พฤ. 20/10/65 อวดโต๊ะซ่อม3/3 แบ่งปัน เป็นตัวอย่าง

แชร์
ฝัง
  • เผยแพร่เมื่อ 16 พ.ย. 2024

ความคิดเห็น • 4

  • @nararit
    @nararit 2 ปีที่แล้ว +1

    (แนะนำเพิ่มเติมครับ) เมมน้อย อัดคลิปยาวไม่ได้ เปลี่ยนเป็น Live เลยครับ
    คลิปไม่ได้บันทึกในมือถือเรา แต่ถูกเก็บตรงที่ server ของ youtube ครับ คราวนี้ดูได้ยาว ๆ
    ขอให้เน็ตเร็ว ก็ live ได้ ยาวเป็นชั่วโมง ไม่มีสะดุด ภาพชัด

    • @ศูนย์ฝึกวิชาชีพช่างซ่อมนาฬิกา
      @ศูนย์ฝึกวิชาชีพช่างซ่อมนาฬิกา  2 ปีที่แล้ว +1

      ดีใจที่มีผู้สนใจงานช่างนาฬิกา นอกกระแส ช่วยปลุกไฟ กระตือรือร้นในตัวผมครับ
      กรณีไลฟ์สด อยู่ในความคิด ค่อนข้างถนัดด้วย แต่ !!!
      1. ต้องการสอนปู พื้นฐานเป็นหลักสูตร เหมือนเรียนอนุบาล ยัน อุดมศึกษา เป็นตอนๆ เรียงลำดับ ให้กับลูกหลาน และ ผู้สนใจเริ่มต้น สามารถนำไปประกอบอาชีพได้จริงจัง
      2. แผนงานความฝัน สดุด เมื่อปีที่แล้ว ป่วยสโตคร แต่ยังโชคดี หรือ พระ บารมีพ่อหลวงคุ้มครอง ให้ฟื้นฟู กลับมาเกือบปกติ แต่ยังไม่ประมาท กลัวซ้ำสอง ( ผมได้ตั้งปณิธาน เจริญรอยตาม ใต้ฝ่าละอองธุลี พระบาท 🙏 ขอมอบความรู้ฝากไว้บนแผ่นดิน )
      3. อาจสร้างช่องใหม่ ระดับ แอดว้าน และเชิญเพื่อนช่างรุ่นเดียวกัน มาร่วมกิจกรรม หากมีผู้สนใจติดตามมากพอ
      4. ผมสร้างช่อง เพื่อสอนลูกหลาน และแบ่งปันแก่ ผู้ด้อยโอกาสหาอาชีพเลี้ยงตนและครอบครัว
      ไม่มีเจตนาสร้างช่องให้ดัง ไม่มีความคิดเชิญชวนให้ไลค์ แชร์ โดยขอให้เป็นบุญวาสนา ที่ได้มาพบเจอกันครับ 💝
      ขอบคุณคำแนะนำ กับ เป็นเพื่อนคุยแลกเปลี่ยนครับ.🥰

  • @nararit
    @nararit 2 ปีที่แล้ว +1

    ยุคอาจารย์ปู่ ร้อยกว่าปี ตอนนั้นเครื่องมือที่จะตั้งนาฬิกาออโต้ เค้าใช้อะไรเช็คความคลาดเคลื่อนเหรอครับ

    • @ศูนย์ฝึกวิชาชีพช่างซ่อมนาฬิกา
      @ศูนย์ฝึกวิชาชีพช่างซ่อมนาฬิกา  2 ปีที่แล้ว +1

      ฮาๆๆ สมัย ผมเริ่มฝึกงาน 40-50 ปีก่อน
      เวลาคลาดเคลื่อนเร็ว / ช้า 5-15 นาทีต่อวัน ไม่สำคัญ บางคนเวลาผิดเพี้ยนมากๆก็ไม่เป็นไร ขอให้เดินไม่หยุดก็พอแล้ว
      ความเที่ยงตรงระดับ นาฬิกาปลุก นาฬิกาแขวน วันละ 5-15 นาที เป็นเรื่องปกติ
      ชีวืตคนสมัยก่อน ไม่เร่งรีบ ทำงานปราณีต สบายใจ 🥰
      เครื่องเช็คเวลา ยุคแรกๆที่มีชื่อเสียง คือ Biograph 100/200