่งผลิตเซมิคอนดักเตอร์​ได้มั้ย หรือสนับสนุนให้ประเทศไทยเราเน้นอุตสาหกรรม​เทคโนโลยี อุตสาหกรรม​อิเล็กทรอนิกส์​มากขึ้นได้มั้ย เราประชากรเกิดน้อยแล้วให้คนไปทางเทคโนโลยี​น่าจะดีกว่า

  • @user-tk3fb8ni9v
    @user-tk3fb8ni9v ปีที่แล้ว +1

    มิน่าหละเวลาหลงๆลืมๆทำการบ้านไม่ได้อ่านไม่ออกแม่ชอบด่าไอ้ชิบหายแสดงว่าแม่ทันสมัยมากๆทั้งที่จบป.4อิๆมีใครเจอเหมือนผมมั่งเนี่ย

  • @user-ip5cu8ci4s
    @user-ip5cu8ci4s หลายเดือนก่อน +1

    แอบเปิ้นเขาใส่ความจำเยอะกว่ายี่ฮ่ออื่นเขาเลยได้เปรียบ

  • @user-ms8zk3nj8s
    @user-ms8zk3nj8s ปีที่แล้ว

    ผมว่าพวกผลิตโทรศัพท์แต่แผงกับหน้าจอที่มีนายทุนมาซื้อนำไปใส่กรอบทำเป็นแบนของตัวเองน่าจะมีอยู่คับ

  • @iamgod8019
    @iamgod8019 ปีที่แล้ว

    Apple เป็นบริษัทเดียวในโลกที่ไม่มีโรงงานผลิตเป็นของตัวเอง ส่วนใหญ่จ้างผลิต ภายใต้แบรนด์ apple

  • @user-tb6jr6se5m
    @user-tb6jr6se5m ปีที่แล้ว

    นึกว่า ARM เป็นสถาปนิก ออกแบบ แล้ว Apple ซื้อมา Optimization ให้เป็นของตัวเองแล้ว จ้าง TSMC ผลิต

    • @2BuiThanhBinh
      @2BuiThanhBinh 7 หลายเดือนก่อน

      Bạn đã đúng, mọi công ty đều sử dụng chip của ARM, trừ Intel

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 ปีที่แล้ว

    ทำไม่ถามว่าจะใช้ซิลิกอนกระบวนการใช้เลเซอร์ทำให้ปิดเปิดในการดีไซน์

  • @eerybuzzero9229
    @eerybuzzero9229 หลายเดือนก่อน

    เทคโนโลยีสุดโต่ง มันจะยิ่งไร้ค่าในอนาคต ภาพเคลื่อนไหวที่เร็วมาก ประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่นตามนุษย์ก็ไม่รองรับกับความเร็วขนาดนั้น รายละเอียดสูงจนตาไม่สามารถแยกแยะได้เพราะมันเกินความสามารถ ระยะใกล้ กลาง ไกล ละเอียดชัดเท่ากันจนแยกไม่ได้ว่าใกล้หรือไกล เหมือนเครื่องเสียงไฮเอนด์ดิจิตอล ฟังแล้วเห็นภาพเป็นสามมิติ เสียงชัดแต่ขาดความสูงต่ำ ขาดมวลขาดน้ำหนักการสะท้อน ก้อง ที่ซับซ้อนจนการประมวลผลของระบบดิจิตอลยุ่งยากซับซ้อนมากในการออกแบบให้สมจริงตามธรรมชาติ เอาเข้าจริงยังสู้ความสามารถของหูมนุษย์ไม่ได้เลย ศาสตร์อย่างเดียวไม่พอจำเป็นต้องมีศิลป์ด้วย
    ระบบอนาล็อกแบบเป็นเชิงเส้นยังง่ายและต้นทุนต่ำกว่ามาก ออกแบบง่าย แม้จะไม่สุดโต่งเรื่องเทคโนโลยีแต่ผลพลอยได้กับเป็นงานศิลปะอย่างลงตัว ส่วนตัว ความรู้ทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ระดับมัธยมแต่ศึกษาด้วยตนเองต่อ ใช้สมาธิจิต ความสามารถเฉพาะตัวติดตัวมา ยังสามารถออกแบบงานทางเซมิคอนดักเตอร์อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้ไม่ยากอย่างที่คิด ไปได้ไกลถึงระดับนวัตกรรมขั้นเทพ ดอกเตอร์ทางวิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ยังทำไม่ได้เลย

  • @prayodjunpay6250
    @prayodjunpay6250 ปีที่แล้ว

    ต้องคุยแบบหัวใจที่เปิดปิดกระบวนการนำส่งพลังงานทำให้เปิดปิดเห็นภาพ

  • @MrPimanoff
    @MrPimanoff ปีที่แล้ว

    Digital
    Big data
    Communication
    จริงๆแล้วเรามองมทรัพย์กรพื้นฐานในประเทศที่ไม่มีวันหมดจะดีกว่า และทุกคนต้องการ

  • @wirattermpornpisuth2847
    @wirattermpornpisuth2847 ปีที่แล้ว +2

    ทำงานเป็นสวิตไฟบนพื้นฐานวงจรปิด วงจรเปิด เลขมูลฐานสอง

  • @FACTMAN-POD
    @FACTMAN-POD ปีที่แล้ว +1

    ประเทศไทยเคยมีบ.สตาร์ทอัพพัฒนาเซมิพร้อมกับไต้หวัน เเต่โดนต้มยำกุ้งก่อนหายไปในกรีบเมฆ ส่วนบ.ไต้หวันนะเหรอทุกวันนี้มีชื่อว่า Lenovo 😂 ต้มยำกุ้งทำให้ไทยเสียโอกาศ อดเป็นประเทศแห่งเทคโนโลยีและเป็นประเทศพัฒนาแล้ว มีสินค้าอะไรที่พัฒนาเองและไประดับโลกนอกจาก กระทิงแดง บ้างครับ

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว +1

      เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า ถ้าไม่ได้บริษัทสัญชาติออสเตรเลียมาซื้อแบรนด์กระทิงแดงเมื่อ 30 ปีที่แล้ว มาจากเจ้าของ Redbull ลงจากเครื่องบิน ที่ดอนเมือง แล้ว มีอาการเจท แร็กส์ จึงไปซื้อกระทิงแดงทาน เเล้วมีอาการฟื้น จึงสนใจซื้อสิทธิ์ไปทำต่อ ถ้าไม่มีคนออสเตรเลียท่านนั้น กระทิงแดงก็อยู่แค่ในไทยครับ ที่คุณเห็น เขาใช้คำว่า Red Bull ครับ เขาไม่ได้ใช้ คำทับศัพท์Kra-ting-dang ทำตลาดเมืองนอกเลยครับ ส่วนที่ไปทำตลาดระดับโลกโดยคนไทยจริงๆคือ คาราบาวแดงครับ ทุกวันนี้ ใน Red Bull ให้เจ้าของกระทิงแดง มีหุ้นส่วน เพียง 3% แต่ไอ้ 3% ไปคูณ 1,000 ล้าน ก็นั่งรอนับเงินเพียงแค่นี้ ก็โอเครแล้ว ไอ้บอส ลูกชายของเจ้าของกระทิงแดง หลังจากชนตำรวจเสียชีวิต แล้วหนีคดี มันถึงเสวยสุข อยู่ในอังกฤษได้สบายๆไงครับ ส่วน เลโนเว่อร์ จีนก็ซื้อเทคโนโลยีของ IBM ไปต่อยอดนั่นแหล่ะครับ แต่ก็แปลก ที่โปรดักส์ ของจีน/ไต้หวันทั้ง 2 ตัว เช่น เลโนเว่อร์ (คอมพิวเตอร์/โน๊ตบุ๊ค และ เครื่องใช้ไฟฟ้า ไฮเออร์ ) กลับไม่เป็นที่นิยมในไทย ไม่สามารถมาตีตลาดในไทยได้เลย ยกเลิกฐานการผลิตในไทยออกไป เพราะคนไทยมีความเชื่อว่า ผลิตภัณฑ์ที่มาจากจีน ด้อยค่าในเรื่องคุณภาพเมื่อเทียบกับญี่ปุ่น และ อเมริกา

    • @FACTMAN-POD
      @FACTMAN-POD ปีที่แล้ว

      @@pondpond8625 เข้าใจประเด็นอะไรผิดรึป่าวครับ เครื่องดื่มไม่ได้อยู่ในหมวด เทคโนโลยีนะครับ ที่จะบอกคือบ้านเราไม่มีเชี้ยไรเลยนอกจากของกิน 😂 ถ้าพัฒนาจะพัฒนาได้ยังไง กระทิงแดงในไทยไม่เคยสนับสนุนนักกีฬานักดนตรีควยอะไรเลย มีแต่Redbullเมืองนอกที่สนับสนุนทุกสายอาชีพ คอมที่คุณใช้ ถนนที่คุณเหยียบ หลอดไฟที่สว่าง มือถือที่คุณสื่อสาร เสื้อผ้าที่คุณใส่ คนไทยพัฒนาเชี้ยอะไรบ้างครับ ปล.คนเก่งอยู่ที่ไหนก็ได้ แต่ไม่ใช่ที่ไทย

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว

      @@FACTMAN-POD โอเคร ถ้ามองในมุมเทคโนโลยีไม่น่าจะมีครับ ถ้าสายกิน สายท่องเที่ยว เราไปได้ไกลมาก

    • @FACTMAN-POD
      @FACTMAN-POD ปีที่แล้ว

      @@pondpond8625คอมเม้นยาวๆหายไปไหนแล้วละฮะ 😂

    • @pondpond8625
      @pondpond8625 ปีที่แล้ว

      @@FACTMAN-POD ถ้าคุยกันคนละ ความหมาย ก็น่าจะประมาณนี้นะ ตอนแรกอ่านแล้ว เข้าใจว่า ทางคุณอาจจะไม่รู้รายละเอียดของกระทิงแดง ถึงแม้เป็นของทาน ก็ไปได้ไม่ไกล ถ้าไม่มีชาวออสเตเรียมาเปิดตลาดให้ แต่ที่ไปได้ไกล คือ คาราบาวแดง อันนี้ ฝีมือ การตลาดต่างประเทศ ที่เป็นฝีมือคนไทย ล่าสุดจะไปตลาดเวียดนาม ไปสนับสนุน ลีกส์ ฟุตบอล เวียดนาม จน สมาคมฟุตบอลเวียดนาม ยังกังวลว่าจะมาเด่นกว่า สปอนเซอร์เดิม ของ วีลีกส์ ถึงขนาดออกกฎให้เปลี่ยนเป็นโฆษณา ในแนวน้ำดื่มแทน ถึงจะให้ เอาโลโก้ คาราบาวแดงลงที่เสื้อกีฬาแทนได้ เพราะเห็นความสำเร็จ ของคาราบาวแดงในอังกฤษ ถึงขนาดที่ เป็นสปอนเซอร์ ถ้วยลีกส์ คัพ ได้

  • @yuyy4012
    @yuyy4012 ปีที่แล้ว

    เฮ้ยหน้าปกผมเห็นแว๊บนึงนึกว่ามาริโอ้

  • @user-uc2cr3ji4m
    @user-uc2cr3ji4m ปีที่แล้ว +3

    คนไทยต้องสร้างชิพควอนคัมใหม่สถาปัตยกรรมใหม่ที่เจ๋งกว่า

  • @user-mb3pv4bk8k
    @user-mb3pv4bk8k 6 หลายเดือนก่อน

    🌏🌌 ...สิ่งนี้มีอยู่ในสมองของมนุษย์ที่เจาะลึกเข้าไปหาสรรพสิ่งสสารมวลสารในสมองกำเนิดให้สรรพสิ่งวัตถุเกิด.
    ...จิตมนุษย์อยู่ได้กับสรรพสิ่งสสารมวลสาร คลื่น ความถี่ แสง พลัส อิเลคตรอน โปรตรอน นิวเครียส นิวเคลียฯลฯเกิดขึ้นด้วยพลังจากจิต แม้คลื่นจิตสู่จิต เป็นพลังงานจุดกำเนิดขึ้นจาก"จิต"นี้
    ...จิตเราจะอยู่ได้ทุกๆจุดของระบบอิเลคทรอนิกส์ไฟฟ้าให้เราเข้าไปรู้จึงผลิตเครื่องมือขึ้นมาใช้ได้
    ...ถ้าจิตไม่เข้าไปรู้ไปสร้างมันขึ้นมาแล้วมันจะทำงานตามเราคิดเรารู้เราสร้างให้มันทำตามจิตเราได้อย่างไร.
    ...จิต จึงไม่มีสสารมวลสารใดๆกีดกั้นมันไว้ได้.
    ...จิตที่ยังอยู่ คือของนักคิดวิทยาการด้านต่างๆไว้ให้สรรพสัตว์มนุษย์ต่อยอดขยายจิตยิ่งๆต่อๆมาและต่อๆไป มีนักคิดวิทยาศาสตร์เป็นฝ่ายโลก ฝ่ายฝืนกฏธรรมชาติ
    ...และนักคิดวิทยาธรรม ฝ่ายกฏธรรมชาติ รู้กฏธรรมชาติ ตามเป็นจริงของธรรมชาติเกิด.
    ...พุทธศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่รู้แจ้งในกฏไตรลักษณ์ กฏธรรมชาติ และกฏวิทยาศาสตร์.

  • @user-gc2sx9kn6x
    @user-gc2sx9kn6x 6 หลายเดือนก่อน

    ❤😂

  • @jittapootowasakun1960
    @jittapootowasakun1960 ปีที่แล้ว +7

    ไม่เคยสนใจเรื่องชิบมาก่อน แต่ได้มาฟังคลิปนี้ ฟังเข้าใจง่ายมาก

  • @sunzaza112
    @sunzaza112 ปีที่แล้ว

    ก็จริงและนะ ต่อให้ฉลาดแค่ไหน มีคอมแรงแค่ไหน ก็มีบางอย่างที่ไม่สามารถทำได้ เช่น คืนดวงตาให้คนตาบอด แก้โรคมะเร็ง สร้างโลกอีกดวง ผมชอบฟังอะไรแบบนี้ เวลาตอนเมากัญชา😂